SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  135
Télécharger pour lire hors ligne
ชื่อเรื่อง รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใน 
ประเทศไทย ปี 2557 
Thailand Internet User Profile 2014 
เรียบเรียงโดย ส่วนงานดัชนีและสารวจ สานักยุทธศาสตร์ 
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 
(องค์การมหาชน) 
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2557 
พิมพ์จำนวน 2,000 เล่ม 
รำคำ 120 บาท 
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 
1
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. 
เป็นองค์กรของรัฐที่ทำหน้าที่พัฒนา ส่งเสริม 
และสนับสนุนการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ 
มีการบริหารจัดการและกำหนดนโยบายโดยคณะกรรมการบริหาร
4 
4
การใช้อินเทอร์เน็ตของไทยมีความสำคัญ เพราะปัจจุบันมีการใช้งานผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ 
ทั้งโทรศัพท์เคลื่อนที่ สมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ กันมากมาย ความน่าสนใจคือ 
เราได้นำอินเทอร์เน็ตมาใช้ให้เกิดประโยชน์หรือเพิ่มมูลค่าให้กับตนเอง 
หรือประเทศชาติมากเพียงใด 
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ของ ETDA ฉบับนี้ 
จึงขอเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสะท้อนภาพว่า ตอนนี้ประเทศไทยอยู่ตรงไหน 
และจะก้าวกระโดดต่อไปได้อย่างไร 
สุรางคณา วายุภาพ 
สุรางคผู้ณา อำนวาวยยุกาภาร 
พ 
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง 
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 
ผู้อานวยการ 
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ก(รอกงฎาค์กาคม รม2557 
หาชน) 
5
6 
คำนำ 
ปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนค่อนข้างสูง 
นับตั้งแต่ตื่นนอนไปจนเข้านอน การจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้สะท้อนภาพพฤติกรรม 
การใช้อินเทอร์เน็ตของประชาชนทุกกลุ่มที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาหนี่งๆ จึง 
เป็นสิ่งสาคัญและควรมีการจัดเก็บอย่างต่อเนื่องเป็นประจา เพื่อให้เห็นการ 
เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมดังกล่าว อันจะเป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงาน 
ภาครัฐที่จะใช้ในการวางแผนกาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงสร้าง 
พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือใช้ในการจัดทาแผนชาติ 
รวมทั้งการส่งเสริมการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย เพื่อให้สอดคล้องกับความ 
ต้องการของภาคประชาชน หรือภาคธุรกิจที่จะนาไปใช้ในการวางแผนการตลาด 
(e-Marketing) เพื่อให้ตอบโจทย์ของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการคาดการณ์ความ 
ต้องการของลูกค้าได้ใกล้เคียงความเป็นจริง 
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ 
สพธอ. ซึ่งมีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทาง 
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการทา 
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และสนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทาง 
อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี 
ความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ได้เห็นถึงความสาคัญในการจัดเก็บข้อมูล 
พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ 
ไทย ปี 2557 (Thailand Internet User Profile 2014) เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล 
ลักษณะของผู้ใช้และพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็นฐานข้อมูล 
เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะของผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต 
โดยมีแผนจะจัดทาการสารวจนี้เป็นประจาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยข้อถามหลักจะ 
คงไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ผลเชิงเปรียบเทียบได้ แต่จะ 
เพิ่มข้อถามเฉพาะสาหรับการสารวจในแต่ละปีในเรื่องที่กาลังได้รับความสนใจอยู่ 
ในขณะนั้น โดยในปีนี้ได้มีการเพิ่มข้อถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่ 
สุ่มเสี่ยง รวมทั้งการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่และการ 
6
ใช้งานที่สุ่มเสี่ยง ซึ่งเป็นประเด็นที่อยู่ในกระแสนิยมในปัจจุบัน และมีความ 
เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 
อนึ่ง การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบจะ 
เข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self-Selection) แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทาง 
วิชาการทางสถิติแล้ว ข้อมูลที่ประมวลผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจากมีผู้ให้ความร่วมมือกับการสารวจครั้งนี้ 
โดยสมัครใจเข้ามาให้ข้อมูลในแบบสารวจฯ มากถึง 16,596 คน ผลการประมาณ 
ค่าจึงสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงถึงพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต รวมถึง 
พฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้ในระดับหนึ่ง 
นอกจากนี้ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะทางานซึ่งมา 
จากหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการ 
ดาเนินการสารวจครั้งนี้ เพื่อให้ผลการสารวจครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นยาตาม 
หลักวิชาการ 
การสารวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงานภาครัฐ 
และภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวนให้มี 
ผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ จากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ 
เจ้าหน้าที่/พนักงานภายใต้สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบสารวจฯ นี้ด้วย ดังมี 
รายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม สพธอ.จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าวไว้ ณ 
ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ 
ภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจ 
โดยทั่วไป 
สุรางคณา วายุภาพ 
ผู้อานวยการ 
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) 
กรกฎาคม 2557 
7
8 
สำรบัญ 
คำนำ…………………………………………………………………………………………… 6 
สำรบัญภำพ ........................................................................................... 11 
สำรบัญตำรำง ........................................................................................ 15 
บทสรุปผู้บริหำร ..................................................................................... 17 
ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ................................ 18 
บทนา……………………………………………………………..……………………………….23 
วัตถุประสงค์ของการสารวจ ......................................................................... 24 
วิธีการสารวจ ................................................................................................ 24 
ส่วนที่ 1 ภำพรวมของผู้ตอบแบบสำรวจ ................................................. 27 
เพศ ............................................................................................................... 27 
สถานภาพสมรส ........................................................................................... 27 
อายุ ............................................................................................................... 28 
ที่พักอาศัย .................................................................................................... 30 
ระดับการศึกษา ............................................................................................ 31 
สถานภาพการทางาน ................................................................................... 32 
รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ................................................................ 33 
ส่วนที่ 2 พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต .................................................... 37 
ระยะเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต .......................................................................... 37 
8
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต .......................................................... 42 
ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตสาหรับอุปกรณ์ประเภทต่างๆ .............................. 43 
สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ............................................................................... 45 
กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต ............................................................ 47 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่นิยมใช้งาน ........................................................... 51 
ปัจจัยหลักที่ใช้ประกอบการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ..... 53 
ปัญหาสาคัญที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต ................................................... 55 
ส่วนที่ 3 พฤติกรรมกำรใช้งำนอินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง ............................... 61 
พฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง ................................................. 61 
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการร้องเรียนหากถูกฉ้อโกงหรือได้รับความไม่เป็นธรรม 
จากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ......................................................... 68 
ความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของศูนย์รับเรื่องร้องเรียนปัญหาการถูกฉ้อโกง 
หรือได้รับความไม่เป็นธรรมจากการทาธุรกรรมออนไลน์............................. 70 
ส่วนที่ 4 พฤติกรรมกำรทำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ผ่ำนอุปกรณ์เคลื่อนที่ 
และพฤติกรรมกำรใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง....................................... 75 
ประสบการณ์และพฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์ 
เคลื่อนที่ ....................................................................................................... 76 
การดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ....................................................................... 77 
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ................................. 79 
การซื้อสินค้า/บริการผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ .................................................. 80 
9
จานวนครั้งที่ซื้อสินค้า/บริการ ...................................................................... 80 
มูลค่าสูงสุดต่อครั้งในการซื้อสินค้า/บริการ .................................................. 81 
ช่องทางในการชาระเงินค่าสินค้าและบริการ ............................................... 82 
การทาธุรกรรมทางการเงินผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ......................................... 84 
จานวนครั้งในการทาธุรกรรมทางการเงิน..................................................... 84 
มูลค่าสูงสุดต่อครั้งในการทาธุรกรรมทางการเงิน ......................................... 85 
ช่องทางในการทาธุรกรรมทางการเงิน ......................................................... 86 
พฤติกรรมการใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง .......................................... 88 
ภำคผนวก………………………………………………………..……………………………..93 
แผนภาพโครงสร้างผู้ตอบแบบสารวจ เปรียบเทียบตาม ลักษณะทั่วไป 
ปี 2556 - 2557 ........................................................................................... 95 
รายชื่อหน่วยงานเอกชนผู้ให้ความอนุเคราะห์ในการติดป้ายประกาศ 
(Banner) โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ..................................................................... 98 
10 
10
สำรบัญภำพ 
ภำพ 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามเพศ ................................ 27 
ภำพ 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามสถานภาพสมรส .............. 28 
ภำพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามกลุ่มอายุ ......................... 29 
ภำพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามประสบการณ์การใช้ 
อินเทอร์เน็ต ................................................................................ 30 
ภำพ 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามที่พักอาศัย ...................... 31 
ภำพ 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามระดับการศึกษา ............... 32 
ภำพ 7 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามสถานภาพการทางาน...... 33 
ภำพ 8 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 
ของครัวเรือน .............................................................................. 34 
ภำพ 9 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามจานวนชั่วโมงการใช้ 
อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์ ปี 2556 – 2557 ...................................... 39 
ภำพ 10 จานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ของผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆ ................................................................ 41 
ภำพ 11 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ และจานวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ย 
ต่อวัน เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ..... 433 
ภำพ 12 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามการใช้อุปกรณ์ 
43 
แต่ละประเภท ในช่วงเวลาต่างๆ ................................................ 44 
ภำพ 13 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้ 
อินเทอร์เน็ต ปี 2556 – 2557.................................................... 46 
ภำพ 14 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งาน 
ผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับคอมพิวเตอร์ ............ 49 
11
12 
ภำพ 15 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ รายเพศ เปรียบเทียบตามกิจกรรม 
สาคัญที่ทาผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับ 
คอมพิวเตอร์ ............................................................................. 51 
ภำพ 16 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามเครือข่าย 
สังคมออนไลน์ที่ใช้บริการเป็นประจา ปี 2556 - 2557 ................. 53 
ภำพ 17 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามระดับความสาคัญของ 
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ....... 55 
ภำพ 18 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจาก 
การใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2556 – 2557 ........................................... 58 
ภำพ 19 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้ 
อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง ................................................................. 63 
ภำพ 20 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ รายเพศ เปรียบเทียบตามกิจกรรม 
การใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง 5 อันดับแรก ................................... 64 
ภำพ 21 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในกลุ่มอายุ 3 อันดับแรก เปรียบเทียบ 
ตามกิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง 5 อันดับแรก ................. 65 
ภำพ 22 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ที่ทากิจกรรมการแชร์ภาพ/ส่งภาพ/ 
ข้อความที่ไม่เหมาะสม โดยไม่ตรวจสอบแหล่งที่มา รายกลุ่มอายุ .. 67 
ภำพ 23 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามช่องทาง 
การร้องเรียน/แสดงความคิดเห็น ................................................ 69 
ภำพ 24 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามความคิดเห็นที่มีต่อ 
ลักษณะของศูนย์รับเรื่องร้องเรียนปัญหาจากการถูกฉ้อโกงหรือ 
ได้รับความไม่เป็นธรรมจากการทาธุรกรรมออนไลน์ ..................... 70 
ภำพ 25 การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 
ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ................................................................. 76 
12
ภำพ 26 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามพฤติกรรม 
การดาวน์โหลดแอปฯ ก่อนใช้งานครั้งแรก .................................... 78 
ภำพ 27 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ จาแนกตามระดับความสาคัญของ 
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน .................... 79 
ภำพ 28 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ จาแนกตาม 
จานวนครั้ง และมูลค่าสูงสุดในการซื้อต่อครั้ง ................................ 81 
ภำพ 29 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ 
เปรียบเทียบตามช่องทางการชาระเงิน ........................................ 82 
ภำพ 30 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ 
เปรียบเทียบตามมูลค่าสูงสุดในการซื้อสินค้า/บริการต่อครั้งกับ 
ช่องทางการชาระเงิน ................................................................. 83 
ภำพ 31 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงินผ่าน 
อุปกรณ์เคลื่อนที่ จาแนกตามจานวนครั้ง และมูลค่าสูงสุด 
ในการทาธุรกรรมต่อครั้ง ............................................................. 85 
ภำพ 32 สัดส่วนผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน 
จาแนกตามช่องทางในการทาธุรกรรมทางการเงิน ......................... 87 
ภำพ 33 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน 
เปรียบเทียบตามมูลค่าสูงสุดต่อครั้งในการทาธุรกรรมฯ กับ 
ช่องทางการทาธุรกรรมฯ ............................................................ 88 
ภำพ 34 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ จาแนกตามพฤติกรรมการใช้ 
อุปกรณ์ฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานที่สุ่มเสี่ยง ............... 90 
ภำพ 35 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ รายเพศและกลุ่มอายุ 
เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานที่สุ่มเสี่ยง............................... 91 
13
14 
14
สำรบัญตำรำง 
ตำรำง 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามลักษณะทั่วไปของบุคคล 
(เพศ กลุ่มอายุ การศึกษา สถานภาพการทางาน) .......................... 107 
ตำรำง 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล 
เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ........................ 109 
ตำรำง 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล 
เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ...................................... 112 
ตำรำง 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล 
เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่ทาผ่านอินเทอร์เน็ตโดยใช้คอมพิวเตอร์ 
........................................................................................................ 114 
ตำรำง 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล 
เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่ทาผ่านอินเทอร์เน็ตโดยใช้ 
อุปกรณ์เคลื่อนที่ ............................................................................. 117 
ตำรำง 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล 
เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่ม ........................ 120 
ตำรำง 7 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 
ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามประสบการณ์ 
การทาธุรกรรมฯ ............................................................................. 123 
ตำรำง 8 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ ในแต่ละลักษณะ 
ทั่วไปของบุคคล จาแนกตามมูลค่าสูงสุดที่ซื้อสินค้า/บริการต่อครั้ง 
........................................................................................................ 125 
ตำรำง 9 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ ในแต่ละลักษณะ 
ทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามช่องทางการชาระเงิน ................ 127 
15
16 
ตำรำง 10 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน ในแต่ละ 
ลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามมูลค่าสูงสุดที่ทา 
ธุรกรรมทางการเงินต่อครั้ง .......................................................... 129 
ตำรำง 11 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน 
ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามช่องทาง 
ในการทาธุรกรรมฯ ..................................................................... 131 
16
บทสรุปผู้บริหำร 
การทาสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557 เป็น 
การสารวจครั้งที่ 2 ครั้งแรกดาเนินการในปี 2556 มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บ 
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย 
ปัจจัยหลักที่ใช้ประกอบการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ปัญหา 
จากการใช้อินเทอร์เน็ต รวมถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้บริการ Free WiFi 
ตามนโยบายภาครัฐ และพฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่าน 
อุปกรณ์เคลื่อนที่ เป็นต้น ผลการสารวจจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วนย่อยๆ ส่วนแรก 
เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจในปีนี้ ส่วนที่ 2 เป็นพฤติกรรมการใช้ 
อินเทอร์เน็ต ซึ่งทั้ง 2 ส่วนนี้ จะจัดเก็บเป็นประจาอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อ 
ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต และในส่วนที่ 3 และ 4 
จะเป็นคาถามพิเศษประจาปี ในปีนี้ จะสารวจเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ 
อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง รวมทั้งการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์ 
เคลื่อนที่และการใช้งานที่สุ่มเสี่ยง เนื่องจากกระแสนิยมของการใช้อุปกรณ์ 
เคลื่อนที่ที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน ข้อมูลจากการสารวจนี้จะเป็นประโยชน์กับ 
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการ 
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจในการนาไปใช้กาหนดนโยบายการส่งเสริม 
การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 
การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจทางอินเทอร์เน็ต สพธอ.ได้เริ่มวางแบบ 
สารวจบนเว็บไซต์ต่างๆ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตั้งแต่กลางเดือนเมษายน 
จนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2557 มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสนใจเข้ามาตอบแบบสารวจ 
ทั้งสิ้น 16,596 คน 
17
18 
ผลกำรสำรวจที่สำคัญ 
ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต 
ปีนี้เป็นปีแรกที่มีการสารวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเพศที่ 
สาม นอกเหนือจากเพศชายและเพศหญิง ด้วยเหตุผลที่ว่างานสารวจที่ผ่านมา 
ของหลายๆ สานัก ยังไม่มีการจัดเก็บข้อมูลของกลุ่มเพศที่สามอย่างชัดเจน ซึ่ง 
สพธอ.เล็งเห็นว่าหากมีการจาแนกเพศให้สอดคล้องกับความเป็นจริงในปัจจุบัน 
ผลการสารวจที่ได้มา จะช่วยให้ภาคธุรกิจสามารถผลิตสินค้า/บริการได้ตรงตาม 
ความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น รวมไปถึงการทาการตลาดเฉพาะส่วน หรือ 
กาหนดช่องทางการขายสินค้าเฉพาะกลุ่มให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย 
จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจของ ปี 2557 เพศหญิง (ร้อยละ 55.6) มี 
สัดส่วนการเข้ามาตอบแบบสารวจสูงกว่าเพศชาย (ร้อยละ 43.1) และเพศที่สาม 
ซึ่งมีเพียงร้อยละ 1.3 เท่านั้น ส่วนการกระจายตัวของผู้ตอบแบบสารวจ จาแนก 
ตามสถานที่พักอาศัย พบว่าประกอบด้วยผู้ที่อาศัยใน กทม. และต่างจังหวัดใน 
สัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการกระจายตัวของเพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ 
การทางานและรายได้ครัวเรือนที่สอดคล้องกับโครงสร้างของผู้ตอบแบบสารวจ 
ของ ปี 2556 สามารถนาไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเปรียบเทียบ 
ระหว่างกลุ่มได้ 
สาหรับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนั้น พบว่า 
อินเทอร์เน็ตมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการใช้ชีวิตประจาวันคนผู้คนยุคปัจจุบัน 
จากข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากการสารวจพบว่า ค่าเฉลี่ยของการ 
ใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้นจากการใช้งานโดยเฉลี่ย 32.3 ชั่วโมงต่อ 
สัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 4.6 ชั่วโมงต่อวัน ในปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็น 
50.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 7.2 ชั่วโมงต่อวัน หรืออาจจะ 
กล่าวได้ว่า ปัจจุบันนี้ คนใช้เวลาเกือบ 1 ใน 3 ของวันเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต 
นอกจากนี้ยังพบว่า “กลุ่มเพศที่สาม” มีจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูง 
โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 62.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 
18
ผู้คนมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตกันตลอดเวลาโดยในแต่ละช่วงเวลาจะมี 
พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในอุปกรณ์ต่างๆที่แตกต่างกันไป โดยสมาร์ตโฟน 
กลายเป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้งานสูงเกือบทั้งวัน ดังคากล่าวที่ว่า สังคมยุคนี้ เป็น 
“สังคมก้มหน้า” โดยกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ยสูงถึง 6.6 ชั่วโมงต่อวัน และ 
สาหรับการใช้งาน “สมาร์ตทีวี” ในยุคทีวีดิจิทัลระยะเริ่มต้น พบว่า ร้อยละ 8.4 
ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ย 3.4 ชั่วโมงต่อ 
วัน 
ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อ 
วัตถุประสงค์ด้านความบันเทิง และการติดต่อสื่อสาร โดยกิจกรรมหลัก 3 อันดับ 
แรก ได้แก่ อันดับ 1 ใช้เพื่อการพูดคุยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ร้อยละ 78.2 
อันดับ 2 ใช้เพื่ออ่านข่าว/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 57.6 และอันดับ 3 
ใช้เพื่อค้นหาข้อมูล ร้อยละ 56.5 ในขณะที่ ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน 
คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ตในกิจกรรมที่ต้องเกี่ยวข้องกับข้อมูล โดยมีกิจกรรม 
หลัก 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับ 1 ใช้เพื่อรับ - ส่งอีเมล ร้อยละ 82.6 อันดับ 2 
ใช้เพื่อค้นหาข้อมูล และอ่านข่าว/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 73.3 และ 
อันดับ 3 ใช้เพื่ออ่านข่าว/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 63.8 
และยังพบอีกว่า กลุ่มเพศที่สาม เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ต 
ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) มากกว่ากลุ่มอื่นๆ ในหลายกิจกรรม 
ได้แก่ การใช้งานสังคมเครือข่ายออนไลน์ (ร้อยละ85.6), การอ่านติดตาม 
ข่าวสารและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 64.7) การซื้อขายสินค้าและบริการ 
(ร้อยละ 39.1) ในขณะที่ กลุ่มเพศหญิง มีสัดส่วนการเล่นเกมออนไลน์ผ่าน 
อุปกรณ์เคลื่อนที่มากกว่ากลุ่มอื่นๆ (ร้อยละ 52.6) 
พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง 
จากผลการสารวจ พบว่า กิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตยอดนิยม 3 
อันดับแรกของคนในปัจจุบันที่ค่อนข้างสุ่มเสี่ยง อันดับ 1 ได้แก่ การเช็คอินผ่าน 
Facebook (ร้อยละ 71.5) อันดับ 2 การแชร์รูปภาพส่วนตัวในสถานะ 
สาธารณะ (ร้อยละ 70.7) และอันดับ 3 การตั้งค่าโชว์สถานะในสังคมออนไลน์ 
19
เป็นสาธารณะ (ร้อยละ 62.3) โดยกลุ่มเพศที่สาม มีสัดส่วนของกิจกรรมดังกล่าว 
สูงกว่าเพศชายและเพศหญิง กล่าวคือ การเช็คอินผ่าน Facebook (ร้อยละ 
85.1), การแชร์รูปภาพส่วนตัวในสถานะสาธารณะ (ร้อยละ78.1), การโชว์ 
สถานะในสังคมออนไลน์เป็นสาธารณะ (ร้อยละ73.0) รวมทั้งการให้ข้อมูล 
ส่วนตัว โดยไม่ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์ (ร้อยละ 50.7) นอกจากนี้ 
กลุ่มที่มีอายุน้อยกว่า 15 – 24 ปี จะแชร์รูปภาพส่วนตัวในสถานะสาธารณะ 
และตั้งค่าโชว์สถานะในสังคมออนไลน์เป็นสาธารณะ มากกว่ากลุ่มอายุอื่นๆ 
ในขณะที่กลุ่มผู้ที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนของการแชร์ภาพ/ส่ง 
ต่อภาพ โดยไม่ตรวจสอบสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้น 
ไป มีสัดส่วนดังกล่าวสูงที่สุด (ร้อยละ 30.1) 
พฤติกรรมกำรทำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ผ่ำนอุปกรณ์เคลื่อนที่และ 
พฤติกรรมกำรใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง 
จากการสารวจ มีผู้ใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ คิดเป็นร้อยละ 92.0 ของ 
ผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ในจานวนนี้เป็นผู้ที่ซื้อสินค้าออนไลน์ร้อยละ 38.8 
และทาธุรกรรมการเงินออนไลน์ ร้อยละ 29.8 
เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า 
ปัจจัยที่มีผลต่อการดาวน์โหลดแอปพลิเคชันค่อนข้างมาก-มากที่สุด ได้แก่ 
อันดับ 1 ให้ดาวน์โหลดฟรี (ร้อยละ 93.6) อันดับ 2 เป็นแอปพลิเคชันที่ได้รับ 
ความนิยมอยู่ในขณะนั้นและมี rating สูง (ร้อยละ 82.5) และอันดับ 3 มีเพื่อน 
แนะนามา (ร้อยละ 67.6) 
นอกจากนี้ ยังพบว่า ร้อยละ 42.0 ของผู้ซื้อสินค้าออนไลน์ จะซื้อสินค้า 
ที่มีมูลค่าสูงสุดไม่เกิน 1,000 บาทต่อครั้งเท่านั้น และมูลค่าสูงสุดของการชาระ 
เงินที่มากกว่า 3,000 บาทต่อครั้ง จะใช้ช่องทางผ่านบัตรเครดิตมากกว่าการโอน 
เงินผ่านธนาคาร ในทางกลับกัน มูลค่าสูงสุดของการชาระเงินที่ไม่เกิน 3,000 
บาทต่อครั้ง คนจะใช้ช่องทางการโอนเงินผ่านธนาคารมากกว่าชาระเงินผ่านบัตร 
เครดิต 
20 
20
ส่วนอันดับ 1 ของมูลค่าสูงสุดในการทาธุรกรรมทางการเงินผ่าน 
อุปกรณ์เคลื่อนที่ อยู่ระหว่าง 1,000-4,000 บาทต่อครั้ง (ร้อยละ 22.2) อันดับ 
2 มีมูลค่าสูงสุดน้อยกว่า 1,000 บาทต่อครั้ง (ร้อยละ 22.0) และอันดับ 3 มี 
มูลค่าสูงสุดอยู่ในช่วง 4,001–7,000 บาทต่อครั้ง และสัดส่วนของผู้ที่ใช้อุปกรณ์ 
เคลื่อนที่ทาธุรกรรมฯ ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ของธนาคาร (ร้อยละ 54.3) สูงกว่า 
การทาธุรกรรมฯ ผ่านทางแอปพลิเคชันที่ธนาคารพัฒนาขึ้นมา (ร้อยละ 45.7) 
โดยการทาธุรกรรมฯ ที่มีมูลค่าสูงสุดต่อครั้งมากกว่า 50,000 บาท มีคนนิยมทา 
ผ่านเว็บไซต์สูงถึงร้อยละ 62.5 และทาผ่านแอปพลิเคชันมีเพียงร้อยละ 37.5 
เท่านั้น 
ผลการสารวจพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง พบว่า ผู้ที่ 
ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่มีอายุไม่เกิน 44 ปี มีพฤติกรรมละเลยการติดตั้งโปรแกรม 
Anti-Virus มากกว่าพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงอื่น ส่วนผู้ที่มีอายุ 45–49 ปี มีพฤติกรรม 
ละเลยการติดตั้งโปรแกรม Anti-Virus และละเลยการล้างข้อมูลก่อนยุติการใช้ 
เครื่องในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ในขณะที่ผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรม 
ละเลยการล้างข้อมูลก่อนยุติการใช้เครื่องมากกว่าพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงอื่น 
21
22 
22
บทนำ 
สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ 
สพธอ. มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทาง 
อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เอื้อต่อ 
การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทาง 
อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนกาหนดมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 
ที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ด้วยภารกิจดังกล่าว จาเป็นที่จะต้องมี 
ข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชนทุก 
กลุ่ม เพื่อใช้ข้อมูลในการกาหนดแนวทางการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการ 
ทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศที่สามารถตอบโจทย์และตอบสนอง 
ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง 
สพธอ. จึงได้จัดให้มีการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ 
ไทย ปี 2557 (Thailand Internet User Profile 2014) ขึ้นมา ซึ่งการสารวจ 
ครั้งนี้เป็นปีที่ 2 โดยในการสารวจจะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมของ 
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และมีการผนวกคาถามพิเศษประจาปี โดยในปีนี้เป็นคาถาม 
เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Devices) หมายรวมถึง 
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Phone) สมาร์ตโฟน (Smartphone) และแท็บเล็ต 
คอมพิวเตอร์ (Tablet Computer) โดยจะเน้นประเด็นที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการ 
ใช้งานที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภัยทางออนไลน์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการสารวจจะ 
เป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงานภาครัฐที่จะนาไปใช้ในการวางแผน กาหนด 
นโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆ รวมไปถึงภาคเอกชนที่จะนา 
ผลการสารวจนี้ไปใช้ประกอบการวางแผนธุรกิจ การกาหนดกลยุทธ์การตลาด 
เพื่อให้ตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมาย อันจะส่งผลให้การทาธุรกรรมทาง 
อิเล็กทรอนิกส์โดยภาพรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น 
23
24 
วัตถุประสงค์ของกำรสำรวจ 
1. เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย 
อย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง 
2. เพื่อรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในความสนใจในปีที่มีการสารวจ ซึ่งผู้ที่สนใจ 
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างทันสถานการณ์ 
3. เพื่อให้มีข้อมูลที่สาคัญและจาเป็นต่อการพัฒนาธุรกรรมทาง 
อิเล็กทรอนิกส์ ไว้ให้บริการแก่ผู้ใช้ข้อมูลภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจ 
โดยทั่วไปอย่างต่อเนื่อง 
4. เพื่อให้ สพธอ. มีข้อมูลไว้ใช้สาหรับกาหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริม 
และสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการติดตามและ 
ประเมินผล 
วิธีกำรสำรวจ 
การสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557 นี้ เป็น 
การสารวจทางอินเทอร์เน็ต โดยแบบสารวจดังกล่าวจะอยู่ในหน้าเว็บไซต์ต่างๆ 
ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความอนุเคราะห์ในการติด 
แบนเนอร์ รวมทั้งการกระจายแบบสารวจผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น 
Facebook เพื่อให้ไปถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง 
การสารวจนี้ ได้ดาเนินการตั้งแต่เดือนเมษายนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 
2557 โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบสารวจได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ 
จานวนทั้งสิ้น 16,596 คน จากนั้นจึงนาผลการตอบแบบสารวจที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่ 
กระบวนการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ 
24
25
26 
26
ส่วนที่ 1 ภำพรวมของผู้ตอบแบบสำรวจ1 
ในการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557 นี้ มี 
ผู้ให้ความร่วมมือตอบแบบสารวจ ผ่านทางเว็บไซต์และช่องทางโซเชียลมีเดียที่ 
ตอบแบบสารวจครบถ้วนสมบูรณ์ จานวนทั้งสิ้น 16,596 คน สามารถแจกแจง 
ลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ได้เป็นดังนี้ 
เพศ 
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ทั้งหมด ประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 43.1 
เพศหญิง ร้อยละ 55.6 และเพศที่สาม ร้อยละ 1.3 ดังแสดงในภาพ 1 
ภำพ 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมเพศ 
1.3% 
สถำนภำพสมรส 
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ โดยส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสเป็นโสดกว่า 
ร้อยละ 60 ในขณะที่ผู้ที่ตอบว่าสมรสแล้วมีร้อยละ 30.7 ส่วนอีกร้อยละ 3.2 
และ 3.0 เป็นกลุ่มผู้ที่ตอบว่าใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันเฉยๆ และเป็นกลุ่มที่หย่า/ 
แยกกันอยู่/หม้าย ตามลาดับ ดังแสดงในภาพ 2 
1 เนื่องจากเป็นการสารวจทางอินเทอร์เน็ต ผู้ตอบแบบสารวจในที่นี้ จึงหมายถึง ผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตที่ได้เข้ามาตอบแบบสารวจ ซึ่งจากนี้ไปในรายงานผลการสารวจฉบับนี้ จะใช้คาว่า ผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตฯ 
27
28 
ภำพ 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมสถำนภำพสมรส 
อำยุ 
หย่ำ/แยกกัน 
อยู่/หม้ำย, 
3.0% 
โสด, 63.1% 
อยู่ด้วยกัน 
เฉยๆ, 3.2% 
สมรส, 30.7% 
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ กว่าร้อยละ 50 อยู่ในวัยทางานตอนต้น มีอายุตั้งแต่ 
25 – 39 ปี โดยกุล่มอายุ 30 - 34 ปี ตอบแบบสารวจสูงสุดเป็นอันดับ 1 คิดเป็น 
ร้อยละ 18.2 รองลงมาเป็นกุล่มอายุ 25 - 29 ปี คิดเป็นร้อยละ17.7 ส่วนผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตฯ กุล่มอายุ 20 - 24 ปี และ 35 - 39 ปี มีสัดส่วนการเข้ามาตอบ 
แบบสารวจที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 15.2 ในขณะที่กลุ่มเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปี 
และกลุ่มผู้สุงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เข้ามาตอบแบบสารวจน้อยที่สุด คิดเป็น 
ร้อยละ 0.9 และ 0.6 ตามลาดับ ดังแสดงในภาพ 3 
28
ภำพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมกลุ่มอำยุ 
0.6 
0.9 
5.3 
2.9 
0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 
อำยุ 
60 ปีขึ้นไป 
55 - 59 ปี 
50 – 54 ปี 
45 - 49 ปี 
40 – 44 ปี 
35 - 39 ปี 
30 – 34 ปี 
25 - 29 ปี 
20 – 24 ปี 
15 – 19 ปี 
น้อยกว่ำ 15 ปี 
ประสบกำรณ์กำรใช้อินเทอร์เน็ต 
7.3 
7.2 
15.2 
15.2 
18.2 
17.7 
9.4 
ร้อยละ 
เกือบทั้งหมดของผู้ที่มาตอบแบบสารวจในปีนี้ มีประสบการณ์การใช้ 
อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โดยที่กว่าร้อยละ 90 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในปีนี้ 
มีประสบการณ์ในการใช้อินเทอร์เน็ตเกินกว่า 5 ปีขี้นไป อีกร้อยละ 8.2 มี 
ประสบการณ์ในการใช้อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 1 – 4 ปี และมีเพียงแค่ร้อยละ 0.8 
เท่านั้นที่ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 1 ปี ดังแสดงในภาพ 4 
29
30 
ภำพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมประสบกำรณ์กำรใช้ 
อินเทอร์เน็ต 
1 - 4 ปี, 
8.1% 
น้อยกว่ำ 1 ปี, 
0.8% 
5 ปีขึ้นไป, 
91.0% 
เมื่อพิจารณาผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ที่มีอายุระหว่าง 15 – 24 ปี พบว่า มี 
กลุ่ม Digital Natives2 หรือผู้ที่มีประสบการณ์การใช้อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 5 ปี 
ขึ้นไป อยู่ร้อยละ 86.9 ผู้ที่สนใจจะศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของกลุ่ม 
Digital Natives สามารถนาข้อมูลจากการสารวจนี้ไปใช้วิเคราะห์ใน 
รายละเอียดต่อไปได้ 
ที่พักอำศัย 
เมื่อพิจารณาที่พักอาศัยของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ พบว่า ผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตฯ ร้อยละ 44.4 เป็นผู้ที่พักอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ และอีกร้อยละ 
55.6 เป็นผู้ที่พักอาศัยอยู่ในต่างจังหวัด โดยในจานวนนี้เป็นผู้ที่อยู่ในเขตเทศบาล 
ร้อยละ 63.1 และนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 36.9 ดังแสดงในภาพ 5 
2 Digital Natives คือ กลุ่มคนที่มีอายุระหว่าง 15 – 24 ปี และมีประสบการณ์การใช้ 
อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป ตามคาจากัดความของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU 
(International Telecommunication Union), Measuring the Information Society 2013, 
International Telecommunication Union (ITU), http://www.itu.int/en/ITU-D/Statistics/ 
Pages/publications/mis2013/infographic-3-dn.aspx, สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2557. 
30
ภำพ 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมที่พักอำศัย 
กรุงเทพ, 
44.4% 
ระดับกำรศึกษำ 
ในเขตเทศบำล 
, 63.1% 
นอกเขต 
เทศบำล, 
36.9% 
ต่ำงจังหวัด, 
55.6% 
กว่าร้อยละ 60.0 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ มีการศึกษาระดับปริญญาตรี 
รองลงมาเป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาโท และระดับปวช./ปวส./ปวท./ 
อนุปริญญา โดยมีสัดส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ร้อยละ 24.7 และ 5.6 ตามลาดับ 
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ร้อยละ 87.5 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ครั้งนี้ เป็นผู้ที่มี 
การศึกษาระดับปริญญาตรีและสูงกว่า ดังแสดงในภาพ 6 
31
32 
ภำพ 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมระดับกำรศึกษำ 
0 10 20 30 40 50 60 70 
สูงกว่ำปริญญำโท 
ปริญญำโท 
ปริญญำตรี 
ปวช./ปวส./ปวท./ 
อนุปริญญำ 
มัธยมปลำย 
ต่ำกว่ำมัธยมปลำย 
สถำนภำพกำรทำงำน 
2.0 
5.6 
5.0 
1.9 
60.8 
24.7 
ร้อยละ 
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ กว่าครึ่งหรือร้อยละ 52.7 มีสถานภาพการทางาน 
เป็นข้าราชการ พนักงาน/ลูกจ้างของรัฐ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/องค์กรอิสระ 
รองลงมา ร้อยละ 20.1 และ 17.0 มีสถานภาพการทางานเป็นพนักงาน/ลูกจ้าง 
เอกชน และกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ตามลาดับ ดังแสดงในภาพ 7 
32
ภำพ 7 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมสถำนภำพกำรทำงำน 
รำยได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน 
เมื่อพิจารณารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ 
พบว่า ร้อยละ 35.5 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ อยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 
10,001 - 30,000 บาทต่อเดือน รองลงมา ร้อยละ 22.2 และ 12.9 ของผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตฯ อยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 30,001 – 50,000 บาทต่อเดือน 
และ 50,001 - 70,000 บาทต่อเดือน ตามลาดับ ดังแสดงไว้ในภาพ 8 
33
ภำพ 8 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมระดับรำยได้เฉลี่ยต่อเดือน 
34 
ของครัวเรือน 
บำท 
34
35
36 
36
ส่วนที่ 2 พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต 
ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2557 ได้นาผลการ 
สารวจจากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ 16,596 คน มาประมวลผลและวิเคราะห์ผลเพื่อ 
แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยในหลากหลายประเด็น 
ได้แก่ ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต สถานที่ที่ใช้ 
อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่กระทาผ่านอินเทอร์เน็ต 
และปัญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้อินเทอร์เน็ต โดยมีการเปรียบเทียบกับข้อมูลการ 
สารวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในปี 2556 เพื่อวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลง 
ที่เกิดขึ้น3 
ระยะเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ต 
อินเทอร์เน็ตมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการใช้ชีวิตประจาวันของคนยุค 
ปัจจุบัน จากผลการสารวจข้อมูลพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในปีนี้ พบว่า 
ค่าเฉลี่ยของการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้นจากการใช้งานโดยเฉลี่ย 
32.3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 4.6 ชั่วโมงต่อวัน ในปี 2556 
เพิ่มขึ้นเป็น 50.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 7.2 ชั่วโมงต่อวัน 
ในปี 2557 ข้อมูลดังกล่าวบ่งชี้ให้เห็นว่าเพียงระยะเวลาเพียงหนึ่งปี ผู้ใช้ 
อินเทอร์เน็ตในบ้านเราใช้เวลากับการท่องอินเทอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นถึง 56 
เปอร์เซ็นต์ หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ปัจจุบันนี้ คนใช้เวลาเกือบ 1 ใน 3 ของวัน 
เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต 
3 ผู้ตอบแบบสารวจของปี 2556 มีลักษณะทั่วไปใกล้เคียงกับผู้ตอบแบบสารวจในปี 
2557 โดยข้อมูลพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาหนึ่งๆ ขึ้นอยู่กับ 
ความเหมาะสมของพฤติกรรมหรือกิจกรรมนั้นๆ นอกจากนี้การวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้ 
อินเทอร์เน็ตยังมีการเปรียบเทียบผลการสารวจกับลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ (ได้แก่ เพศ 
อายุ ที่พักอาศัย ระดับการศึกษา สถานภาพการทางาน) หากต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมดู 
ข้อมูลได้จากภาคผนวกท้ายเล่ม 
37
38 
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 
อย่างชัดเจน ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ มี 
ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่ม 
สูงขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2556 มีสาเหตุมา 
จากปัจจัยต่างๆที่เอื้อต่อการเข้าถึง 
อินเทอร์เน็ตหลายประการ ได้แก่ 
ประ กา รแรก รา คา ของ อุป กรณ์ 
เคลื่อนที่ต่างๆ ที่มีราคาถูกลง ไม่ว่าจะ 
เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่, สมาร์ตโฟน 
และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์4 ประการที่สอง ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์แอพพลิเคชันบน 
สมาร์ตโฟนต่างก็แข่งขันกันพัฒนาแอพพลิเคชันต่างๆ อีกมากมายเพื่อ 
สนองตอบความต้องการใช้งานของผู้บริโภค และประการที่สาม การเติบโตของ 
บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย รวมไปถึงการขยายเครือข่าย 3G ทาให้ผู้ใช้งาน 
สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลา รวมทั้งนโยบาย WiFi สาธารณะ 
ของภาครัฐที่มีการขยายจุดให้บริการอย่างทั่วถึง 
ปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นที่ส่งผลให้ผู้ใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ 
โดยเฉพาะสมาร์ตโฟนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้สะดวกทุกที่ทุกเวลา จนทา 
ให้อินเทอร์เน็ตกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันกันไปแล้ว 
เมื่อเปรียบเทียบผลการสารวจระหว่างปี 2556 - 2557 พบว่า ในปี 
2557 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ อันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 20.2 ใช้อินเทอร์เน็ต 42 – 
76.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่ ปี 2556 อันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 35.7 นิยม 
ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เท่านั้น แนวโน้มดังกล่าวจึงเห็นได้ 
ว่า ผู้คนมีการใช้อินเทอร์เน็ตต่อวันมากขึ้น ดังแสดงในภาพ 9 
4 การแข่งขันด้านราคาขายของสมาร์ตโฟนที่ถูกลงมากทาให้ปี 2557 เป็นปีแรกที่ 
ยอดขายของสมาร์ตโฟนสูงกว่ายอดขายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (อ้างอิงจาก “ไอดีซี ชี้สมาร์ทโฟนแซง 
ฟีเจอร์โฟนแล้ว”, Positioning Magazine Online ประจาวันที่ 26 มิถุนายน 2557, 
http://www.positioningmag.com/, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2557) 
38
ภำพ 9 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมจำนวนชั่วโมงกำรใช้ 
อินเทอร์เน็ตต่อสัปดำห์ ปี 2556 – 2557 
35.7 
25.8 
16.7 
20.2 
10.7 11.5 
2556 2557 
16.1 13.9 
7.3 9.0 
13.7 
19.3 
< 10 ชม. 10 - 20.9 ชม. 21 - 41.9 ชม. 42 - 76.9 ชม.7 7 - 104.9 ชม.1 05 ชม.ขึ้นไป 
ในการเปรียบเทียบจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตในแต่ละกลุ่ม 
ร้อยละ 
40.0 
35.0 
30.0 
25.0 
20.0 
15.0 
10.0 
5.0 
0.0 
ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ดังแสดงในภาพ 10 พบว่า เพศชาย มีสัดส่วนการใช้ 
อินเทอร์เน็ตมากกว่าเพศหญิง โดยเพศชายใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 51.8 ชั่วโมงต่อ 
สัปดาห์ ในขณะที่เพศหญิงใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 49.0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และใน 
ปีนี้ได้มีการสอบถามไปยังกลุ่มเพศที่สาม ซึ่งพบว่ากลุ่มนี้มีจานวนชั่วโมงการใช้ 
งานอินเทอร์เน็ตสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเพศชายและหญิง โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 62.1 
ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 
เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบในแต่ละกลุ่มของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ยังพบ 
ประเด็นน่าสนใจอีกหลายประเด็น ได้แก่ ผู้ที่พักอาศัยในกรุงเทพฯซึ่งมีความ 
พร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ดีกว่าจะใช้ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึง 
อินเทอร์เน็ตนานกว่า โดยผู้ที่พักอาศัยในกรุงเทพฯใช้งานอินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 
52.8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์, กลุ่มคนอายุ 25 - 29 ปี ซึ่งเป็นวัยเริ่มต้นของการ 
ทางานเป็นกลุ่มที่มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูงสุด คือ ใช้เฉลี่ย 58.9 ชั่วโมงต่อ 
39
สัปดาห์, กลุ่มคนที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ต 
โดยเฉลี่ยที่สูงขึ้นด้วย และกลุ่มคนที่มีระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนที่ 
สูงขึ้นก็จะมีจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยที่สูงขึ้นด้วย 
เช่นเดียวกัน 
40 
40
ภำพ 10 จำนวนชั่วโมงกำรใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดำห์ 
ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่ำงๆ 
51.1 
53.5 
52.8 
50.8 
52.4 
49.4 
48.7 
46.3 
44.7 
47.0 
54.0 
55.5 
52.5 
51.5 
50.7 
47.2 
46.6 
49.6 
50.0 
54.3 
49.0 
58.9 
56.7 
51.8 
62.1 
31.9 
35.5 
36.5 
52.6 
43.1 
36.7 
29.6 
52.8 
38.5 
48.8 
56.4 
42.5 
50.8 
60.9 
0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 
> 150,000 บำท 
130,001 – 150,000 บำท 
110,001 – 130,000 บำท 
90,001 – 110,000 บำท 
70,001 – 90,000 บำท 
50,001 – 70,000 บำท 
30,001 – 50,000 บำท 
10,001 – 30,000 บำท 
≤ 10,000 บำท 
อื่นๆ 
ว่ำงงำน 
แม่บ้ำน/พ่อบ้ำน 
นักเรียน/นักศกึษำ 
พนักงำน/ลูกจ้ำงเอกชน 
เจ้ำของกิจกำร/ประกอบธุรกิจส่วนตัว 
ข้ำรำชกำร พนักงำนรัฐ 
สูงกว่ำปริญญำโท 
ปริญญำโท 
ปริญญำตรี 
ปวช./ปวส./ปวท./อนุปริญญำ 
มัธยมปลำย 
ต่ำกว่ำมัธยมปลำย 
จังหวัดอื่นนอกเขตเทศบำล 
จังหวัดอื่นในเขตเทศบำล 
กทม. 
60 ปีขึ้นไป 
55 - 59 ปี 
50 - 54 ปี 
45 - 49 ปี 
40 – 44 ปี 
35 - 39 ปี 
30 – 34 ปี 
25 - 29 ปี 
20 – 24 ปี 
15 - 19 ปี 
น้อยกว่ำ 15 ปี 
เพศที่สำม 
หญิง 
ชำย 
ค่ำเฉลี่ยรวม 
เพศ อำยุ ที่พักอำศัย กำรศึกษำ สถำนภำพกำรทำงำน รำยได้ครัวเรือน 
ชั่วโมง 
50.4 
41
42 
อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต 
หากมองย้อนกลับไปสิบกว่าปีก่อน การเชื่อมต่อเข้าถึงอินเทอร์เน็ตถูก 
จากัดอยู่กับสถานที่ อุปกรณ์ที่ใช้เข้าถึงอินเทอร์เน็ตคือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และ 
คอมพิวเตอร์พกพาเป็นหลัก แต่ยุคการสื่อสารไร้สาย (WiFi) และการพัฒนา 
อุปกรณ์สื่อสารที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ ทาให้พฤติกรรมการเลือกใช้อุปกรณ์ 
เข้าถึงอินเทอร์เน็ตของผู้คนเปลี่ยนไป 
จากผลการสารวจการเลือกใช้อุปกรณ์เข้าถึงอินเทอร์เน็ต และจานวน 
ชั่วโมงต่อวันของการใช้อินเทอร์เน็ตในอุปกรณ์ต่างๆ จากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ5 
พบว่าพฤติกรรมของผู้คนเปลี่ยนไป คนหนึ่งคนอาจมีการใช้อุปกรณ์มากกว่าหนึ่ง 
เครื่องในการเข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น เราอาจจะทางานด้วยคอมพิวเตอร์ 
ตั้งโต๊ะพร้อมกับการเช็คเฟสบุคบนสมาร์ตโฟน หรือ เราอาจจะดูรายการ 
โทรทัศน์ผ่านสมาร์ตทีวีพร้อมกับการเล่นเกมบนแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 
“สมาร์ตโฟน” เป็นอุปกรณ์ยอดฮิตที่ถูกใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตใน 
ปัจจุบัน และมีการใช้งานสูงสุดในแต่ละวัน จากผลการสารวจพบว่า ร้อยละ 
77.1 ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ยสูงถึง 6.6 
ชั่วโมงต่อวัน อุปกรณ์ยอดฮิตอันดับ 2 ได้แก่ “คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ” พบว่า 
ร้อยละ 69.4 ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ยสูง 
ถึง 6.2 ชั่วโมงต่อวัน และสาหรับการใช้งาน “สมาร์ตทีวี” ในยุคทีวีดิจิทัลระยะ 
เริ่มต้น พบว่า ร้อยละ 8.4 ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการ 
ใช้งานเฉลี่ย 3.4 ชั่วโมงต่อวัน ดังแสดงในภาพ 11 (ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จากตาราง 
2 ในภาคผนวกท้ายเล่ม) 
5 จากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จานวน 16,596 คน มีผู้ที่ตอบว่าใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง 
ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต 
คอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ตทีวี จานวนทั้งสิ้น 15,610 คน 
42
ภำพ 11 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ และจำนวนชั่วโมงกำรใช้งำนเฉลี่ย 
ต่อวัน เปรียบเทียบตำมอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต 
ช่วงเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ตสำหรับอุปกรณ์ประเภทต่ำงๆ 
ผลพวงจากการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ และอุปกรณ์การเข้าถึง 
อินเทอร์เน็ตที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นตามวัตถุประสงค์การใช้งานทาให้พฤติกรรม 
การใช้อินเทอร์เน็ตเปลี่ยนไป จากการสารวจพบว่า ผู้คนมีการใช้งาน 
อินเทอร์เน็ตกันตลอดเวลาโดยในแต่ละช่วงเวลาจะมีพฤติกรรมการใช้ 
อินเทอร์เน็ตในอุปกรณ์ต่างๆที่แตกต่างกันไป โดย สมาร์ตโฟนกลายเป็นอุปกรณ์ 
ที่มีการใช้งานสูงเกือบทั้งวัน ดังคากล่าวที่ว่า สังคมยุคนี้ เป็น “สังคมก้มหน้า” 
จากภาพ 12 พบว่า ช่วงเวลาทางาน/เรียน (08.01 - 16.00 น.) 
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะเป็นอุปกรณ์ที่ถูกใช้งานสูงสุดโดยผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เกินกว่า 
ครึ่งระบุว่ามีการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างไร 
ก็ตาม ยัง พบอีกว่า สมาร์ตโฟนก็เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้งานสูงเกินกว่าร้อยละ 40 
ในช่วงเวลานี้ด้วย ข้อมูลดังกล่าวเป็นเครื่องชี้ให้สังคมเห็นเสมือนเหรียญสองด้าน 
43
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557

Contenu connexe

Similaire à รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557

หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารDuangnapa Inyayot
 
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkSujinda Kultangwattana
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารrwin281
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารanusara5837
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10Jaohjaaee
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013IMC Institute
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดMaykin Likitboonyalit
 
การใช้เทคโนโลยี 3G กับงานด้านสังคม
การใช้เทคโนโลยี 3G  กับงานด้านสังคมการใช้เทคโนโลยี 3G  กับงานด้านสังคม
การใช้เทคโนโลยี 3G กับงานด้านสังคมIMC Institute
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Similaire à รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557 (20)

It policypolice
It policypoliceIt policypolice
It policypolice
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
ETDA ANNUAL REPORT 2013
ETDA ANNUAL REPORT 2013ETDA ANNUAL REPORT 2013
ETDA ANNUAL REPORT 2013
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
 
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Infographic for Communication
Infographic for CommunicationInfographic for Communication
Infographic for Communication
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013E-Commerce Trends 2013
E-Commerce Trends 2013
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุดการบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ในงานห้องสมุด
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
การใช้เทคโนโลยี 3G กับงานด้านสังคม
การใช้เทคโนโลยี 3G  กับงานด้านสังคมการใช้เทคโนโลยี 3G  กับงานด้านสังคม
การใช้เทคโนโลยี 3G กับงานด้านสังคม
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Plus de Vitsanu Nittayathammakul

สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557Vitsanu Nittayathammakul
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...Vitsanu Nittayathammakul
 
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...Vitsanu Nittayathammakul
 
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี Vitsanu Nittayathammakul
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนVitsanu Nittayathammakul
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนVitsanu Nittayathammakul
 

Plus de Vitsanu Nittayathammakul (6)

สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
สรุปผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
 
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
Activity Based Learning Kits for Children in a Disadvantaged Community Accord...
 
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
รูปแบบรายการโทรทัศน์ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ สำหรับเด็กอายุ 6-12 ปี
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
 
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อนสตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
สตอรี่บอร์ดลดโลกร้อน
 

รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557

  • 1.
  • 2. ชื่อเรื่อง รายงานผลการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตใน ประเทศไทย ปี 2557 Thailand Internet User Profile 2014 เรียบเรียงโดย ส่วนงานดัชนีและสารวจ สานักยุทธศาสตร์ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2557 พิมพ์จำนวน 2,000 เล่ม รำคำ 120 บาท สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 1
  • 3. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เป็นองค์กรของรัฐที่ทำหน้าที่พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ มีการบริหารจัดการและกำหนดนโยบายโดยคณะกรรมการบริหาร
  • 4.
  • 5. 4 4
  • 6. การใช้อินเทอร์เน็ตของไทยมีความสำคัญ เพราะปัจจุบันมีการใช้งานผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ ทั้งโทรศัพท์เคลื่อนที่ สมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ กันมากมาย ความน่าสนใจคือ เราได้นำอินเทอร์เน็ตมาใช้ให้เกิดประโยชน์หรือเพิ่มมูลค่าให้กับตนเอง หรือประเทศชาติมากเพียงใด รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ของ ETDA ฉบับนี้ จึงขอเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสะท้อนภาพว่า ตอนนี้ประเทศไทยอยู่ตรงไหน และจะก้าวกระโดดต่อไปได้อย่างไร สุรางคณา วายุภาพ สุรางคผู้ณา อำนวาวยยุกาภาร พ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ผู้อานวยการ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ก(รอกงฎาค์กาคม รม2557 หาชน) 5
  • 7. 6 คำนำ ปัจจุบัน อินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนค่อนข้างสูง นับตั้งแต่ตื่นนอนไปจนเข้านอน การจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้สะท้อนภาพพฤติกรรม การใช้อินเทอร์เน็ตของประชาชนทุกกลุ่มที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาหนี่งๆ จึง เป็นสิ่งสาคัญและควรมีการจัดเก็บอย่างต่อเนื่องเป็นประจา เพื่อให้เห็นการ เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมดังกล่าว อันจะเป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงาน ภาครัฐที่จะใช้ในการวางแผนกาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือใช้ในการจัดทาแผนชาติ รวมทั้งการส่งเสริมการใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย เพื่อให้สอดคล้องกับความ ต้องการของภาคประชาชน หรือภาคธุรกิจที่จะนาไปใช้ในการวางแผนการตลาด (e-Marketing) เพื่อให้ตอบโจทย์ของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการคาดการณ์ความ ต้องการของลูกค้าได้ใกล้เคียงความเป็นจริง สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. ซึ่งมีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการทา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และสนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมีมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มี ความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ได้เห็นถึงความสาคัญในการจัดเก็บข้อมูล พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ ไทย ปี 2557 (Thailand Internet User Profile 2014) เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ลักษณะของผู้ใช้และพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยไว้เป็นฐานข้อมูล เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ลักษณะของผู้ใช้งานและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต โดยมีแผนจะจัดทาการสารวจนี้เป็นประจาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยข้อถามหลักจะ คงไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ผลเชิงเปรียบเทียบได้ แต่จะ เพิ่มข้อถามเฉพาะสาหรับการสารวจในแต่ละปีในเรื่องที่กาลังได้รับความสนใจอยู่ ในขณะนั้น โดยในปีนี้ได้มีการเพิ่มข้อถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่ สุ่มเสี่ยง รวมทั้งการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่และการ 6
  • 8. ใช้งานที่สุ่มเสี่ยง ซึ่งเป็นประเด็นที่อยู่ในกระแสนิยมในปัจจุบัน และมีความ เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ อนึ่ง การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยผู้ตอบจะ เข้ามาตอบด้วยความสมัครใจ (Self-Selection) แม้ว่าโดยระเบียบวิธีทาง วิชาการทางสถิติแล้ว ข้อมูลที่ประมวลผลได้ไม่ถือว่าเป็นตัวแทนของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตทั้งประเทศไทย แต่เนื่องจากมีผู้ให้ความร่วมมือกับการสารวจครั้งนี้ โดยสมัครใจเข้ามาให้ข้อมูลในแบบสารวจฯ มากถึง 16,596 คน ผลการประมาณ ค่าจึงสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงถึงพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต รวมถึง พฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ได้ในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ในการประมวลผลและวิเคราะห์ผลยังมีการจัดตั้งคณะทางานซึ่งมา จากหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์สอดคล้องกับการ ดาเนินการสารวจครั้งนี้ เพื่อให้ผลการสารวจครั้งนี้มีความถูกต้องแม่นยาตาม หลักวิชาการ การสารวจครั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีจากหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ์ติดป้ายประกาศ (Banner) เชิญชวนให้มี ผู้เข้ามาตอบแบบสารวจฯ จากเว็บไซต์หลายแห่ง รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ เจ้าหน้าที่/พนักงานภายใต้สังกัดหน่วยงานได้ร่วมตอบแบบสารวจฯ นี้ด้วย ดังมี รายชื่อในภาคผนวกท้ายเล่ม สพธอ.จึงขอขอบพระคุณหน่วยงานดังกล่าวไว้ ณ ที่นี้ และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจ โดยทั่วไป สุรางคณา วายุภาพ ผู้อานวยการ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) กรกฎาคม 2557 7
  • 9. 8 สำรบัญ คำนำ…………………………………………………………………………………………… 6 สำรบัญภำพ ........................................................................................... 11 สำรบัญตำรำง ........................................................................................ 15 บทสรุปผู้บริหำร ..................................................................................... 17 ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ................................ 18 บทนา……………………………………………………………..……………………………….23 วัตถุประสงค์ของการสารวจ ......................................................................... 24 วิธีการสารวจ ................................................................................................ 24 ส่วนที่ 1 ภำพรวมของผู้ตอบแบบสำรวจ ................................................. 27 เพศ ............................................................................................................... 27 สถานภาพสมรส ........................................................................................... 27 อายุ ............................................................................................................... 28 ที่พักอาศัย .................................................................................................... 30 ระดับการศึกษา ............................................................................................ 31 สถานภาพการทางาน ................................................................................... 32 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน ................................................................ 33 ส่วนที่ 2 พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต .................................................... 37 ระยะเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ต .......................................................................... 37 8
  • 10. อุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต .......................................................... 42 ช่วงเวลาที่ใช้อินเทอร์เน็ตสาหรับอุปกรณ์ประเภทต่างๆ .............................. 43 สถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ............................................................................... 45 กิจกรรมการใช้งานผ่านอินเทอร์เน็ต ............................................................ 47 เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่นิยมใช้งาน ........................................................... 51 ปัจจัยหลักที่ใช้ประกอบการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ..... 53 ปัญหาสาคัญที่เกิดจากการใช้อินเทอร์เน็ต ................................................... 55 ส่วนที่ 3 พฤติกรรมกำรใช้งำนอินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง ............................... 61 พฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง ................................................. 61 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการร้องเรียนหากถูกฉ้อโกงหรือได้รับความไม่เป็นธรรม จากการซื้อสินค้า/บริการทางออนไลน์ ......................................................... 68 ความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของศูนย์รับเรื่องร้องเรียนปัญหาการถูกฉ้อโกง หรือได้รับความไม่เป็นธรรมจากการทาธุรกรรมออนไลน์............................. 70 ส่วนที่ 4 พฤติกรรมกำรทำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ผ่ำนอุปกรณ์เคลื่อนที่ และพฤติกรรมกำรใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง....................................... 75 ประสบการณ์และพฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์ เคลื่อนที่ ....................................................................................................... 76 การดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ....................................................................... 77 ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน ................................. 79 การซื้อสินค้า/บริการผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ .................................................. 80 9
  • 11. จานวนครั้งที่ซื้อสินค้า/บริการ ...................................................................... 80 มูลค่าสูงสุดต่อครั้งในการซื้อสินค้า/บริการ .................................................. 81 ช่องทางในการชาระเงินค่าสินค้าและบริการ ............................................... 82 การทาธุรกรรมทางการเงินผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ......................................... 84 จานวนครั้งในการทาธุรกรรมทางการเงิน..................................................... 84 มูลค่าสูงสุดต่อครั้งในการทาธุรกรรมทางการเงิน ......................................... 85 ช่องทางในการทาธุรกรรมทางการเงิน ......................................................... 86 พฤติกรรมการใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง .......................................... 88 ภำคผนวก………………………………………………………..……………………………..93 แผนภาพโครงสร้างผู้ตอบแบบสารวจ เปรียบเทียบตาม ลักษณะทั่วไป ปี 2556 - 2557 ........................................................................................... 95 รายชื่อหน่วยงานเอกชนผู้ให้ความอนุเคราะห์ในการติดป้ายประกาศ (Banner) โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ..................................................................... 98 10 10
  • 12. สำรบัญภำพ ภำพ 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามเพศ ................................ 27 ภำพ 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามสถานภาพสมรส .............. 28 ภำพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามกลุ่มอายุ ......................... 29 ภำพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามประสบการณ์การใช้ อินเทอร์เน็ต ................................................................................ 30 ภำพ 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามที่พักอาศัย ...................... 31 ภำพ 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามระดับการศึกษา ............... 32 ภำพ 7 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามสถานภาพการทางาน...... 33 ภำพ 8 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ของครัวเรือน .............................................................................. 34 ภำพ 9 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามจานวนชั่วโมงการใช้ อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์ ปี 2556 – 2557 ...................................... 39 ภำพ 10 จานวนชั่วโมงการใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดาห์ของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆ ................................................................ 41 ภำพ 11 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ และจานวนชั่วโมงการใช้งานเฉลี่ย ต่อวัน เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ..... 433 ภำพ 12 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามการใช้อุปกรณ์ 43 แต่ละประเภท ในช่วงเวลาต่างๆ ................................................ 44 ภำพ 13 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้ อินเทอร์เน็ต ปี 2556 – 2557.................................................... 46 ภำพ 14 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งาน ผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับคอมพิวเตอร์ ............ 49 11
  • 13. 12 ภำพ 15 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ รายเพศ เปรียบเทียบตามกิจกรรม สาคัญที่ทาผ่านอินเทอร์เน็ตระหว่างอุปกรณ์เคลื่อนที่กับ คอมพิวเตอร์ ............................................................................. 51 ภำพ 16 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามเครือข่าย สังคมออนไลน์ที่ใช้บริการเป็นประจา ปี 2556 - 2557 ................. 53 ภำพ 17 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามระดับความสาคัญของ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ....... 55 ภำพ 18 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามปัญหาที่เกิดจาก การใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2556 – 2557 ........................................... 58 ภำพ 19 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง ................................................................. 63 ภำพ 20 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ รายเพศ เปรียบเทียบตามกิจกรรม การใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง 5 อันดับแรก ................................... 64 ภำพ 21 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในกลุ่มอายุ 3 อันดับแรก เปรียบเทียบ ตามกิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง 5 อันดับแรก ................. 65 ภำพ 22 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ที่ทากิจกรรมการแชร์ภาพ/ส่งภาพ/ ข้อความที่ไม่เหมาะสม โดยไม่ตรวจสอบแหล่งที่มา รายกลุ่มอายุ .. 67 ภำพ 23 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามช่องทาง การร้องเรียน/แสดงความคิดเห็น ................................................ 69 ภำพ 24 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามความคิดเห็นที่มีต่อ ลักษณะของศูนย์รับเรื่องร้องเรียนปัญหาจากการถูกฉ้อโกงหรือ ได้รับความไม่เป็นธรรมจากการทาธุรกรรมออนไลน์ ..................... 70 ภำพ 25 การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ................................................................. 76 12
  • 14. ภำพ 26 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เปรียบเทียบตามพฤติกรรม การดาวน์โหลดแอปฯ ก่อนใช้งานครั้งแรก .................................... 78 ภำพ 27 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ จาแนกตามระดับความสาคัญของ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน .................... 79 ภำพ 28 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ จาแนกตาม จานวนครั้ง และมูลค่าสูงสุดในการซื้อต่อครั้ง ................................ 81 ภำพ 29 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ เปรียบเทียบตามช่องทางการชาระเงิน ........................................ 82 ภำพ 30 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ เปรียบเทียบตามมูลค่าสูงสุดในการซื้อสินค้า/บริการต่อครั้งกับ ช่องทางการชาระเงิน ................................................................. 83 ภำพ 31 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงินผ่าน อุปกรณ์เคลื่อนที่ จาแนกตามจานวนครั้ง และมูลค่าสูงสุด ในการทาธุรกรรมต่อครั้ง ............................................................. 85 ภำพ 32 สัดส่วนผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน จาแนกตามช่องทางในการทาธุรกรรมทางการเงิน ......................... 87 ภำพ 33 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน เปรียบเทียบตามมูลค่าสูงสุดต่อครั้งในการทาธุรกรรมฯ กับ ช่องทางการทาธุรกรรมฯ ............................................................ 88 ภำพ 34 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ จาแนกตามพฤติกรรมการใช้ อุปกรณ์ฯ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานที่สุ่มเสี่ยง ............... 90 ภำพ 35 ร้อยละของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ รายเพศและกลุ่มอายุ เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้งานที่สุ่มเสี่ยง............................... 91 13
  • 15. 14 14
  • 16. สำรบัญตำรำง ตำรำง 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จาแนกตามลักษณะทั่วไปของบุคคล (เพศ กลุ่มอายุ การศึกษา สถานภาพการทางาน) .......................... 107 ตำรำง 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ........................ 109 ตำรำง 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามสถานที่ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ...................................... 112 ตำรำง 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่ทาผ่านอินเทอร์เน็ตโดยใช้คอมพิวเตอร์ ........................................................................................................ 114 ตำรำง 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามกิจกรรมที่ทาผ่านอินเทอร์เน็ตโดยใช้ อุปกรณ์เคลื่อนที่ ............................................................................. 117 ตำรำง 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามกิจกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่ม ........................ 120 ตำรำง 7 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามประสบการณ์ การทาธุรกรรมฯ ............................................................................. 123 ตำรำง 8 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ ในแต่ละลักษณะ ทั่วไปของบุคคล จาแนกตามมูลค่าสูงสุดที่ซื้อสินค้า/บริการต่อครั้ง ........................................................................................................ 125 ตำรำง 9 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ซื้อสินค้า/บริการ ในแต่ละลักษณะ ทั่วไปของบุคคล เปรียบเทียบตามช่องทางการชาระเงิน ................ 127 15
  • 17. 16 ตำรำง 10 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน ในแต่ละ ลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามมูลค่าสูงสุดที่ทา ธุรกรรมทางการเงินต่อครั้ง .......................................................... 129 ตำรำง 11 ร้อยละของผู้ที่ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ทาธุรกรรมทางการเงิน ในแต่ละลักษณะทั่วไปของบุคคล จาแนกตามช่องทาง ในการทาธุรกรรมฯ ..................................................................... 131 16
  • 18. บทสรุปผู้บริหำร การทาสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557 เป็น การสารวจครั้งที่ 2 ครั้งแรกดาเนินการในปี 2556 มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะและพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย ปัจจัยหลักที่ใช้ประกอบการตัดสินใจซื้อสินค้า/บริการผ่านอินเทอร์เน็ต ปัญหา จากการใช้อินเทอร์เน็ต รวมถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้บริการ Free WiFi ตามนโยบายภาครัฐ และพฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่าน อุปกรณ์เคลื่อนที่ เป็นต้น ผลการสารวจจะแบ่งออกเป็น 4 ส่วนย่อยๆ ส่วนแรก เป็นข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสารวจในปีนี้ ส่วนที่ 2 เป็นพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ต ซึ่งทั้ง 2 ส่วนนี้ จะจัดเก็บเป็นประจาอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อ ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต และในส่วนที่ 3 และ 4 จะเป็นคาถามพิเศษประจาปี ในปีนี้ จะสารวจเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง รวมทั้งการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์ เคลื่อนที่และการใช้งานที่สุ่มเสี่ยง เนื่องจากกระแสนิยมของการใช้อุปกรณ์ เคลื่อนที่ที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน ข้อมูลจากการสารวจนี้จะเป็นประโยชน์กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และผู้ที่สนใจในการนาไปใช้กาหนดนโยบายการส่งเสริม การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ การสารวจครั้งนี้เป็นการสารวจทางอินเทอร์เน็ต สพธอ.ได้เริ่มวางแบบ สารวจบนเว็บไซต์ต่างๆ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตั้งแต่กลางเดือนเมษายน จนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2557 มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสนใจเข้ามาตอบแบบสารวจ ทั้งสิ้น 16,596 คน 17
  • 19. 18 ผลกำรสำรวจที่สำคัญ ข้อมูลลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต ปีนี้เป็นปีแรกที่มีการสารวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเพศที่ สาม นอกเหนือจากเพศชายและเพศหญิง ด้วยเหตุผลที่ว่างานสารวจที่ผ่านมา ของหลายๆ สานัก ยังไม่มีการจัดเก็บข้อมูลของกลุ่มเพศที่สามอย่างชัดเจน ซึ่ง สพธอ.เล็งเห็นว่าหากมีการจาแนกเพศให้สอดคล้องกับความเป็นจริงในปัจจุบัน ผลการสารวจที่ได้มา จะช่วยให้ภาคธุรกิจสามารถผลิตสินค้า/บริการได้ตรงตาม ความต้องการของผู้บริโภคมากขึ้น รวมไปถึงการทาการตลาดเฉพาะส่วน หรือ กาหนดช่องทางการขายสินค้าเฉพาะกลุ่มให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย จากจานวนผู้ตอบแบบสารวจของ ปี 2557 เพศหญิง (ร้อยละ 55.6) มี สัดส่วนการเข้ามาตอบแบบสารวจสูงกว่าเพศชาย (ร้อยละ 43.1) และเพศที่สาม ซึ่งมีเพียงร้อยละ 1.3 เท่านั้น ส่วนการกระจายตัวของผู้ตอบแบบสารวจ จาแนก ตามสถานที่พักอาศัย พบว่าประกอบด้วยผู้ที่อาศัยใน กทม. และต่างจังหวัดใน สัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน และมีการกระจายตัวของเพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ การทางานและรายได้ครัวเรือนที่สอดคล้องกับโครงสร้างของผู้ตอบแบบสารวจ ของ ปี 2556 สามารถนาไปวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเปรียบเทียบ ระหว่างกลุ่มได้ สาหรับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนั้น พบว่า อินเทอร์เน็ตมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการใช้ชีวิตประจาวันคนผู้คนยุคปัจจุบัน จากข้อมูลพฤติกรรมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจากการสารวจพบว่า ค่าเฉลี่ยของการ ใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้นจากการใช้งานโดยเฉลี่ย 32.3 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 4.6 ชั่วโมงต่อวัน ในปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็น 50.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 7.2 ชั่วโมงต่อวัน หรืออาจจะ กล่าวได้ว่า ปัจจุบันนี้ คนใช้เวลาเกือบ 1 ใน 3 ของวันเพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ยังพบว่า “กลุ่มเพศที่สาม” มีจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูง โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 62.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 18
  • 20. ผู้คนมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตกันตลอดเวลาโดยในแต่ละช่วงเวลาจะมี พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในอุปกรณ์ต่างๆที่แตกต่างกันไป โดยสมาร์ตโฟน กลายเป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้งานสูงเกือบทั้งวัน ดังคากล่าวที่ว่า สังคมยุคนี้ เป็น “สังคมก้มหน้า” โดยกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ยสูงถึง 6.6 ชั่วโมงต่อวัน และ สาหรับการใช้งาน “สมาร์ตทีวี” ในยุคทีวีดิจิทัลระยะเริ่มต้น พบว่า ร้อยละ 8.4 ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ย 3.4 ชั่วโมงต่อ วัน ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อ วัตถุประสงค์ด้านความบันเทิง และการติดต่อสื่อสาร โดยกิจกรรมหลัก 3 อันดับ แรก ได้แก่ อันดับ 1 ใช้เพื่อการพูดคุยผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ร้อยละ 78.2 อันดับ 2 ใช้เพื่ออ่านข่าว/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 57.6 และอันดับ 3 ใช้เพื่อค้นหาข้อมูล ร้อยละ 56.5 ในขณะที่ ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน คอมพิวเตอร์ ใช้อินเทอร์เน็ตในกิจกรรมที่ต้องเกี่ยวข้องกับข้อมูล โดยมีกิจกรรม หลัก 3 อันดับแรก ได้แก่ อันดับ 1 ใช้เพื่อรับ - ส่งอีเมล ร้อยละ 82.6 อันดับ 2 ใช้เพื่อค้นหาข้อมูล และอ่านข่าว/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 73.3 และ อันดับ 3 ใช้เพื่ออ่านข่าว/อ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 63.8 และยังพบอีกว่า กลุ่มเพศที่สาม เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนการใช้อินเทอร์เน็ต ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) มากกว่ากลุ่มอื่นๆ ในหลายกิจกรรม ได้แก่ การใช้งานสังคมเครือข่ายออนไลน์ (ร้อยละ85.6), การอ่านติดตาม ข่าวสารและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (ร้อยละ 64.7) การซื้อขายสินค้าและบริการ (ร้อยละ 39.1) ในขณะที่ กลุ่มเพศหญิง มีสัดส่วนการเล่นเกมออนไลน์ผ่าน อุปกรณ์เคลื่อนที่มากกว่ากลุ่มอื่นๆ (ร้อยละ 52.6) พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ตที่สุ่มเสี่ยง จากผลการสารวจ พบว่า กิจกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตยอดนิยม 3 อันดับแรกของคนในปัจจุบันที่ค่อนข้างสุ่มเสี่ยง อันดับ 1 ได้แก่ การเช็คอินผ่าน Facebook (ร้อยละ 71.5) อันดับ 2 การแชร์รูปภาพส่วนตัวในสถานะ สาธารณะ (ร้อยละ 70.7) และอันดับ 3 การตั้งค่าโชว์สถานะในสังคมออนไลน์ 19
  • 21. เป็นสาธารณะ (ร้อยละ 62.3) โดยกลุ่มเพศที่สาม มีสัดส่วนของกิจกรรมดังกล่าว สูงกว่าเพศชายและเพศหญิง กล่าวคือ การเช็คอินผ่าน Facebook (ร้อยละ 85.1), การแชร์รูปภาพส่วนตัวในสถานะสาธารณะ (ร้อยละ78.1), การโชว์ สถานะในสังคมออนไลน์เป็นสาธารณะ (ร้อยละ73.0) รวมทั้งการให้ข้อมูล ส่วนตัว โดยไม่ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์ (ร้อยละ 50.7) นอกจากนี้ กลุ่มที่มีอายุน้อยกว่า 15 – 24 ปี จะแชร์รูปภาพส่วนตัวในสถานะสาธารณะ และตั้งค่าโชว์สถานะในสังคมออนไลน์เป็นสาธารณะ มากกว่ากลุ่มอายุอื่นๆ ในขณะที่กลุ่มผู้ที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนของการแชร์ภาพ/ส่ง ต่อภาพ โดยไม่ตรวจสอบสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้น ไป มีสัดส่วนดังกล่าวสูงที่สุด (ร้อยละ 30.1) พฤติกรรมกำรทำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ผ่ำนอุปกรณ์เคลื่อนที่และ พฤติกรรมกำรใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง จากการสารวจ มีผู้ใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ คิดเป็นร้อยละ 92.0 ของ ผู้ตอบแบบสารวจทั้งหมด ในจานวนนี้เป็นผู้ที่ซื้อสินค้าออนไลน์ร้อยละ 38.8 และทาธุรกรรมการเงินออนไลน์ ร้อยละ 29.8 เมื่อพิจารณาพฤติกรรมการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการดาวน์โหลดแอปพลิเคชันค่อนข้างมาก-มากที่สุด ได้แก่ อันดับ 1 ให้ดาวน์โหลดฟรี (ร้อยละ 93.6) อันดับ 2 เป็นแอปพลิเคชันที่ได้รับ ความนิยมอยู่ในขณะนั้นและมี rating สูง (ร้อยละ 82.5) และอันดับ 3 มีเพื่อน แนะนามา (ร้อยละ 67.6) นอกจากนี้ ยังพบว่า ร้อยละ 42.0 ของผู้ซื้อสินค้าออนไลน์ จะซื้อสินค้า ที่มีมูลค่าสูงสุดไม่เกิน 1,000 บาทต่อครั้งเท่านั้น และมูลค่าสูงสุดของการชาระ เงินที่มากกว่า 3,000 บาทต่อครั้ง จะใช้ช่องทางผ่านบัตรเครดิตมากกว่าการโอน เงินผ่านธนาคาร ในทางกลับกัน มูลค่าสูงสุดของการชาระเงินที่ไม่เกิน 3,000 บาทต่อครั้ง คนจะใช้ช่องทางการโอนเงินผ่านธนาคารมากกว่าชาระเงินผ่านบัตร เครดิต 20 20
  • 22. ส่วนอันดับ 1 ของมูลค่าสูงสุดในการทาธุรกรรมทางการเงินผ่าน อุปกรณ์เคลื่อนที่ อยู่ระหว่าง 1,000-4,000 บาทต่อครั้ง (ร้อยละ 22.2) อันดับ 2 มีมูลค่าสูงสุดน้อยกว่า 1,000 บาทต่อครั้ง (ร้อยละ 22.0) และอันดับ 3 มี มูลค่าสูงสุดอยู่ในช่วง 4,001–7,000 บาทต่อครั้ง และสัดส่วนของผู้ที่ใช้อุปกรณ์ เคลื่อนที่ทาธุรกรรมฯ ผ่านทางหน้าเว็บไซต์ของธนาคาร (ร้อยละ 54.3) สูงกว่า การทาธุรกรรมฯ ผ่านทางแอปพลิเคชันที่ธนาคารพัฒนาขึ้นมา (ร้อยละ 45.7) โดยการทาธุรกรรมฯ ที่มีมูลค่าสูงสุดต่อครั้งมากกว่า 50,000 บาท มีคนนิยมทา ผ่านเว็บไซต์สูงถึงร้อยละ 62.5 และทาผ่านแอปพลิเคชันมีเพียงร้อยละ 37.5 เท่านั้น ผลการสารวจพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่สุ่มเสี่ยง พบว่า ผู้ที่ ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ที่มีอายุไม่เกิน 44 ปี มีพฤติกรรมละเลยการติดตั้งโปรแกรม Anti-Virus มากกว่าพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงอื่น ส่วนผู้ที่มีอายุ 45–49 ปี มีพฤติกรรม ละเลยการติดตั้งโปรแกรม Anti-Virus และละเลยการล้างข้อมูลก่อนยุติการใช้ เครื่องในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ในขณะที่ผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรม ละเลยการล้างข้อมูลก่อนยุติการใช้เครื่องมากกว่าพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงอื่น 21
  • 23. 22 22
  • 24. บทนำ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. มีภารกิจหลักในการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการทาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ ร่วมผลักดันโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่เอื้อต่อ การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ สนับสนุนธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนกาหนดมาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ที่มีความมั่นคงปลอดภัยและน่าเชื่อถือ ด้วยภารกิจดังกล่าว จาเป็นที่จะต้องมี ข้อมูลส่วนหนึ่งเพื่อใช้สะท้อนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตจากภาคประชาชนทุก กลุ่ม เพื่อใช้ข้อมูลในการกาหนดแนวทางการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการ ทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศที่สามารถตอบโจทย์และตอบสนอง ความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง สพธอ. จึงได้จัดให้มีการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศ ไทย ปี 2557 (Thailand Internet User Profile 2014) ขึ้นมา ซึ่งการสารวจ ครั้งนี้เป็นปีที่ 2 โดยในการสารวจจะเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมของ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต และมีการผนวกคาถามพิเศษประจาปี โดยในปีนี้เป็นคาถาม เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Devices) หมายรวมถึง โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Phone) สมาร์ตโฟน (Smartphone) และแท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (Tablet Computer) โดยจะเน้นประเด็นที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการ ใช้งานที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดภัยทางออนไลน์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลการสารวจจะ เป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงานภาครัฐที่จะนาไปใช้ในการวางแผน กาหนด นโยบายให้สอดคล้องกับผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่างๆ รวมไปถึงภาคเอกชนที่จะนา ผลการสารวจนี้ไปใช้ประกอบการวางแผนธุรกิจ การกาหนดกลยุทธ์การตลาด เพื่อให้ตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมาย อันจะส่งผลให้การทาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์โดยภาพรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น 23
  • 25. 24 วัตถุประสงค์ของกำรสำรวจ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทย อย่างต่อเนื่องเป็นประจาทุกปี ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลที่อยู่ในความสนใจในปีที่มีการสารวจ ซึ่งผู้ที่สนใจ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างทันสถานการณ์ 3. เพื่อให้มีข้อมูลที่สาคัญและจาเป็นต่อการพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ ไว้ให้บริการแก่ผู้ใช้ข้อมูลภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจ โดยทั่วไปอย่างต่อเนื่อง 4. เพื่อให้ สพธอ. มีข้อมูลไว้ใช้สาหรับกาหนดยุทธศาสตร์ในการส่งเสริม และสนับสนุนการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการติดตามและ ประเมินผล วิธีกำรสำรวจ การสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557 นี้ เป็น การสารวจทางอินเทอร์เน็ต โดยแบบสารวจดังกล่าวจะอยู่ในหน้าเว็บไซต์ต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ให้ความอนุเคราะห์ในการติด แบนเนอร์ รวมทั้งการกระจายแบบสารวจผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook เพื่อให้ไปถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง การสารวจนี้ ได้ดาเนินการตั้งแต่เดือนเมษายนถึงสิ้นเดือนพฤษภาคม 2557 โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้ามาตอบแบบสารวจได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จานวนทั้งสิ้น 16,596 คน จากนั้นจึงนาผลการตอบแบบสารวจที่ได้ทั้งหมดเข้าสู่ กระบวนการประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ 24
  • 26. 25
  • 27. 26 26
  • 28. ส่วนที่ 1 ภำพรวมของผู้ตอบแบบสำรวจ1 ในการสารวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2557 นี้ มี ผู้ให้ความร่วมมือตอบแบบสารวจ ผ่านทางเว็บไซต์และช่องทางโซเชียลมีเดียที่ ตอบแบบสารวจครบถ้วนสมบูรณ์ จานวนทั้งสิ้น 16,596 คน สามารถแจกแจง ลักษณะทั่วไปของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ได้เป็นดังนี้ เพศ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ทั้งหมด ประกอบด้วยเพศชาย ร้อยละ 43.1 เพศหญิง ร้อยละ 55.6 และเพศที่สาม ร้อยละ 1.3 ดังแสดงในภาพ 1 ภำพ 1 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมเพศ 1.3% สถำนภำพสมรส ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ โดยส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสเป็นโสดกว่า ร้อยละ 60 ในขณะที่ผู้ที่ตอบว่าสมรสแล้วมีร้อยละ 30.7 ส่วนอีกร้อยละ 3.2 และ 3.0 เป็นกลุ่มผู้ที่ตอบว่าใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันเฉยๆ และเป็นกลุ่มที่หย่า/ แยกกันอยู่/หม้าย ตามลาดับ ดังแสดงในภาพ 2 1 เนื่องจากเป็นการสารวจทางอินเทอร์เน็ต ผู้ตอบแบบสารวจในที่นี้ จึงหมายถึง ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตที่ได้เข้ามาตอบแบบสารวจ ซึ่งจากนี้ไปในรายงานผลการสารวจฉบับนี้ จะใช้คาว่า ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตฯ 27
  • 29. 28 ภำพ 2 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมสถำนภำพสมรส อำยุ หย่ำ/แยกกัน อยู่/หม้ำย, 3.0% โสด, 63.1% อยู่ด้วยกัน เฉยๆ, 3.2% สมรส, 30.7% ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ กว่าร้อยละ 50 อยู่ในวัยทางานตอนต้น มีอายุตั้งแต่ 25 – 39 ปี โดยกุล่มอายุ 30 - 34 ปี ตอบแบบสารวจสูงสุดเป็นอันดับ 1 คิดเป็น ร้อยละ 18.2 รองลงมาเป็นกุล่มอายุ 25 - 29 ปี คิดเป็นร้อยละ17.7 ส่วนผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตฯ กุล่มอายุ 20 - 24 ปี และ 35 - 39 ปี มีสัดส่วนการเข้ามาตอบ แบบสารวจที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 15.2 ในขณะที่กลุ่มเด็กที่มีอายุน้อยกว่า 15 ปี และกลุ่มผู้สุงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เข้ามาตอบแบบสารวจน้อยที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 0.9 และ 0.6 ตามลาดับ ดังแสดงในภาพ 3 28
  • 30. ภำพ 3 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมกลุ่มอำยุ 0.6 0.9 5.3 2.9 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 อำยุ 60 ปีขึ้นไป 55 - 59 ปี 50 – 54 ปี 45 - 49 ปี 40 – 44 ปี 35 - 39 ปี 30 – 34 ปี 25 - 29 ปี 20 – 24 ปี 15 – 19 ปี น้อยกว่ำ 15 ปี ประสบกำรณ์กำรใช้อินเทอร์เน็ต 7.3 7.2 15.2 15.2 18.2 17.7 9.4 ร้อยละ เกือบทั้งหมดของผู้ที่มาตอบแบบสารวจในปีนี้ มีประสบการณ์การใช้ อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โดยที่กว่าร้อยละ 90 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ในปีนี้ มีประสบการณ์ในการใช้อินเทอร์เน็ตเกินกว่า 5 ปีขี้นไป อีกร้อยละ 8.2 มี ประสบการณ์ในการใช้อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 1 – 4 ปี และมีเพียงแค่ร้อยละ 0.8 เท่านั้นที่ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 1 ปี ดังแสดงในภาพ 4 29
  • 31. 30 ภำพ 4 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมประสบกำรณ์กำรใช้ อินเทอร์เน็ต 1 - 4 ปี, 8.1% น้อยกว่ำ 1 ปี, 0.8% 5 ปีขึ้นไป, 91.0% เมื่อพิจารณาผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ที่มีอายุระหว่าง 15 – 24 ปี พบว่า มี กลุ่ม Digital Natives2 หรือผู้ที่มีประสบการณ์การใช้อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป อยู่ร้อยละ 86.9 ผู้ที่สนใจจะศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของกลุ่ม Digital Natives สามารถนาข้อมูลจากการสารวจนี้ไปใช้วิเคราะห์ใน รายละเอียดต่อไปได้ ที่พักอำศัย เมื่อพิจารณาที่พักอาศัยของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ พบว่า ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตฯ ร้อยละ 44.4 เป็นผู้ที่พักอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ และอีกร้อยละ 55.6 เป็นผู้ที่พักอาศัยอยู่ในต่างจังหวัด โดยในจานวนนี้เป็นผู้ที่อยู่ในเขตเทศบาล ร้อยละ 63.1 และนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 36.9 ดังแสดงในภาพ 5 2 Digital Natives คือ กลุ่มคนที่มีอายุระหว่าง 15 – 24 ปี และมีประสบการณ์การใช้ อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป ตามคาจากัดความของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU (International Telecommunication Union), Measuring the Information Society 2013, International Telecommunication Union (ITU), http://www.itu.int/en/ITU-D/Statistics/ Pages/publications/mis2013/infographic-3-dn.aspx, สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2557. 30
  • 32. ภำพ 5 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมที่พักอำศัย กรุงเทพ, 44.4% ระดับกำรศึกษำ ในเขตเทศบำล , 63.1% นอกเขต เทศบำล, 36.9% ต่ำงจังหวัด, 55.6% กว่าร้อยละ 60.0 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ มีการศึกษาระดับปริญญาตรี รองลงมาเป็นผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาโท และระดับปวช./ปวส./ปวท./ อนุปริญญา โดยมีสัดส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ร้อยละ 24.7 และ 5.6 ตามลาดับ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ร้อยละ 87.5 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ครั้งนี้ เป็นผู้ที่มี การศึกษาระดับปริญญาตรีและสูงกว่า ดังแสดงในภาพ 6 31
  • 33. 32 ภำพ 6 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมระดับกำรศึกษำ 0 10 20 30 40 50 60 70 สูงกว่ำปริญญำโท ปริญญำโท ปริญญำตรี ปวช./ปวส./ปวท./ อนุปริญญำ มัธยมปลำย ต่ำกว่ำมัธยมปลำย สถำนภำพกำรทำงำน 2.0 5.6 5.0 1.9 60.8 24.7 ร้อยละ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ กว่าครึ่งหรือร้อยละ 52.7 มีสถานภาพการทางาน เป็นข้าราชการ พนักงาน/ลูกจ้างของรัฐ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/องค์กรอิสระ รองลงมา ร้อยละ 20.1 และ 17.0 มีสถานภาพการทางานเป็นพนักงาน/ลูกจ้าง เอกชน และกลุ่มนักเรียน นักศึกษา ตามลาดับ ดังแสดงในภาพ 7 32
  • 34. ภำพ 7 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมสถำนภำพกำรทำงำน รำยได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน เมื่อพิจารณารายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ พบว่า ร้อยละ 35.5 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ อยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 10,001 - 30,000 บาทต่อเดือน รองลงมา ร้อยละ 22.2 และ 12.9 ของผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตฯ อยู่ในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ย 30,001 – 50,000 บาทต่อเดือน และ 50,001 - 70,000 บาทต่อเดือน ตามลาดับ ดังแสดงไว้ในภาพ 8 33
  • 35. ภำพ 8 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมระดับรำยได้เฉลี่ยต่อเดือน 34 ของครัวเรือน บำท 34
  • 36. 35
  • 37. 36 36
  • 38. ส่วนที่ 2 พฤติกรรมกำรใช้อินเทอร์เน็ต ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต ปี 2557 ได้นาผลการ สารวจจากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ 16,596 คน มาประมวลผลและวิเคราะห์ผลเพื่อ แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของคนไทยในหลากหลายประเด็น ได้แก่ ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต ช่วงเวลาการใช้อินเทอร์เน็ต สถานที่ที่ใช้ อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต กิจกรรมที่กระทาผ่านอินเทอร์เน็ต และปัญหาที่เกิดขึ้นกับการใช้อินเทอร์เน็ต โดยมีการเปรียบเทียบกับข้อมูลการ สารวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในปี 2556 เพื่อวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้น3 ระยะเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการใช้ชีวิตประจาวันของคนยุค ปัจจุบัน จากผลการสารวจข้อมูลพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในปีนี้ พบว่า ค่าเฉลี่ยของการใช้อินเทอร์เน็ตต่อสัปดาห์เพิ่มสูงขึ้นจากการใช้งานโดยเฉลี่ย 32.3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 4.6 ชั่วโมงต่อวัน ในปี 2556 เพิ่มขึ้นเป็น 50.4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือใช้เวลาโดยประมาณ 7.2 ชั่วโมงต่อวัน ในปี 2557 ข้อมูลดังกล่าวบ่งชี้ให้เห็นว่าเพียงระยะเวลาเพียงหนึ่งปี ผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตในบ้านเราใช้เวลากับการท่องอินเทอร์เน็ตเพิ่มสูงขึ้นถึง 56 เปอร์เซ็นต์ หรืออาจจะกล่าวได้ว่า ปัจจุบันนี้ คนใช้เวลาเกือบ 1 ใน 3 ของวัน เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต 3 ผู้ตอบแบบสารวจของปี 2556 มีลักษณะทั่วไปใกล้เคียงกับผู้ตอบแบบสารวจในปี 2557 โดยข้อมูลพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาหนึ่งๆ ขึ้นอยู่กับ ความเหมาะสมของพฤติกรรมหรือกิจกรรมนั้นๆ นอกจากนี้การวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตยังมีการเปรียบเทียบผลการสารวจกับลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ (ได้แก่ เพศ อายุ ที่พักอาศัย ระดับการศึกษา สถานภาพการทางาน) หากต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมดู ข้อมูลได้จากภาคผนวกท้ายเล่ม 37
  • 39. 38 ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อย่างชัดเจน ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ มี ระยะเวลาการใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่ม สูงขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2556 มีสาเหตุมา จากปัจจัยต่างๆที่เอื้อต่อการเข้าถึง อินเทอร์เน็ตหลายประการ ได้แก่ ประ กา รแรก รา คา ของ อุป กรณ์ เคลื่อนที่ต่างๆ ที่มีราคาถูกลง ไม่ว่าจะ เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่, สมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์4 ประการที่สอง ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์แอพพลิเคชันบน สมาร์ตโฟนต่างก็แข่งขันกันพัฒนาแอพพลิเคชันต่างๆ อีกมากมายเพื่อ สนองตอบความต้องการใช้งานของผู้บริโภค และประการที่สาม การเติบโตของ บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย รวมไปถึงการขยายเครือข่าย 3G ทาให้ผู้ใช้งาน สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลา รวมทั้งนโยบาย WiFi สาธารณะ ของภาครัฐที่มีการขยายจุดให้บริการอย่างทั่วถึง ปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นที่ส่งผลให้ผู้ใช้งานอุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ โดยเฉพาะสมาร์ตโฟนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้สะดวกทุกที่ทุกเวลา จนทา ให้อินเทอร์เน็ตกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวันกันไปแล้ว เมื่อเปรียบเทียบผลการสารวจระหว่างปี 2556 - 2557 พบว่า ในปี 2557 ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ อันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 20.2 ใช้อินเทอร์เน็ต 42 – 76.9 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ในขณะที่ ปี 2556 อันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 35.7 นิยม ใช้อินเทอร์เน็ตน้อยกว่า 10 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เท่านั้น แนวโน้มดังกล่าวจึงเห็นได้ ว่า ผู้คนมีการใช้อินเทอร์เน็ตต่อวันมากขึ้น ดังแสดงในภาพ 9 4 การแข่งขันด้านราคาขายของสมาร์ตโฟนที่ถูกลงมากทาให้ปี 2557 เป็นปีแรกที่ ยอดขายของสมาร์ตโฟนสูงกว่ายอดขายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (อ้างอิงจาก “ไอดีซี ชี้สมาร์ทโฟนแซง ฟีเจอร์โฟนแล้ว”, Positioning Magazine Online ประจาวันที่ 26 มิถุนายน 2557, http://www.positioningmag.com/, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2557) 38
  • 40. ภำพ 9 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จำแนกตำมจำนวนชั่วโมงกำรใช้ อินเทอร์เน็ตต่อสัปดำห์ ปี 2556 – 2557 35.7 25.8 16.7 20.2 10.7 11.5 2556 2557 16.1 13.9 7.3 9.0 13.7 19.3 < 10 ชม. 10 - 20.9 ชม. 21 - 41.9 ชม. 42 - 76.9 ชม.7 7 - 104.9 ชม.1 05 ชม.ขึ้นไป ในการเปรียบเทียบจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตในแต่ละกลุ่ม ร้อยละ 40.0 35.0 30.0 25.0 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0 ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ดังแสดงในภาพ 10 พบว่า เพศชาย มีสัดส่วนการใช้ อินเทอร์เน็ตมากกว่าเพศหญิง โดยเพศชายใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 51.8 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ ในขณะที่เพศหญิงใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 49.0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และใน ปีนี้ได้มีการสอบถามไปยังกลุ่มเพศที่สาม ซึ่งพบว่ากลุ่มนี้มีจานวนชั่วโมงการใช้ งานอินเทอร์เน็ตสูงที่สุดเมื่อเทียบกับเพศชายและหญิง โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 62.1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบในแต่ละกลุ่มของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ ยังพบ ประเด็นน่าสนใจอีกหลายประเด็น ได้แก่ ผู้ที่พักอาศัยในกรุงเทพฯซึ่งมีความ พร้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ดีกว่าจะใช้ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึง อินเทอร์เน็ตนานกว่า โดยผู้ที่พักอาศัยในกรุงเทพฯใช้งานอินเทอร์เน็ตเฉลี่ย 52.8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์, กลุ่มคนอายุ 25 - 29 ปี ซึ่งเป็นวัยเริ่มต้นของการ ทางานเป็นกลุ่มที่มีการใช้งานอินเทอร์เน็ตสูงสุด คือ ใช้เฉลี่ย 58.9 ชั่วโมงต่อ 39
  • 41. สัปดาห์, กลุ่มคนที่มีระดับการศึกษาสูงจะมีจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ต โดยเฉลี่ยที่สูงขึ้นด้วย และกลุ่มคนที่มีระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนที่ สูงขึ้นก็จะมีจานวนชั่วโมงการใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ยที่สูงขึ้นด้วย เช่นเดียวกัน 40 40
  • 42. ภำพ 10 จำนวนชั่วโมงกำรใช้อินเทอร์เน็ตเฉลี่ยต่อสัปดำห์ ของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกลุ่มต่ำงๆ 51.1 53.5 52.8 50.8 52.4 49.4 48.7 46.3 44.7 47.0 54.0 55.5 52.5 51.5 50.7 47.2 46.6 49.6 50.0 54.3 49.0 58.9 56.7 51.8 62.1 31.9 35.5 36.5 52.6 43.1 36.7 29.6 52.8 38.5 48.8 56.4 42.5 50.8 60.9 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 > 150,000 บำท 130,001 – 150,000 บำท 110,001 – 130,000 บำท 90,001 – 110,000 บำท 70,001 – 90,000 บำท 50,001 – 70,000 บำท 30,001 – 50,000 บำท 10,001 – 30,000 บำท ≤ 10,000 บำท อื่นๆ ว่ำงงำน แม่บ้ำน/พ่อบ้ำน นักเรียน/นักศกึษำ พนักงำน/ลูกจ้ำงเอกชน เจ้ำของกิจกำร/ประกอบธุรกิจส่วนตัว ข้ำรำชกำร พนักงำนรัฐ สูงกว่ำปริญญำโท ปริญญำโท ปริญญำตรี ปวช./ปวส./ปวท./อนุปริญญำ มัธยมปลำย ต่ำกว่ำมัธยมปลำย จังหวัดอื่นนอกเขตเทศบำล จังหวัดอื่นในเขตเทศบำล กทม. 60 ปีขึ้นไป 55 - 59 ปี 50 - 54 ปี 45 - 49 ปี 40 – 44 ปี 35 - 39 ปี 30 – 34 ปี 25 - 29 ปี 20 – 24 ปี 15 - 19 ปี น้อยกว่ำ 15 ปี เพศที่สำม หญิง ชำย ค่ำเฉลี่ยรวม เพศ อำยุ ที่พักอำศัย กำรศึกษำ สถำนภำพกำรทำงำน รำยได้ครัวเรือน ชั่วโมง 50.4 41
  • 43. 42 อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต หากมองย้อนกลับไปสิบกว่าปีก่อน การเชื่อมต่อเข้าถึงอินเทอร์เน็ตถูก จากัดอยู่กับสถานที่ อุปกรณ์ที่ใช้เข้าถึงอินเทอร์เน็ตคือ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และ คอมพิวเตอร์พกพาเป็นหลัก แต่ยุคการสื่อสารไร้สาย (WiFi) และการพัฒนา อุปกรณ์สื่อสารที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ ทาให้พฤติกรรมการเลือกใช้อุปกรณ์ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตของผู้คนเปลี่ยนไป จากผลการสารวจการเลือกใช้อุปกรณ์เข้าถึงอินเทอร์เน็ต และจานวน ชั่วโมงต่อวันของการใช้อินเทอร์เน็ตในอุปกรณ์ต่างๆ จากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ5 พบว่าพฤติกรรมของผู้คนเปลี่ยนไป คนหนึ่งคนอาจมีการใช้อุปกรณ์มากกว่าหนึ่ง เครื่องในการเข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น เราอาจจะทางานด้วยคอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะพร้อมกับการเช็คเฟสบุคบนสมาร์ตโฟน หรือ เราอาจจะดูรายการ โทรทัศน์ผ่านสมาร์ตทีวีพร้อมกับการเล่นเกมบนแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เป็นต้น “สมาร์ตโฟน” เป็นอุปกรณ์ยอดฮิตที่ถูกใช้ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตใน ปัจจุบัน และมีการใช้งานสูงสุดในแต่ละวัน จากผลการสารวจพบว่า ร้อยละ 77.1 ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ยสูงถึง 6.6 ชั่วโมงต่อวัน อุปกรณ์ยอดฮิตอันดับ 2 ได้แก่ “คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ” พบว่า ร้อยละ 69.4 ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการใช้งานเฉลี่ยสูง ถึง 6.2 ชั่วโมงต่อวัน และสาหรับการใช้งาน “สมาร์ตทีวี” ในยุคทีวีดิจิทัลระยะ เริ่มต้น พบว่า ร้อยละ 8.4 ของผู้ตอบมีการใช้อุปกรณ์นี้ และกลุ่มผู้ใช้งานมีการ ใช้งานเฉลี่ย 3.4 ชั่วโมงต่อวัน ดังแสดงในภาพ 11 (ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จากตาราง 2 ในภาคผนวกท้ายเล่ม) 5 จากผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ จานวน 16,596 คน มีผู้ที่ตอบว่าใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต เช่น คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์พกพา สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ตทีวี จานวนทั้งสิ้น 15,610 คน 42
  • 44. ภำพ 11 ร้อยละของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ และจำนวนชั่วโมงกำรใช้งำนเฉลี่ย ต่อวัน เปรียบเทียบตำมอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเข้ำถึงอินเทอร์เน็ต ช่วงเวลำที่ใช้อินเทอร์เน็ตสำหรับอุปกรณ์ประเภทต่ำงๆ ผลพวงจากการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ และอุปกรณ์การเข้าถึง อินเทอร์เน็ตที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นตามวัตถุประสงค์การใช้งานทาให้พฤติกรรม การใช้อินเทอร์เน็ตเปลี่ยนไป จากการสารวจพบว่า ผู้คนมีการใช้งาน อินเทอร์เน็ตกันตลอดเวลาโดยในแต่ละช่วงเวลาจะมีพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตในอุปกรณ์ต่างๆที่แตกต่างกันไป โดย สมาร์ตโฟนกลายเป็นอุปกรณ์ ที่มีการใช้งานสูงเกือบทั้งวัน ดังคากล่าวที่ว่า สังคมยุคนี้ เป็น “สังคมก้มหน้า” จากภาพ 12 พบว่า ช่วงเวลาทางาน/เรียน (08.01 - 16.00 น.) คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะเป็นอุปกรณ์ที่ถูกใช้งานสูงสุดโดยผู้ใช้อินเทอร์เน็ตฯ เกินกว่า ครึ่งระบุว่ามีการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างไร ก็ตาม ยัง พบอีกว่า สมาร์ตโฟนก็เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้งานสูงเกินกว่าร้อยละ 40 ในช่วงเวลานี้ด้วย ข้อมูลดังกล่าวเป็นเครื่องชี้ให้สังคมเห็นเสมือนเหรียญสองด้าน 43