SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 1   1




           บทที่ 1




¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇѲ¹¸ÃÃÁ¾Ø·¸ÈÒʹÒ
    à¶ÃÇÒ·ã¹»ÃÐà·Èä·Â
ความสําคัญของการศึกษาพุทธศาสนาเชิงปฏิบัติ
2

                  หนังสือเลมนี้ใชแนวทางการศึกษาชาติพันธุวรรณนา เพื่ออธิบายถึงพลวัตของวิถี
    ปฏิบัติทางพุทธศาสนาในกลุมคนชาติพันธุไทย-ลาวที่มีถิ่นฐานอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    ของประเทศไทย (หรอททราบกนโดยทวไปวา “คนไทยอสาน”) โดยใหความสาคญกบขอมลเชง
                             ื ี่       ั         ั่           ี                      ํ ั ั  ู ิ
    ประวัติศาสตรของการกอตั้งชุมชนและกระบวนการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจสังคมภายในชุมชน
    รวมถึงสภาพแวดลอมวิถีชีวิตของชาวบานในชุมชน การศึกษาวิเคราะหไดใชขอมูลจากการ
    ศึกษาทางมานุษยวิทยาอยางเขมขนในหลายหมูบานของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (หรือภาค
    อีสาน) ตั้งแต พ.ศ. 2526 จนถึง พ.ศ. 2542 รวมถึงขอมูลบางสวนจากการศึกษาภาคสนาม
    เปนระยะ ๆ ในสาธารณรฐประชาธปไตยประชาชนลาว ตงแต พ.ศ. 2532 ซงเปนขอมลทนามา
                                 ั         ิ                      ั้               ึ่   ู ี่ ํ
    ใชวเคราะหเปรียบเทียบวิถชวตของกลุมคนชาติพนธุไทย-ลาว รวมถึงวิถปฏิบตทางพุทธศาสนา
           ิ                        ีีิ                    ั                   ี ั ิ
    และความเชื่อตาง ๆ ในภูมิภาคนี้
                  กลุมคนชาติพันธุไทย-ลาวในภาคอีสาน เปนกลุมคนไทยพุทธที่ไดสรางอาณาจักร
    ทางศาสนาอยางเปนพลวัต ศาสนาที่พวกเขายึดถือปฏิบัติไดผานกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่
    เกยวของกบการบกเบกผนปาเพอการเพาะปลกขาวและการตงชมชนหมบาน รวมถงเกยวพนกบ
       ี่  ั             ุ ิ ื  ื่                   ู             ั้ ุ     ู           ึ ี่ ั ั
    วิถีการดําเนินชีวิตของชาวบานอยางใกลชิด ทามกลางความตื่นตัวของกระแสการเปลี่ยนแปลง
    แบบโลกาภิวัตนที่รุกลํ้าเขามาในวิถีชีวิตแบบชุมชนหมูบาน ความเชื่อทางศาสนาในวิถีชีวิต
    ประจําวันของชาวบานหลายประการไดถูกกลืนและสูญหายไปจากที่เคยเปนวิถีปฏิบัติของ
    ชาวบานมาแตอดีต ทั้งนี้วิถีปฏิบัติทางศาสนาของชาวบานมีรากฐานสําคัญมาจากความรูและ
    ประสบการณที่ไดรับจากวิถีการดําเนินชีวิตทางโลกแบบทองถิ่น ยิ่งไปกวานั้นพุทธศาสนาใน
    ฐานะที่เปนศาสนาหนึ่งในโลกที่มีขอบขายกวางกวาความเปนชาติพันธุและเชื้อชาติ ไมไดเพียง
    ประกอบขึ้นจากความรูหรือการตีความจากตําราคําสอนทางศาสนา แตไดประกอบขึ้นจากวิถี
    ปฏิบัติที่เปนอยูในแตละพื้นที่และแตละชวงเวลา ซึ่งสอดคลองกับความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณ
    ของสรรพสิ่งที่มีชีวิตอยูและตายไปในผืนปาและสังคมหมูบาน ในบริบทที่กลาวถึงนี้ผืนปาที่อยู
    รายลอมชุมชนหมูบานถูกมองเสมือนตัวแทนของปรโลก (หรือโลกแหงวิญญาณ) ที่มีอํานาจ
    และมอทธพลเหนอวถชวตของชาวบานในชมชน ซงรวมถงอทธพลจากสภาพแวดลอมทางสงคม
             ีิ ิ        ื ิีีิ                     ุ       ึ่   ึ ิ ิ                            ั
    การเมือง และเศรษฐกิจของทั้งระบบเศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจโลก
                  หนงสอนพยายามจะศกษาตรวจสอบขอเทจจรงในวถปฏบตทางศาสนา โดยใหความ
                      ั ื ี้              ึ                 ็ ิ ิี ิ ั ิ                         
    สาคญกบเงอนไขทางสงคมของวถปฏบตและวถชวตของคนในชมชน มากกวาประเดนแนวคดที่
      ํ ั ั ื่                ั           ิี ิ ั ิ ิีีิ                    ุ                  ็      ิ
นําเสนอในตําราคําสอนทางศาสนา ดังเชนทีมการศึกษาเกียวกับศาสนาฮินดูในภูมภาคเอเชียใต
                                                        ่ ี                 ่                         ิ
แนวทางการศกษานตองการนาเสนอใหเหนความแตกตางทชดเจนระหวางตาราคาสอนศาสนา
                   ึ         ี้          ํ      ็                        ี่ ั            ํ ํ                       3
กับวิถีปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ดวยการใชแนวทางการศึกษาทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา
ที่ศึกษาเกี่ยวกับพุทธศาสนาเถรวาทในภูมิภาคเอเชียอาคเนยในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ซึ่งการศึกษาเหลานี้สวนใหญมีเปาหมายที่จะบูรณาการประเด็นความเชื่อทางพุทธศาสนาที่มี
วัดเปนศูนยกลางผสมผสานกับความเชื่อทองถิ่น ที่มักจะเกี่ยวของกับความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ทังหลายในหมูบานชนบท อยางไรก็ตาม เราตองรับรูและเขาใจในเบืองตนวาวาทกรรมสวนใหญ
       ้                                                                         ้
ในการศึกษาเหลานี้ ไมวาจะเปนการศึกษาทางมานุษยวิทยาหรือสังคมวิทยาชนบทลวนอยูบน
สมมุติฐานเบื้องตนของ “ศาสนา” หรือ “พุทธศาสนา” ในลักษณะที่เปนแนวคิดการวิเคราะห
ทั่วไปจากความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาของผูเขียนเอง พวกเขามักจะเริ่มจากการจําแนกศาสนา
วาเปนพทธศาสนาหรอไมใชพทธศาสนา เราสามารถกลาวไดวาการศกษาเชนนไมไดตความผด
   ุ                            ื   ุ                                            ึ         ี้   ี        ิ
จากความเปนจริง ซึ่งคนทองถิ่นสวนหนึ่งก็จําแนกในลักษณะเชนเดียวกันนี้
               ในการศึกษานี้ผูเขียนยึดถือแนวทางหลักที่วา วาทกรรมและการจําแนกทางศาสนา
ตองขนอยกบคนทองถน ซงเปนการจาแนกตามวถชวตและประสบการณของคนทองถนภายใต
       ึ้ ู ั            ิ่ ึ่            ํ                 ิีีิ                                    ิ่
บรบทของความเปนทองถน เนองจากคนทองถนเปนทงผสรางและผปฏบตตามแนวทางศาสนา
           ิ                 ิ่ ื่                 ิ่  ั้ ู                     ู ิ ั ิ
ดงกลาว ทประกอบขนจากวถชวตทางโลกทมความหลากหลาย แนวทางนเี้ ปนประโยชนอยางมาก
   ั  ี่                      ึ้     ิีีิ           ี่ ี                                                    
ตอการจาแนกแยกแยะขอเทจจรงของศาสนาทปฏบตกนอยในกลมคนทองถน โดยไมจาเปนตอง
            ํ                       ็ ิ                   ี่ ิ ั ิ ั ู ุ               ิ่            ํ  
ยึดถือแนวทางการจําแนกในลักษณะที่วา “ศาสนา” คือธรรมเนียมปฏิบัติตามตําราหรือคําสอน
ทางศาสนา ในขณะที่ “ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์” เปนการปฏิบัติที่ไมไดเปนไปตามตําราคําสอน
อันเปนแนวคิดที่อนุมานขอเท็จจริงภายใตวาทกรรมของมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาที่มีตอ
วิถีปฏิบัติหรือปรากฏการณที่ผานการสังเกตในระเบียบวิธีเฉพาะสาขาวิชา ซึ่งมักจะละเลย
บรบทความเปนทองถน ทจรงแลวแนวคดการวเคราะหทางมานษยวทยาและสงคมวทยาเหลานี้
         ิ             ิ่ ี่ ิ                ิ            ิ                 ุ ิ               ั ิ           
ไดชวยใหเราเขาใจในระดับหนึ่งถึงวิถีปฏิบัติในสังคมที่แตกตางจากสังคมของเรา แตอยางไร
ก็ตาม คําอธิบายและความเขาใจนันอาจจะไมสอดคลองกับวิถปฏิบตทเี่ ปนจริงในทองถิน ขอบเขต
                                            ้                                 ี ั ิ                       ่
ระหวางการปฏิบัติทางศาสนาตามตําราและไมใชตามตําราที่ใชในกลุมนักวิชาการตะวันตกนั้น
ยงมนยทไมชดเจนในการอธบายวถปฏบตทางศาสนาซงไมยดตดกบแนวคดเชงสถาบน แตเนน
  ั ี ั ี่  ั                         ิ ิี ิ ั ิ                       ึ่  ึ ิ ั            ิ ิ           ั  
ถึงความสัมพันธสวนบุคคลระหวางผูนําศาสนากับสาวก
               ที่จริงแลวบริบทของวิถีปฏิบัติทางศาสนาไดพัฒนาขึ้นภายในวิถีชีวิตของประชาชน
ไมใชสิ่งที่จะสามารถคนหาไดจากตําราทางศาสนา รวมทั้งขอบัญญัติหรือระเบียบขอบังคับทาง
ศาสนาที่ประกาศใชโดยรัฐก็มีสวนเกี่ยวของเพียงสวนนอยตอสภาวะที่เปนจริงในวิถีปฏิบัติทาง
ศาสนา ถาหากเราคิดวาขอกําหนดเชิงสถาบันสามารถนํามาใชไดทั่วไป โดยปราศจากความ
4   พยายามเขาใจความเปนทองถิ่นถึงการพัฒนาแบบแผนตาง ๆ ในวิถีปฏิบัติของชาวบานแลว
    จะไมสามารถเขาใจถึงลักษณะของวิถีปฏิบัติทางศาสนาในพื้นที่นั้นได แนวคิดเชิงวิเคราะห
    โดยทั่วไปที่ใชฝกฝนผูเชี่ยวชาญทั้งหลายในลักษณะที่เปนสากล และสามารถประยุกตไดกับ
    ทุกวัฒนธรรม เปนสิงทีไมสาคัญอะไรมากไปกวาเปนเพียงการคิดคนหลักเกณฑโดยนักวิชาการ
                             ่ ่ ํ
    สาขาวิชาหนึ่งในชวงเวลาหนึ่งของอดีต แนวคิดในประเด็น “ศาสนา” และ “สิ่งศักดิ์สิทธิ์” หรือ
    ในประเด็น “วัดทางพุทธศาสนา” โดยความเปนจริงแลวควรเกิดขึ้นภายใตบริบทที่ผานคําบอก
    เลาของชาวบานที่ใชชีวิตอยูในวัฒนธรรมหรือทองถิ่นหนึ่ง ๆ
                  ขอเท็จจริงนี้ควรนํามาใชเปนจุดเริ่มตนของการศึกษาวิถีปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่
    ไมใชวัฒนธรรมของผูเขียนเอง ที่จะทําใหผูเขียนสามารถปรับเปลี่ยนสิ่งที่เขาไดพบเห็น เพื่อให
    สอดคลองกับกรอบการวิเคราะหหรือระบบการใหความหมายไดงายขึน ดังนัน จึงเปนความจําเปน
                                                                   ้        ้
    ที่จะพิจารณาถึงบริบทที่เชื่อมตอกับบรรทัดฐานทางวัฒนธรรมของทองถิ่น แนวทางนี้ดูเหมือน
    เปนการศกษาสงทเปนวถปฏบตทแตกตางจากทฤษฎี ดวยการศกษามมมองและขอกาหนดทาง
               ึ      ิ่ ี่  ิ ี ิ ั ิ ี่                      ึ    ุ           ํ
    สังคมและประวัตศาสตรในวิถชวตของคนทองถิน เชนเดียวกันเมือศึกษาพุทธศาสนาเชิงปฏิบติ
                          ิ          ีีิ                ่            ่                         ั
    ของสังคมไทย-ลาว สถานะของวิถีปฏิบัติทางพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ ภายใตบริบทของ
    สังคมทองถินนันตองนํามารวมพิจารณาใหชดเจนดวย กระบวนการเปลียนแปลงและผสมผสาน
                   ่ ้                           ั                        ่
    ความรูทางศาสนาเขากับระบบความเชื่อของคนทองถิ่นสามารถที่จะศึกษาได เมื่อเราตระหนัก
    วาความรทางศาสนาสามารถพฒนาไปตามพลวตการเปลยนแปลงสภาพแวดลอมของทองถนใน
            ู                       ั               ั       ี่                        ิ่
    แตละยุคสมัย นี่คือสิ่งที่เปนสวนประกอบของการขยายหรือปรับเปลี่ยนวิถีปฏิบัติทางศาสนาใน
    ปจจุบันของคนทองถิ่น ซึ่งรวมถึงพุทธศาสนาดวย

       พุทธศาสนาในเชิงสถาบัน

                ประเทศไทยซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาหลักของการศึกษานี้ เปนศูนยกลางของพุทธศาสนา
    เถรวาทของโลก และมีประชากรประมาณ 95% ที่นับถือพุทธศาสนาเถรวาท ทุกเชาจะมีพระ
    ภกษและสามเณรออกเดนบณฑบาตไปตามถนนโดยมพทธศาสนกชนรอใสบาตร นอกจากนในวด
      ิ ุ                  ิ ิ                        ี ุ      ิ                    ี้ ั
    ก็ยังมีประเพณีการบวชและการทําบุญในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งลวนแตเปนภาพที่ดูแปลกตาสําหรับ
    คนตางชาติ พุทธศาสนาไดสรางสีสันในแงมุมตาง ๆ ใหแกประเทศไทย ซึ่งรวมถึงประเด็นใน
    เรองการเมอง สงคม และวฒนธรรมดวย คาอธบายของพทธศาสนาทมงอธบายใหชาวตางชาติ
       ื่       ื ั             ั           ํ ิ          ุ          ี่ ุ ิ     
    เขาใจจงดกลายเปนสงทไรความหมาย สาหรบชาวพทธสวนใหญในสงคมไทยพทธศาสนาไมได
           ึ ู        ิ่ ี่               ํ ั     ุ           ั         ุ          
จํากัดอยูเฉพาะความรูในตําราคําสอนหรือเทศกาลตาง ๆ แตเปนวิถปฏิบตทกลายเปนสวนหนึง
                                                                  ี ั ิ ี่                   ่
ในวิถีชีวิตประจําวันของพุทธศาสนิกชน                                                                  5
                 ดังนั้น อะไรคือจุดเดน หรือลักษณะพิเศษของพัฒนาการทางประวัติศาสตร
ของพุทธศาสนาเถรวาท พุทธศาสนาในฐานะที่เปนศาสนาหนึ่งในโลกเปนแหลงที่มาของ
คําสอนและนิกายตาง ๆ มากมาย ทั้งนี้ตามเสนทางความเปนมาของการเผยแพรพุทธ-
ศาสนา ไดมีการปรับเปลี่ยนคําสอนที่แตกตางกัน เนื่องจากการคัดลอกและแปลคําสอน
ของพุทธศาสนา ซึ่งรวมถึงพุทธศาสนามหายานที่มีจํานวนพุทธศาสนิกชนมากที่สุดในโลก
และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งมีอิทธิพลมากในเอเชียอาคเนย โดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนใน
ประเทศไทย ศรีลังกา พมา ลาว กัมพูชา จีนตะวันตกเฉียงใต และเวียดนามตอนใต ลวนแต
เปนผูที่นับถือพุทธศาสนาเถรวาท ซึ่งอาจกลาวโดยรวมไดวา มีพุทธศาสนิกชนในสังกัดราว
100 ลานคนในปจจุบัน1 เมื่อเปรียบเทียบกับพุทธศาสนามหายานซึ่งใชคําสอนที่แตกตางกัน
พทธศาสนาเถรวาทในแตละประเทศมระเบยบประเพณและพระธรรมวนยทมลกษณะคลายคลง
     ุ                                     ี ี           ี          ิ ั ี่ ี ั                 ึ
กันมาก เพราะใชคาสอน คําอรรถาธิบาย หรือบันทึกขอวิจารณตาง ๆ จากพระไตรปฎกภาษาบาลี
                          ํ                                   
เชนเดียวกัน แตเนื่องจากภาษาบาลีไมมีตัวอักษรเปนของตนเอง ทําใหการบันทึกคําสอน
ตาง ๆ ถูกเขียนในภาษาที่แตกตางกันไปในแตละประเทศ ทั้งในภาษาศรีลังกา ภาษามอญ
ภาษาพมา ภาษาเขมร และภาษาไทย ดงนน นกายตาง ๆ ในพทธศาสนาเถรวาทจงไมไดอยบน
                                            ั ั้ ิ            ุ                    ึ   ู
พืนฐานความแตกตางในพระธรรมวินย แตเปนความแตกตางของกระบวนการทางประวัตศาสตร
   ้                                      ั                                              ิ
ความเปนมาของทองถิ่น
                 ยิ่งไปกวานั้น พุทธศาสนาเถรวาทในทุกประเทศถูกกําหนดคุณลักษณะโดยการบวช
และการมีสวนรวมในคณะสงฆของพุทธศาสนิกชน คณะสงฆเปนสถาบันหนึ่งที่กําหนดวิถีการ
ปฏิบตของพระสงฆแยกออกมาจากโลกียวิสยและอุทศตนเองหรือบําเพ็ญเพียรเพือใหหลุดพนจาก
         ั ิ                                     ั    ิ                          ่
วัฏสงสาร อันเปนจุดหมายสูงสุดของพุทธศาสนา การศึกษาแนวปฏิบัติในพุทธศาสนาเถรวาท
ถูกกําหนดโดยการปฏิบัติตามศีล ซึ่งถือเสมือนเปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาที่ลวงละเมิดมิได
เนืองจากการปฏิบตทมงบรรลุการหลุดพนดวยตนเอง และมีระเบียบประเพณีทกดกันผูหญิงจาก
       ่                ั ิ ี่ ุ                                             ี่ ี     
การบวชเปนพระภิกษุ พุทธศาสนาเถรวาทจึงถูกตังชือในเชิงเสียหายวาเปนพุทธศาสนาหินยาน
                                                    ้ ่
ในความหมายเชิงตรงขามกับพุทธศาสนามหายาน ซึ่งเปนนิกายที่เกิดขึ้นในภายหลัง
                 กษตรยของแตละกลมชาตพนธทปกครองประเทศตาง ๆ ในภมภาคเอเชยอาคเนยและ
                     ั ิ          ุ   ิ ั ุ ี่                   ู ิ          ี         
ทางตะวันตกเฉียงใตของจีน ซึงประกอบดวยดินแดนทีเ่ รียกวาสิบสองปนนาและไตคง (Dehong)
                                     ่
ยอมรับเอาพุทธศาสนาเถรวาททีเผยแพรจากอินเดียผานมาทางศรีลงกาในชวงระหวางศตวรรษ
                                       ่                          ั
ที่ 12 ถึง 14 นอกจากนี้ในชวงระหวางศตวรรษที่ 15 ถึง 17 บรรดาผูปกครองในภูมิภาคเหลา
นียงคงสืบทอดประเพณีเพือสรางความชอบธรรมในอํานาจทางการเมืองของตนในลักษณะทีเ่ ปน
       ้ั                        ่
6   ผูนาทีมคณธรรม ดวยการปรับคําสอนของศาสนาพุทธทีรบมาจากศรีลงกา (Lieberman, 1993:
       ํ ่ ี ุ                                                   ่ั             ั
    242) ซึ่ง Max Weber อธิบายเสริมวา เนื่องจากความจําเปนของพุทธศาสนาเถรวาทภายใต
    อุดมการณเพื่อการหลุดพนนั้นไมสามารถบรรลุไดโดยปราศจาการชี้นําของพระสงฆ (Weber,
    1976: 329) โดยนัยนี้พุทธศาสนาถูกปฏิบัติโดยพระสงฆที่นาเลื่อมใสศรัทธา และภายใตการนํา
    ของกษตรยและราชสานก จงเปนศนยกลางของอานาจทางการเมองแบบดงเดมในภมภาคเอเชย
              ั ิ          ํ ั ึ  ู                     ํ                  ื    ั้ ิ      ู ิ       ี
    อาคเนย อยางไรก็ตาม พุทธศาสนาเถรวาทยังคงสืบทอดเปนศาสนาในวิถชวตของคนในภูมภาค  ีีิ             ิ
    นี้ ซงสามารถสะทอนใหเ หนไดจากธรรมเนยมปฏบตของการทาบญถวายของใหพระสงฆหรอวด
           ึ่                     ็            ี        ิ ั ิ         ํ ุ                      ื ั
    โดยประชาชนสวนใหญยึดถือปฏิบัติจนกลายเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจําวัน
                 ประเด็นคําถามวิจยของการศึกษานีคอ กลุมคนชาติพนธุไทย-ลาวในภาคอีสานของไทย
                                     ั                 ้ ื                 ั 
    หรอทเี่ รยกวาคนไทยอสาน มวถปฏบตทางศาสนาในลกษณะทสอดคลองกบพทธศาสนาเถรวาท
        ื ี                 ี         ีิี ิ ั ิ                ั        ี่      ั ุ
    อยางไร มรปแบบอะไรบางทางพทธศาสนาทถกนาไปปฏบตโดยพทธศาสนกชนทไมสามารถจะ
               ีู                       ุ          ี่ ู ํ        ิ ั ิ ุ           ิ    ี่ 
    อานคําสอนทางศาสนาได เพื่อที่จะตอบคําถามเหลานี้ เราตองจําแนกแยกแยะกระบวนการ
    ทางประวัตศาสตรเกียวกับการกอตัวของวิถการดําเนินชีวตทางโลกและรูปแบบของพุทธศาสนา
                 ิ        ่                        ี                 ิ
    เชิงปฏิบัติในทองถิ่น ซึ่งประเด็นดังกลาวนี้เปนวัตถุประสงคหลักของหนังสือนี้
                 ในเบื้องแรก ควรเริ่มจากการพิจารณาถึงสถานะของภาคอีสาน อันเปนที่อยูอาศัย
    ของคนกลุมชาติพันธุไทย-ลาว ภายใตสถาบันพุทธศาสนาของไทยที่เนนการประกอบกิจกรรม
    ตาง ๆ ภายในวัด ใน พ.ศ. 2540 ในประเทศไทยมีวัดที่จดทะเบียนจํานวน 30,377 วัด (กรม
    การศาสนา, 2542 : 46) อยางไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2526 เมื่อผูเขียนเริ่มเขาไปทํางานสนามใน
    หมูบานแหงหนึ่งของภาคอีสาน ขอมูลของวัดที่จดทะเบียนในประเทศไทยมีจํานวน 31,267
    วัด2 ซึ่งในจํานวนนี้มีเพียง 1,767 วัด หรือ 5.7% ที่เปนวัดในเมือง ซึ่งหมายถึงวัดที่ตั้งอยู
    ในกรุงเทพมหานครและเขตเทศบาลเมืองหรือเทศบาลตําบล ที่มีประชากรมากกวา 10,000
    คน ที่เหลือ 94.3% หรือ 29,500 วัด เปนวัดที่ตั้งอยูในหมูบานชนบท โดยเปรียบเทียบกับวัด
    ในประเทศญี่ปุน การกระจายตัวของวัดในประเทศญี่ปุนจะถูกกําหนดโดยจํานวน 1 วัดตอ
    1 หมูบาน ขณะที่อัตราสวนในประเทศไทยใน พ.ศ. 2526 มีประมาณ 1 วัดตอ 2 หมูบาน3
    ในปเดียวกันประมาณครึ่งหนึ่งของวัดในประเทศไทยคือ 15,705 วัด หรือ 50.2% ตั้งอยูใน
    ภาคอีสาน ซึ่งเปนภูมิภาคที่มีพื้นที่มากกวา 1 ใน 3 ของทั้งประเทศ และเปนที่อยูอาศัยของ
    ประชาชนมากกวา 1 ใน 3 ของประชากรทั้งประเทศ4 ภาคอีสานซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาวิจัยของ
    การศึกษานี้จึงเปนภูมิภาคที่มีความมั่นคงมากที่สุดของการนับถือพุทธศาสนาในประเทศไทย
    (cf. Tambiah, 1976: 275)
พระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2505 ไดจําแนกวัดเปน 2 แบบ คือ วัดที่ไดรับ
พระราชทานวิสุงคามสีมา ซึ่งถือเปนเขตสําคัญทางศาสนาเพื่อประกอบพิธีกรรมการบวชพระ                     7
และสํานักสงฆที่ไมมีวิสุงคามสีมา5 พิธีกรรมบวชพระซึ่งถือเปนกาวแรกของการเขาเปนสมาชิก
ในคณะสงฆสามารถดําเนินการไดเฉพาะในวัดแบบแรก เมื่อชาวบานมีความปรารถนาที่จะ
กอตั้งวัดขึ้นใหม มักจะเริ่มจากการไดรับอนุมัติใหสรางสํานักสงฆขึ้นกอน และเพื่อที่จะสราง
วิสุงคามสีมา ชาวบานตองยื่นเรื่องขออนุญาตจากนายอําเภอ การตัดสินใจสุดทายจะอยูที่กรม
การศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ6 (ในขณะนั้น) ดังนั้น ในพื้นที่ชนบทสวนมากจึงมีสํานักสงฆ
ในสดสวนทสงกวาวดทมวสงคามสมา ในชมชนทมสานกสงฆผทตองการจะบวชพระจาเปนตอง
        ั  ี่ ู  ั ี่ ี ิ ุ         ี       ุ    ี่ ี ํ ั       ู ี่                ํ  
ไปบวชที่วัดอื่นที่มีวิสุงคามสีมา หลังจากบวชเปนพระภิกษุแลวก็สามารถกลับมาจําพรรษาอยูที่
สํานักสงฆในหมูบานของตนได
                แมวาจํานวนสํานักสงฆของทั้งประเทศจะไมชัดเจน แตเฉพาะในภาคอีสานใน พ.ศ.
2526 มีศาสนสถานที่จดทะเบียนเปนสํานักสงฆจํานวน 10,077 แหง ยิ่งไปกวานันยังมีพระสงฆ
                                                                                    ้
ในภูมภาคนีอกสวนหนึงทีจาพรรษาอยูในทีพกสงฆชวคราว ทีไมไดอยูในขายการจัดเปนสํานักสงฆ
           ิ     ้ี          ่ ่ํ        ่ ั         ั่       ่           
หรือวัดและไมปรากฏอยูในสถิติของกรมการศาสนาอีกดวย ประเด็นสําคัญที่ควรพิจารณา
ในที่นี้คือ ถาหากไมพิจารณาในประเด็นความแตกตางทางกฎหมาย ประชาชนในภูมิภาคนี้
มักจะเรียกศาสนสถานทั้ง 3 แบบนี้วา “วัด” เชนเดียวกันหมด ยิ่งไปกวานั้นในศาสนสถาน
ประเภทวัดยังมีการจําแนกประเภทของวัดเปนวัดอารามหลวงและวัดราษฎร ในขอมูลสถิติ
ตั้งแตประกาศใชพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2505 แมวาการจําแนกดังกลาวนี้จะไมไดใช
จาแนกอยางเปนทางการและเครงครด แตโดยทวไปแลวในประเภทวดอารามหลวงนน ประกอบ
  ํ                                ั  ั่                                ั        ั้
ดวยวัดที่สรางโดยพระมหากษัตริยหรือจดทะเบียนภายใตการอนุมัติของราชสํานัก สวนวัด
อื่น ๆ ทั้งหมดนอกจากนี้ถือเปนวัดราษฎร7 ใน พ.ศ. 2526 ทั้งประเทศมีวัดอารามหลวงเพียง
202 วัด หรือ 0.65% เทานั้น และในจํานวนนี้เปนวัดอารามหลวงที่ตั้งอยูในเขตเมืองจํานวน
83 วัด8 กลาวไดวาวัดเกือบทั้งหมดในภาคอีสานเปนวัดราษฎร ซึ่งที่จริงแลวถือเปนธรรมเนียม
ปฏิบตของคนทองถินทีจะสรางและพัฒนาวัดขึนเอง อันเปนลักษณะแตกตางจากวัดในประเทศ
         ั ิ               ่ ่                   ้
ญี่ปุนที่ไมเปนสถาบันหรือองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยประชาชนที่อาศัยอยูในเขตศาสนสถานหนึ่ง ๆ
และไมไดเปนสถานที่ที่เปดเผยตอบุคคลภายนอกในลักษณะทั่วไป
                ความแตกตางทีเดนชัดอีกประการหนึ่งของคณะสงฆไทยในปจจุบัน คือการแบงเปน
                                  ่
2 นกาย คอ มหานกายและธรรมยตกนกาย ธรรมยตกนกายไดรบการกอตงโดยพระบาทสมเดจ
      ิ       ื          ิ           ุ ิ ิ               ุ ิ ิ       ั         ั้            ็
พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 (ครองราชยระหวาง พ.ศ. 2394-2411) ใน พ.ศ. 2379
โดยมุงเนนสนับสนุนการกลับไปใชตําราหรือหนังสือพระธรรมที่เปนภาษาบาลี โดยมีจุดเริ่มตน
ในลักษณะทีเ่ ปนปฏิกรยาตอความเสือมของพุทธศาสนาในสังคมไทยในขณะนัน รวมทังเปนการ
                                 ิิ              ่                               ้        ้
8   สืบทอดมาจากประเพณีปฏิบัติของคณะสงฆมอญและพมา การกําหนดเรียกมหานิกายสําหรับ
    นิกายที่มีอยูแลวเกิดขึ้นในลักษณะคูขนานกับธรรมยุติกนิกาย ซึ่งมีวิถีปฏิบัติที่แตกตางเดนชัด
    จากมหานิกาย คือมีความแตกตางกันในการออกเสียงสวดมนตภาษาบาลี วิธีการถือบาตรของ
    พระสงฆ และวิธีการสวมจีวร สัดสวนของวัดธรรมยุตในประเทศไทยมีเพียงประมาณ 5% ใน
    พ.ศ. 25269 แตแมวาจะเปนพระสงฆสวนนอย ธรรมยุติกนิกายถูกพิจารณาวามีอํานาจและ
    อิทธิพลทางสังคมสูงกวามหานิกาย ทั้งนี้ไมใชเพียงเพราะวามีวิถีปฏิบัติที่เครงครัด แตยังรวม
    ถึงการมีสัมพันธภาพที่ใกลชิดกับราชสํานัก ซึ่งเปนผลใหมีการแพรขยายแนวปฏิบัติของธรรม-
    ยุติกนิกายผานทางราชสํานักไปยังประเทศเพื่อนบานที่นับถือพุทธศาสนาเถรวาท คือ กัมพูชา
    และลาว และภายหลังยังไดเผยแพรไปยังประเทศอินโดนีเซียอีกดวย อยางไรก็ตาม ความ
    แตกตางระหวางธรรมยุตกนิกายและมหานิกายไมปรากฏในพระธรรมวินย แตปรากฏในวิถการ
                                    ิ                                          ั              ี
    ปฏิบัติและพิธีกรรมดังที่ไดกลาวแลวขางตน ดังนั้น ทั้ง 2 นิกายจึงไมไดถูกพิจารณาวาแยก
    จากกันโดยเด็ดขาด ในทางกฎหมายแลวทั้ง 2 นิกายเปนของคณะสงฆไทยเชนเดียวกัน และ
    พทธศาสนกชนกไมมความรสกวาตนเองตองเลอกสงกดอยในนกายใดนกายหนงเปนการเฉพาะ
      ุ          ิ         ็  ี        ู ึ         ื ั ั ู ิ            ิ     ึ่ 
                      แมวาธรรมยุติกนิกายไดถูกกอตั้งขึ้นจากราชสํานัก และวัดของฝายธรรมยุตสวน
    ใหญตงอยในเขตเมอง แตวดทเี่ ปนสาขาแรกของธรรมยตกนกายถกตงขนในจงหวดอบลราชธานี
          ั้ ู             ื        ั                      ุ ิ ิ ู ั้ ึ้ ั ั ุ
    ของภาคอีสานในราวกลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งในขณะนั้นยังไมมีการเคลื่อนไหวปฏิรูปทางศาสนา
    ทีชดเจน รายละเอียดทางประวัตศาสตรทอยูเบืองหลังการพัฒนานีจะนําเสนออีกครังในบทที่ 5
      ่ั                                       ิ   ี่  ้                  ้            ้
    แตควรจะบันทึกไว ณ ที่นี้วาพุทธศาสนาในภาคอีสานไดเริ่มเปดชองทางเชื่อมตอกับศูนยกลาง
    ระดับชาติตงแตในชวงกอนทีพทธศาสนาจะถูกยอมรับในเชิงปฏิบตใหเปนศาสนาประจําชาติไทย
                   ั้                     ่ ุ                          ั ิ

       การเขาถึงความเปนทองถิ่น

                 หนังสือเลมนี้พยายามที่จะนําเสนอประวัติศาสตรชาติพันธุทองถิ่นของศาสนาและ
    สังคมไทย-ลาว ในรูปแบบที่สะทอนใหเห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงในสังคมปจจุบัน แทนที่
    จะเนนการศึกษาเพือคนหาแหลงกําเนิดของคนชาติพนธุไทย-ลาว หนังสือนีนาเสนอขอมูลสังคม
                         ่                            ั                   ้ ํ
    ไทย-ลาวในเชิงประวัติศาสตรที่ชี้ใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางกลุมชาติพันธุในภูมิภาคและ
    ระหวางชาติ ในขณะเดยวกนหนงสอนยงพยายามสะทอนภาพการเปลยนแปลงทปรากฏภายใน
                           ี ั ั ื ี้ ั                             ี่          ี่
    กลมชาตพนธหนงในผนแผนดนเอเชยอาคเนย ดวยการอธบายผานลกษณะชาตพนธตลอดชวง
       ุ     ิ ั ุ ึ่ ื  ิ            ี                ิ     ั              ิ ั ุ   
    เวลาที่ผานมา
ผูเขียนพยายามคนหาแนวคิดทฤษฎีที่เชื่อมโยงกลุมชาติพันธุกับความเปนภูมิภาค
วิถชวตประจําวัน และความเปนชาติ ผานมุมมองพุทธศาสนาเชิงปฏิบตและการเปลียนแปลงของ
        ีีิ                                                                                 ั ิ                   ่                        9
ความเลือมใสศรัทธาในเรืองผี แนวทางนีมสวนสัมพันธกบกรอบแนวคิดการศึกษาทีพฒนาขึนมา
                  ่                            ่            ้ ี                   ั                             ่ ั            ้
จากทงแนวคดชาตพนธวทยาทางศาสนาและแนวคดสงคมวทยาเปรยบเทยบ งานศกษานไดขยาย
            ั้            ิ       ิ ั ุ ิ                            ิ ั ิ                ี ี                 ึ          ี้ 
แนวคดจากการศกษาเรองศาสนาเชงปฏบตของ Stanley J. Tambiah ซงไดนาเสนอการตความ
               ิ              ึ          ื่           ิ ิ ั ิ                                     ึ่  ํ                      ี
ในเชงโครงสรางหนาทของการบรณาการระบบศาสนาทแตกตางกนในภาพรวม โดยเนนในเรอง
          ิ                   ี่                  ู                       ี่        ั                                         ื่
ชาติพันธุวิทยาทางศาสนาและเนนบริบทของศาสนาหนึ่งมากกวาบริบทของหมูบาน เพื่อที่จะ
จําแนกแบบแผนใหมสําหรับการศึกษาศาสนาและสังคม
                       แนวความคดทนาเสนอในแตละบท เปนการนาเสนอถงรปแบบการกอตวของวถปฏบติ
                                       ิ ี่ ํ                                ํ      ึ ู                 ั                ิี ิ ั
ในศาสนาหมูบาน (village religion) จากมุมมองของปฏิสัมพันธระหวางกันของคนกับโลกของ
ปา สังคมไทย-ลาวสะทอนใหเห็นถึงลักษณะเฉพาะของสังคมที่บุกเบิกตั้งถิ่นฐานชุมชนจากการ
ยายถิ่น ซึ่งมักจะเปนการขยับขยายเขาไปบุกเบิกพื้นที่รกรางวางเปลา และโดยเงื่อนไขดังกลาว
นมกจะถกมองโดยนกวชาการบางกลมวาเปนกลไกหนงของการเชอมตอทางสงคมกบความเปน
     ี้ ั            ู               ั ิ               ุ              ึ่              ื่              ั         ั                  
เมืองหรือรัฐชาติ (cf. Condominas, 1970, 1990) เบื้องหลังของมุมมองนี้อยูบนพื้นฐานขอเท็จ
จริงที่วา การคงอยูของผืนปาเปนสิ่งตรงขามกับวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชน คําวา “ปา” ที่
ถูกใชในที่นี้มีนัยที่อยูเหนือกวาความหมายสมัยใหมของรูปแบบที่เปนสิ่งแวดลอมทางกายภาพ
ของปาไม แตเปนคําอุปมาทีชวยอธิบายถึงความเปนมาและการตอรองแลกเปลียนระหวางกลุม
                                                 ่                                                         ่                        
ชนพื้นเมืองและกลุมคนที่อพยพมาทีหลัง ซึ่งเปนปรากฏการณที่เห็นไดทั่วไปในภูมิภาคเอเชีย
อาคเนย ลักษณะเชนนี้เปนเงื่อนไขสําคัญที่มีผลใหเกิดสภาพที่หลากหลายของการจําแนกวิถี
ปฏิบัติทางศาสนา แมแตภายในภูมิภาคเดียวกันประชาชนที่อยูในแตละภูมิภาคไดขัดเกลา
มมมองทเี่ ปน “ปรชญาชวต” ของพวกเขา ซงรวมถงจตสานกทางโลกทไรขอบเขตกบจตสานกทาง
   ุ                           ั           ีิ                ึ่     ึ ิ ํ ึ                 ี่              ั ิ ํ ึ
สังคมทีมขอบเขตจํากัด ในทางกลับกันปรัชญานีในปจจุบนกําลังแตกทําลายไปภายใตอทธิพลของ
                 ่ ี                                             ้               ั                                    ิ
โลกาภิวัตน ซึ่งสงผลกระทบตอจิตสํานึกทางสังคม ในสถานการณเชนนี้เปนความไมเหมาะสม
ที่จะพยายามตีความประเด็นนี้ในลักษณะที่เปนความกาวหนาหรือเปนการพัฒนาเชิงเดี่ยว
ผูเขียนพยายามอยางยิ่งที่จะนําเสนอประสบการณของชาวบาน ในลักษณะที่เปนสวนหนึ่งของ
สภาพแวดลอมและความสัมพันธที่ซับซอนและหลากหลายมิติที่เกี่ยวกับปา ในลักษณะที่เปน
สวนประกอบสําคัญของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของพวกเขา จากความพยายามที่จะอธิบายให
ชัดเจนถึงขอบเขตทางศาสนาที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงภายในสังคมหมูบานในภาคอีสาน
ของไทย งานศึกษานี้จึงเปนงานที่มุงนําเสนอภาพทางสังคมของวิถีปฏิบัติทางศาสนาในพื้นที่
ศึกษาหนึ่ง เนื่องจากแนวคิดที่ใชในการศึกษาจํากัดที่หมูบานของกลุมชาติพันธุไทย-ลาว ซึ่ง
เปนสวนหนงของกลมชาตพนธไท (Tai) การศกษานจงมลกษณะเปนชาตพนธวทยาทางศาสนา
                                ึ่                  ุ      ิ ั ุ                                ึ       ี้ ึ ี ั                                 ิ ั ุ ิ
10   ในพื้นที่เปาหมายเฉพาะ
                               โดยความเปนจริงแลว ยิงคนคนหนึงถูกดูดกลืนเขาเปนสวนหนึงในวิถชวตประจําวัน
                                                                                 ่                    ่                                                ่             ีีิ
     ของคนในชมชนหนงมากเทาไร คนคนนนกจะยงมคณลกษณะเฉพาะทางชาตพนธนอยลง และ
                                ุ                 ึ่                                   ั้ ็ ิ่ ี ุ ั                                                          ิ ั ุ 
     จะเริ่มรูสึกวาแนวคิดเกี่ยวกับโลกและพฤติกรรมทางสังคมของตนมีความสมบูรณ และสามารถ
     อธบายไดชดเจนในชมชนนนเอง ทงนกลาวไดวาในการศกษาสงคมหนง ๆ คาอธบายของผคน
              ิ              ั                          ุ      ั้             ั้ ี้                                  ึ          ั              ึ่         ํ ิ                   ู
     ที่อพยพเขาไปอยูในพื้นที่นั้นมักจะมีความแตกตางเมื่อเปรียบเทียบกับคําอธิบายที่บันทึกอยาง
     เปนทางการโดยผูปกครอง ไมวาจะเปนในประเด็นลักษณะทางภูมิศาสตรของภูมิภาค ความ
     เปนสถาบันตาง ๆ อยางเชน “กลุมชาติพันธุ” หรือ “รัฐ” ซึ่งเปนเงื่อนไขที่ตองเผชิญหนาซึ่งกัน
     และกน รวมถงองคประกอบของวถการปฏบตทางศาสนากปรากฏในหลายรปแบบตามความคด
                 ั                     ึ                                   ิี             ิ ั ิ                              ็                          ู                             ิ
     และมมมองของแตละฝาย ดวยเหตผลเหลานงานศกษานจงพยายามทจะอธบายการปฏบตทาง
                   ุ                                                            ุ         ี้ ึ                         ี้ ึ                  ี่ ิ                        ิ ั ิ
     ศาสนาของประชาชน จากมุมมองของคนทองถิ่นตามวิถีปฏิบัติจริงของพวกเขา
                               ในขณะทีกลุมคนทีถกศึกษาในครังนี้ ถูกเรียกทังโดยนักภาษาศาสตรและกลุมคนภาษา
                                                     ่              ู่                         ้                    ้                                                   
     อืน ๆ ในภาคอีสานวาเปน “คนลาว” ในทางตรงขามกับคนกรุงเทพฯ และคนลาวในประเทศลาว
       ่
     ที่มักเรียกคนกลุมนี้วา “คนอีสาน” คําวา “ลาว” นั้นไมไดหมายถึงเฉพาะเอกลักษณของคนใน
     ชมชนหมบาน แตยงหมายรวมถงความสมพนธระหวางภมภาคตาง ๆ และระหวางชนชาตตาง ๆ
           ุ              ู                 ั                        ึ              ั ั   ู ิ                                                                          ิ 
     ที่รวมกันอยูในหมูบาน และภายในกลุมชาติพันธุที่แตกตางกันทางประวัติศาสตร ประเด็น
     นี้สะทอนใหเห็นไดจากประสบการณสนามของผูเขียนเอง ซึ่งผูเขียนเพิ่งเริ่มสังเกตเห็นไดถึง
     ความสัมพันธของชุมชนที่มีตอความเปนภูมิภาคและรัฐชาติก็ตอเมื่อหลังจากที่ไดออกมาจาก
     ชมชนทศกษาแลว รวมถงการไดออกจากเครอขายความสมพนธของหมบานไทย-ลาวในภาคอสาน
         ุ           ี่ ึ                                 ึ                                  ื                   ั ั                  ู                                     ี
     และไดขามพื้นที่ไปศึกษาสังคมลาวที่แตกตางกันในประเทศลาว10 ทั้งนี้คําวา “สังคมลาว” ที่ใช
     ในการศกษานไดตงใจทจะอธบายปรากฏการณทางสงคมและศาสนาทปรากฏภายในกรอบเวลา
                       ึ                ี้  ั้ ี่ ิ                                                     ั                                  ี่
     ทางประวตศาสตรของทองถนแหงหนงในภมภาคเอเชยอาคเนย และยงเปนการจาแนกลกษณะ
                            ั ิ                              ิ่  ึ่ ู ิ                                      ี                               ั                     ํ       ั
     ทั่วไปของกลุมสังคมหนึ่งที่ใชในการอธิบายและทําความเขาใจถึงแบบแผนรวมกันทางภาษา
     และระเบียบประเพณีทางศาสนาภายในภูมิภาคที่พวกเขามีปฏิสัมพันธใกลชิดกัน หรือกลาวอีก
     นัยหนึ่งคํานี้เปนกรอบแนวคิดที่อธิบายโดยศึกษาจากปรากฏการณสังคมตาง ๆ ประเด็นหนึ่งที่
     จะเหนไดในบทตอไปคอ คนรนใหมจากภาคอสานซงเปนแหลงทอยอาศยของกลมคนทใชภาษา
                ็                            ื                     ุ                          ี       ึ่                    ี่ ู ั                         ุ       ี่ 
     ไทย-ลาวนั้น เกือบจะไมยินยอมเรียกตนเองวาเปน “คนลาว” อีกตอไป
                               คาวา “ไทย-ลาว” ไมเ พยงแตถกใชจาแนกเพอเปรยบเทยบกบกลมคนทไมใชชาตพนธุ
                                     ํ                                     ี ู ํ                               ื่ ี ี ั ุ                                        ี่   ิ ั
     ลาวโดยคนลาวในประเทศลาว แตยงรวมถงความหมายทเปนชาตนยมลาวซงมงใชเพอการผสม    ั              ึ                         ี่            ิ ิ                  ึ่ ุ  ื่
กลมกลืนชนพืนเมืองอืน ๆ ใหเปน “ลาว” ทังนีคนลาวมีประมาณครึงหนึงของประชากรหลากหลาย
                   ้       ่                       ้ ้                   ่ ่
ชาติพันธุในประเทศลาว ถาเรามีสมมุติฐานวาไมเคยมีการจําแนกกลุมชาติพันธุใดมากอนใน                 11
ทุกยุคทุกสมัยหรือในที่อื่นใด (นอกจากการจําแนกที่กําหนดขึ้นมาโดยนักวิชาการ) ดังนั้น
คําวา “สังคมลาว” จึงไมไดเพียงแสดงนัยทางดานพันธุกรรม แตคานีมความหมายในนัยทีสะทอน
                                                                     ํ ้ ี                  ่
ถึงขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรของประชาชนที่ปจจุบันอาศัยอยูใน 2 ประเทศตางกัน ซึ่งใน
อดีตเคยถูกพิจารณาวาเปนกลุมชาติพนธุเ ดียวกัน อยางนอยทีสดก็อยูภายใตการปกครองเดียวกัน
                                            ั                    ุ่       
ในชวงระหวางศตวรรษที่ 19 และ 20 ยิ่งไปกวานั้นคําวา “สังคมลาว” ยังมีนัยสําคัญในบริบท
ของชนกลุมนอยอื่น ๆ ทีอาศัยอยูรวมกับคนลาว มีตัวอยางมากมายในปจจุบันที่ประชาชนของ
                               ่
กลุมชาติพนธุเ ดียวกันทีมลกษณะรวมทางภาษาและประเพณี ไดมการพัฒนาไปสูความเปนสังคม
            ั               ่ ีั                                      ี           
ทแตกตางกน คนลาวในปจจบนจงประกอบดวย 2 สงคมดงทกลาวมาแลว โดยการพจารณาถง
    ี่    ั                      ุ ั ึ                   ั   ั ี่                    ิ      ึ
ขอเทจจรงทางประวตศาสตร กระบวนการเปลยนแปลงทางสงคมและวฒนธรรมในสงคมทงสอง
    ็ ิ                 ั ิ                             ี่       ั          ั          ั     ั้
และพลวัตของกลุมชาติพันธุตาง ๆ ยังสามารถศึกษาวิเคราะหใหชัดเจนยิ่งขึ้นได
               โดยทั่วไปแลวมักจะเปนคนนอกที่อธิบายกลุมชาติพันธุหนึ่ง ๆ ดวยการจําแนกทาง
วฒนธรรมแลวจงกาหนดชอให คาเรยก “สงคมลาว” กเ็ ปนเชนเดยวกนถกกาหนดขนโดยคนนอก
 ั                 ึ ํ           ื่     ํ ี        ั           ี ั ู ํ            ึ้
ทั้งโดยกลุมคนที่เปนเพื่อนบานและคนตางชาติ จริง ๆ แลวการจําแนกไมควรพิจารณาที่ภาษา
หรือชื่อที่ถูกกําหนดขึ้น แตควรจะพิจารณาถึงความเปนจริงในชีวิตประจําวันของกลุมคนที่พูด
ภาษานั้น แนวคิดและความเขาใจที่ใชในหนังสือเลมนี้ลวนมีพื้นฐานมาจากคําทั้งหลายที่ใช
โดยคนทองถิ่นและคนนอก ทุกครั้งที่ผูเขียนไดมีโอกาสเขาไปเยี่ยมเยียนกลุมชาติพันธุตาง ๆ
ความรูสึกของการพบกับกลุมชาติพันธุเฉพาะคอย ๆ เลือนหายไป กลายเปนความรูสึกของ
การเยี่ยมเยียนหมูบานหนึ่งและทองถิ่นหนึ่ง กลุมคนที่ผูเขียนไดพบและไดรวมแบงปนเวลาและ
สถานทีรวมกันนัน ลวนเปนกลุมคนทีมประสบการณและแบบแผนทางประวัตศาสตรของตนเอง
         ่          ้                        ่ ี                               ิ
พวกเขาใหคําอธิบายไวอยางนาประทับใจวาศาสนาที่พวกเขาปฏิบัติไมสามารถแยกออกจาก
แบบแผนชีวิตของคนทองถิ่นที่อาศัยอยูที่นั่นได
               ขอมูลที่จะนําเสนอในบทตอ ๆ ไปนี้ เปนผลของการศึกษาเชิงประจักษในหมูบาน
ไทย-ลาวหลายแหง11 การอภิปรายในสวนตาง ๆ ที่เหลือของบทแรกนี้เปนการสรุปถึงการศึกษา
ที่ผานมาเกี่ยวกับวิถีการปฏิบัติทางศาสนาในประเทศไทย เพื่อที่จะแนะนําคําสําคัญตาง ๆ ที่
ใชในหนังสือเลมนี้ ซึ่งใชอธิบายถึงความเปนจริงที่เปนพลวัตของวิถีการปฏิบัติ ในลักษณะที่
มักจะถูกกําหนดลวงหนาวาเปนพุทธศาสนาหรือไมใชพุทธศาสนาจากระบบเหตุผลที่สืบทอด
มา เราจําเปนตองศึกษาใหเขาใจจากบริบทของภูมิภาคนั้น ๆ ในบทที่ 2 และบทที่ 3 เปน
ความพยายามจะอธิบายใหชัดเจนถึงสถานะของความเปนไทย-ลาวและความสัมพันธที่มีตอ

Contenu connexe

Tendances

038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2Satheinna Khetmanedaja
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์Tongsamut vorasan
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 

Tendances (20)

038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
งานนำเสนอท่าทีการเปลี่ยนศาสนา2
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์วิเคราะห์วิจารณ์
วิเคราะห์วิจารณ์
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 

En vedette

輔導傳統產業
輔導傳統產業輔導傳統產業
輔導傳統產業twnewone1
 
Storyboard haastattelu 1
Storyboard haastattelu 1Storyboard haastattelu 1
Storyboard haastattelu 1Marjo Jussila
 
Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011
Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011
Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011Verbala Stigar
 
1推動節約用水
1推動節約用水1推動節約用水
1推動節約用水twnewone1
 
Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders
Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders
Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders Dr Neha Surana
 
emabjadas de mexico en mundo
emabjadas de mexico en mundoemabjadas de mexico en mundo
emabjadas de mexico en mundoOctavio RmxCls
 
Green enviornment
Green enviornmentGreen enviornment
Green enviornmentRazib M
 
Iab Privacy door Auke van den Hout
Iab Privacy door Auke van den HoutIab Privacy door Auke van den Hout
Iab Privacy door Auke van den HoutAffiliate Dag
 
Deber ecuaciones de valor
Deber ecuaciones de valorDeber ecuaciones de valor
Deber ecuaciones de valorYaja V. Yepez
 
Procedure
ProcedureProcedure
Proceduremrswato
 
Step up your social game-Women of the Channel
Step up your social game-Women of the Channel Step up your social game-Women of the Channel
Step up your social game-Women of the Channel Jackie Funk
 
My Midsummer Mission
My Midsummer MissionMy Midsummer Mission
My Midsummer MissionElin Amberg
 
5數位內容
5數位內容5數位內容
5數位內容twnewone1
 
Olive Branch Health & Wellness
Olive Branch Health & Wellness Olive Branch Health & Wellness
Olive Branch Health & Wellness Portfolio
 
Corascent presentation5
Corascent presentation5Corascent presentation5
Corascent presentation5Mirra Aggarwal
 

En vedette (20)

輔導傳統產業
輔導傳統產業輔導傳統產業
輔導傳統產業
 
Storyboard haastattelu 1
Storyboard haastattelu 1Storyboard haastattelu 1
Storyboard haastattelu 1
 
Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011
Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011
Verbala stigar - föreläsning medalgon 15 juni 2011
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
1推動節約用水
1推動節約用水1推動節約用水
1推動節約用水
 
Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders
Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders
Dr neha surana on scope&limitationofhomeopathyforneurologicaldisorders
 
emabjadas de mexico en mundo
emabjadas de mexico en mundoemabjadas de mexico en mundo
emabjadas de mexico en mundo
 
Green enviornment
Green enviornmentGreen enviornment
Green enviornment
 
Calendario matemático
Calendario matemáticoCalendario matemático
Calendario matemático
 
Elearning
ElearningElearning
Elearning
 
Iab Privacy door Auke van den Hout
Iab Privacy door Auke van den HoutIab Privacy door Auke van den Hout
Iab Privacy door Auke van den Hout
 
Lab16
Lab16Lab16
Lab16
 
Travelape
TravelapeTravelape
Travelape
 
Deber ecuaciones de valor
Deber ecuaciones de valorDeber ecuaciones de valor
Deber ecuaciones de valor
 
Procedure
ProcedureProcedure
Procedure
 
Step up your social game-Women of the Channel
Step up your social game-Women of the Channel Step up your social game-Women of the Channel
Step up your social game-Women of the Channel
 
My Midsummer Mission
My Midsummer MissionMy Midsummer Mission
My Midsummer Mission
 
5數位內容
5數位內容5數位內容
5數位內容
 
Olive Branch Health & Wellness
Olive Branch Health & Wellness Olive Branch Health & Wellness
Olive Branch Health & Wellness
 
Corascent presentation5
Corascent presentation5Corascent presentation5
Corascent presentation5
 

Similaire à 9789740328667

13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdfIntelligentChannel
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 

Similaire à 9789740328667 (20)

13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
San
SanSan
San
 
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
01_พุทธประวัติ พระสาวก.pdf
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 

Plus de Chirawat Wangka (7)

9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328735
97897403287359789740328735
9789740328735
 
9789740328698
97897403286989789740328698
9789740328698
 
9789740328698
97897403286989789740328698
9789740328698
 
9789740328681
97897403286819789740328681
9789740328681
 
9789740328018
97897403280189789740328018
9789740328018
 
9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 

9789740328667

  • 1. บทที่ 1 1 บทที่ 1 ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇѲ¹¸ÃÃÁ¾Ø·¸ÈÒÊ¹Ò à¶ÃÇÒ·ã¹»ÃÐà·Èä·Â
  • 2. ความสําคัญของการศึกษาพุทธศาสนาเชิงปฏิบัติ 2 หนังสือเลมนี้ใชแนวทางการศึกษาชาติพันธุวรรณนา เพื่ออธิบายถึงพลวัตของวิถี ปฏิบัติทางพุทธศาสนาในกลุมคนชาติพันธุไทย-ลาวที่มีถิ่นฐานอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย (หรอททราบกนโดยทวไปวา “คนไทยอสาน”) โดยใหความสาคญกบขอมลเชง ื ี่ ั ั่  ี  ํ ั ั  ู ิ ประวัติศาสตรของการกอตั้งชุมชนและกระบวนการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจสังคมภายในชุมชน รวมถึงสภาพแวดลอมวิถีชีวิตของชาวบานในชุมชน การศึกษาวิเคราะหไดใชขอมูลจากการ ศึกษาทางมานุษยวิทยาอยางเขมขนในหลายหมูบานของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (หรือภาค อีสาน) ตั้งแต พ.ศ. 2526 จนถึง พ.ศ. 2542 รวมถึงขอมูลบางสวนจากการศึกษาภาคสนาม เปนระยะ ๆ ในสาธารณรฐประชาธปไตยประชาชนลาว ตงแต พ.ศ. 2532 ซงเปนขอมลทนามา  ั ิ ั้ ึ่   ู ี่ ํ ใชวเคราะหเปรียบเทียบวิถชวตของกลุมคนชาติพนธุไทย-ลาว รวมถึงวิถปฏิบตทางพุทธศาสนา ิ ีีิ  ั  ี ั ิ และความเชื่อตาง ๆ ในภูมิภาคนี้ กลุมคนชาติพันธุไทย-ลาวในภาคอีสาน เปนกลุมคนไทยพุทธที่ไดสรางอาณาจักร ทางศาสนาอยางเปนพลวัต ศาสนาที่พวกเขายึดถือปฏิบัติไดผานกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ เกยวของกบการบกเบกผนปาเพอการเพาะปลกขาวและการตงชมชนหมบาน รวมถงเกยวพนกบ ี่  ั ุ ิ ื  ื่ ู  ั้ ุ ู  ึ ี่ ั ั วิถีการดําเนินชีวิตของชาวบานอยางใกลชิด ทามกลางความตื่นตัวของกระแสการเปลี่ยนแปลง แบบโลกาภิวัตนที่รุกลํ้าเขามาในวิถีชีวิตแบบชุมชนหมูบาน ความเชื่อทางศาสนาในวิถีชีวิต ประจําวันของชาวบานหลายประการไดถูกกลืนและสูญหายไปจากที่เคยเปนวิถีปฏิบัติของ ชาวบานมาแตอดีต ทั้งนี้วิถีปฏิบัติทางศาสนาของชาวบานมีรากฐานสําคัญมาจากความรูและ ประสบการณที่ไดรับจากวิถีการดําเนินชีวิตทางโลกแบบทองถิ่น ยิ่งไปกวานั้นพุทธศาสนาใน ฐานะที่เปนศาสนาหนึ่งในโลกที่มีขอบขายกวางกวาความเปนชาติพันธุและเชื้อชาติ ไมไดเพียง ประกอบขึ้นจากความรูหรือการตีความจากตําราคําสอนทางศาสนา แตไดประกอบขึ้นจากวิถี ปฏิบัติที่เปนอยูในแตละพื้นที่และแตละชวงเวลา ซึ่งสอดคลองกับความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณ ของสรรพสิ่งที่มีชีวิตอยูและตายไปในผืนปาและสังคมหมูบาน ในบริบทที่กลาวถึงนี้ผืนปาที่อยู รายลอมชุมชนหมูบานถูกมองเสมือนตัวแทนของปรโลก (หรือโลกแหงวิญญาณ) ที่มีอํานาจ และมอทธพลเหนอวถชวตของชาวบานในชมชน ซงรวมถงอทธพลจากสภาพแวดลอมทางสงคม ีิ ิ ื ิีีิ  ุ ึ่ ึ ิ ิ  ั การเมือง และเศรษฐกิจของทั้งระบบเศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจโลก หนงสอนพยายามจะศกษาตรวจสอบขอเทจจรงในวถปฏบตทางศาสนา โดยใหความ ั ื ี้ ึ  ็ ิ ิี ิ ั ิ  สาคญกบเงอนไขทางสงคมของวถปฏบตและวถชวตของคนในชมชน มากกวาประเดนแนวคดที่ ํ ั ั ื่ ั ิี ิ ั ิ ิีีิ ุ  ็ ิ
  • 3. นําเสนอในตําราคําสอนทางศาสนา ดังเชนทีมการศึกษาเกียวกับศาสนาฮินดูในภูมภาคเอเชียใต ่ ี ่ ิ แนวทางการศกษานตองการนาเสนอใหเหนความแตกตางทชดเจนระหวางตาราคาสอนศาสนา ึ ี้  ํ  ็  ี่ ั  ํ ํ 3 กับวิถีปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ดวยการใชแนวทางการศึกษาทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับพุทธศาสนาเถรวาทในภูมิภาคเอเชียอาคเนยในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งการศึกษาเหลานี้สวนใหญมีเปาหมายที่จะบูรณาการประเด็นความเชื่อทางพุทธศาสนาที่มี วัดเปนศูนยกลางผสมผสานกับความเชื่อทองถิ่น ที่มักจะเกี่ยวของกับความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทังหลายในหมูบานชนบท อยางไรก็ตาม เราตองรับรูและเขาใจในเบืองตนวาวาทกรรมสวนใหญ ้    ้ ในการศึกษาเหลานี้ ไมวาจะเปนการศึกษาทางมานุษยวิทยาหรือสังคมวิทยาชนบทลวนอยูบน สมมุติฐานเบื้องตนของ “ศาสนา” หรือ “พุทธศาสนา” ในลักษณะที่เปนแนวคิดการวิเคราะห ทั่วไปจากความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาของผูเขียนเอง พวกเขามักจะเริ่มจากการจําแนกศาสนา วาเปนพทธศาสนาหรอไมใชพทธศาสนา เราสามารถกลาวไดวาการศกษาเชนนไมไดตความผด   ุ ื   ุ   ึ  ี้   ี ิ จากความเปนจริง ซึ่งคนทองถิ่นสวนหนึ่งก็จําแนกในลักษณะเชนเดียวกันนี้ ในการศึกษานี้ผูเขียนยึดถือแนวทางหลักที่วา วาทกรรมและการจําแนกทางศาสนา ตองขนอยกบคนทองถน ซงเปนการจาแนกตามวถชวตและประสบการณของคนทองถนภายใต  ึ้ ู ั  ิ่ ึ่  ํ ิีีิ   ิ่ บรบทของความเปนทองถน เนองจากคนทองถนเปนทงผสรางและผปฏบตตามแนวทางศาสนา ิ   ิ่ ื่  ิ่  ั้ ู  ู ิ ั ิ ดงกลาว ทประกอบขนจากวถชวตทางโลกทมความหลากหลาย แนวทางนเี้ ปนประโยชนอยางมาก ั  ี่ ึ้ ิีีิ ี่ ี    ตอการจาแนกแยกแยะขอเทจจรงของศาสนาทปฏบตกนอยในกลมคนทองถน โดยไมจาเปนตอง  ํ  ็ ิ ี่ ิ ั ิ ั ู ุ  ิ่ ํ   ยึดถือแนวทางการจําแนกในลักษณะที่วา “ศาสนา” คือธรรมเนียมปฏิบัติตามตําราหรือคําสอน ทางศาสนา ในขณะที่ “ความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์” เปนการปฏิบัติที่ไมไดเปนไปตามตําราคําสอน อันเปนแนวคิดที่อนุมานขอเท็จจริงภายใตวาทกรรมของมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาที่มีตอ วิถีปฏิบัติหรือปรากฏการณที่ผานการสังเกตในระเบียบวิธีเฉพาะสาขาวิชา ซึ่งมักจะละเลย บรบทความเปนทองถน ทจรงแลวแนวคดการวเคราะหทางมานษยวทยาและสงคมวทยาเหลานี้ ิ   ิ่ ี่ ิ  ิ ิ  ุ ิ ั ิ  ไดชวยใหเราเขาใจในระดับหนึ่งถึงวิถีปฏิบัติในสังคมที่แตกตางจากสังคมของเรา แตอยางไร ก็ตาม คําอธิบายและความเขาใจนันอาจจะไมสอดคลองกับวิถปฏิบตทเี่ ปนจริงในทองถิน ขอบเขต ้ ี ั ิ ่ ระหวางการปฏิบัติทางศาสนาตามตําราและไมใชตามตําราที่ใชในกลุมนักวิชาการตะวันตกนั้น ยงมนยทไมชดเจนในการอธบายวถปฏบตทางศาสนาซงไมยดตดกบแนวคดเชงสถาบน แตเนน ั ี ั ี่  ั ิ ิี ิ ั ิ ึ่  ึ ิ ั ิ ิ ั   ถึงความสัมพันธสวนบุคคลระหวางผูนําศาสนากับสาวก ที่จริงแลวบริบทของวิถีปฏิบัติทางศาสนาไดพัฒนาขึ้นภายในวิถีชีวิตของประชาชน ไมใชสิ่งที่จะสามารถคนหาไดจากตําราทางศาสนา รวมทั้งขอบัญญัติหรือระเบียบขอบังคับทาง ศาสนาที่ประกาศใชโดยรัฐก็มีสวนเกี่ยวของเพียงสวนนอยตอสภาวะที่เปนจริงในวิถีปฏิบัติทาง
  • 4. ศาสนา ถาหากเราคิดวาขอกําหนดเชิงสถาบันสามารถนํามาใชไดทั่วไป โดยปราศจากความ 4 พยายามเขาใจความเปนทองถิ่นถึงการพัฒนาแบบแผนตาง ๆ ในวิถีปฏิบัติของชาวบานแลว จะไมสามารถเขาใจถึงลักษณะของวิถีปฏิบัติทางศาสนาในพื้นที่นั้นได แนวคิดเชิงวิเคราะห โดยทั่วไปที่ใชฝกฝนผูเชี่ยวชาญทั้งหลายในลักษณะที่เปนสากล และสามารถประยุกตไดกับ ทุกวัฒนธรรม เปนสิงทีไมสาคัญอะไรมากไปกวาเปนเพียงการคิดคนหลักเกณฑโดยนักวิชาการ ่ ่ ํ สาขาวิชาหนึ่งในชวงเวลาหนึ่งของอดีต แนวคิดในประเด็น “ศาสนา” และ “สิ่งศักดิ์สิทธิ์” หรือ ในประเด็น “วัดทางพุทธศาสนา” โดยความเปนจริงแลวควรเกิดขึ้นภายใตบริบทที่ผานคําบอก เลาของชาวบานที่ใชชีวิตอยูในวัฒนธรรมหรือทองถิ่นหนึ่ง ๆ ขอเท็จจริงนี้ควรนํามาใชเปนจุดเริ่มตนของการศึกษาวิถีปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ ไมใชวัฒนธรรมของผูเขียนเอง ที่จะทําใหผูเขียนสามารถปรับเปลี่ยนสิ่งที่เขาไดพบเห็น เพื่อให สอดคลองกับกรอบการวิเคราะหหรือระบบการใหความหมายไดงายขึน ดังนัน จึงเปนความจําเปน  ้ ้ ที่จะพิจารณาถึงบริบทที่เชื่อมตอกับบรรทัดฐานทางวัฒนธรรมของทองถิ่น แนวทางนี้ดูเหมือน เปนการศกษาสงทเปนวถปฏบตทแตกตางจากทฤษฎี ดวยการศกษามมมองและขอกาหนดทาง  ึ ิ่ ี่  ิ ี ิ ั ิ ี่   ึ ุ  ํ สังคมและประวัตศาสตรในวิถชวตของคนทองถิน เชนเดียวกันเมือศึกษาพุทธศาสนาเชิงปฏิบติ ิ ีีิ ่ ่ ั ของสังคมไทย-ลาว สถานะของวิถีปฏิบัติทางพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ๆ ภายใตบริบทของ สังคมทองถินนันตองนํามารวมพิจารณาใหชดเจนดวย กระบวนการเปลียนแปลงและผสมผสาน ่ ้ ั ่ ความรูทางศาสนาเขากับระบบความเชื่อของคนทองถิ่นสามารถที่จะศึกษาได เมื่อเราตระหนัก วาความรทางศาสนาสามารถพฒนาไปตามพลวตการเปลยนแปลงสภาพแวดลอมของทองถนใน  ู ั ั ี่   ิ่ แตละยุคสมัย นี่คือสิ่งที่เปนสวนประกอบของการขยายหรือปรับเปลี่ยนวิถีปฏิบัติทางศาสนาใน ปจจุบันของคนทองถิ่น ซึ่งรวมถึงพุทธศาสนาดวย พุทธศาสนาในเชิงสถาบัน ประเทศไทยซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาหลักของการศึกษานี้ เปนศูนยกลางของพุทธศาสนา เถรวาทของโลก และมีประชากรประมาณ 95% ที่นับถือพุทธศาสนาเถรวาท ทุกเชาจะมีพระ ภกษและสามเณรออกเดนบณฑบาตไปตามถนนโดยมพทธศาสนกชนรอใสบาตร นอกจากนในวด ิ ุ ิ ิ ี ุ ิ  ี้ ั ก็ยังมีประเพณีการบวชและการทําบุญในรูปแบบตาง ๆ ซึ่งลวนแตเปนภาพที่ดูแปลกตาสําหรับ คนตางชาติ พุทธศาสนาไดสรางสีสันในแงมุมตาง ๆ ใหแกประเทศไทย ซึ่งรวมถึงประเด็นใน เรองการเมอง สงคม และวฒนธรรมดวย คาอธบายของพทธศาสนาทมงอธบายใหชาวตางชาติ ื่ ื ั ั  ํ ิ ุ ี่ ุ ิ   เขาใจจงดกลายเปนสงทไรความหมาย สาหรบชาวพทธสวนใหญในสงคมไทยพทธศาสนาไมได  ึ ู  ิ่ ี่  ํ ั ุ   ั ุ 
  • 5. จํากัดอยูเฉพาะความรูในตําราคําสอนหรือเทศกาลตาง ๆ แตเปนวิถปฏิบตทกลายเปนสวนหนึง   ี ั ิ ี่ ่ ในวิถีชีวิตประจําวันของพุทธศาสนิกชน 5 ดังนั้น อะไรคือจุดเดน หรือลักษณะพิเศษของพัฒนาการทางประวัติศาสตร ของพุทธศาสนาเถรวาท พุทธศาสนาในฐานะที่เปนศาสนาหนึ่งในโลกเปนแหลงที่มาของ คําสอนและนิกายตาง ๆ มากมาย ทั้งนี้ตามเสนทางความเปนมาของการเผยแพรพุทธ- ศาสนา ไดมีการปรับเปลี่ยนคําสอนที่แตกตางกัน เนื่องจากการคัดลอกและแปลคําสอน ของพุทธศาสนา ซึ่งรวมถึงพุทธศาสนามหายานที่มีจํานวนพุทธศาสนิกชนมากที่สุดในโลก และพุทธศาสนาเถรวาทซึ่งมีอิทธิพลมากในเอเชียอาคเนย โดยเฉพาะพุทธศาสนิกชนใน ประเทศไทย ศรีลังกา พมา ลาว กัมพูชา จีนตะวันตกเฉียงใต และเวียดนามตอนใต ลวนแต เปนผูที่นับถือพุทธศาสนาเถรวาท ซึ่งอาจกลาวโดยรวมไดวา มีพุทธศาสนิกชนในสังกัดราว 100 ลานคนในปจจุบัน1 เมื่อเปรียบเทียบกับพุทธศาสนามหายานซึ่งใชคําสอนที่แตกตางกัน พทธศาสนาเถรวาทในแตละประเทศมระเบยบประเพณและพระธรรมวนยทมลกษณะคลายคลง ุ  ี ี ี ิ ั ี่ ี ั  ึ กันมาก เพราะใชคาสอน คําอรรถาธิบาย หรือบันทึกขอวิจารณตาง ๆ จากพระไตรปฎกภาษาบาลี ํ  เชนเดียวกัน แตเนื่องจากภาษาบาลีไมมีตัวอักษรเปนของตนเอง ทําใหการบันทึกคําสอน ตาง ๆ ถูกเขียนในภาษาที่แตกตางกันไปในแตละประเทศ ทั้งในภาษาศรีลังกา ภาษามอญ ภาษาพมา ภาษาเขมร และภาษาไทย ดงนน นกายตาง ๆ ในพทธศาสนาเถรวาทจงไมไดอยบน  ั ั้ ิ  ุ ึ   ู พืนฐานความแตกตางในพระธรรมวินย แตเปนความแตกตางของกระบวนการทางประวัตศาสตร ้ ั ิ ความเปนมาของทองถิ่น ยิ่งไปกวานั้น พุทธศาสนาเถรวาทในทุกประเทศถูกกําหนดคุณลักษณะโดยการบวช และการมีสวนรวมในคณะสงฆของพุทธศาสนิกชน คณะสงฆเปนสถาบันหนึ่งที่กําหนดวิถีการ ปฏิบตของพระสงฆแยกออกมาจากโลกียวิสยและอุทศตนเองหรือบําเพ็ญเพียรเพือใหหลุดพนจาก ั ิ ั ิ ่ วัฏสงสาร อันเปนจุดหมายสูงสุดของพุทธศาสนา การศึกษาแนวปฏิบัติในพุทธศาสนาเถรวาท ถูกกําหนดโดยการปฏิบัติตามศีล ซึ่งถือเสมือนเปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาที่ลวงละเมิดมิได เนืองจากการปฏิบตทมงบรรลุการหลุดพนดวยตนเอง และมีระเบียบประเพณีทกดกันผูหญิงจาก ่ ั ิ ี่ ุ ี่ ี  การบวชเปนพระภิกษุ พุทธศาสนาเถรวาทจึงถูกตังชือในเชิงเสียหายวาเปนพุทธศาสนาหินยาน ้ ่ ในความหมายเชิงตรงขามกับพุทธศาสนามหายาน ซึ่งเปนนิกายที่เกิดขึ้นในภายหลัง กษตรยของแตละกลมชาตพนธทปกครองประเทศตาง ๆ ในภมภาคเอเชยอาคเนยและ ั ิ  ุ ิ ั ุ ี่  ู ิ ี  ทางตะวันตกเฉียงใตของจีน ซึงประกอบดวยดินแดนทีเ่ รียกวาสิบสองปนนาและไตคง (Dehong) ่ ยอมรับเอาพุทธศาสนาเถรวาททีเผยแพรจากอินเดียผานมาทางศรีลงกาในชวงระหวางศตวรรษ ่ ั ที่ 12 ถึง 14 นอกจากนี้ในชวงระหวางศตวรรษที่ 15 ถึง 17 บรรดาผูปกครองในภูมิภาคเหลา
  • 6. นียงคงสืบทอดประเพณีเพือสรางความชอบธรรมในอํานาจทางการเมืองของตนในลักษณะทีเ่ ปน ้ั ่ 6 ผูนาทีมคณธรรม ดวยการปรับคําสอนของศาสนาพุทธทีรบมาจากศรีลงกา (Lieberman, 1993:  ํ ่ ี ุ ่ั ั 242) ซึ่ง Max Weber อธิบายเสริมวา เนื่องจากความจําเปนของพุทธศาสนาเถรวาทภายใต อุดมการณเพื่อการหลุดพนนั้นไมสามารถบรรลุไดโดยปราศจาการชี้นําของพระสงฆ (Weber, 1976: 329) โดยนัยนี้พุทธศาสนาถูกปฏิบัติโดยพระสงฆที่นาเลื่อมใสศรัทธา และภายใตการนํา ของกษตรยและราชสานก จงเปนศนยกลางของอานาจทางการเมองแบบดงเดมในภมภาคเอเชย ั ิ ํ ั ึ  ู  ํ ื ั้ ิ ู ิ ี อาคเนย อยางไรก็ตาม พุทธศาสนาเถรวาทยังคงสืบทอดเปนศาสนาในวิถชวตของคนในภูมภาค ีีิ ิ นี้ ซงสามารถสะทอนใหเ หนไดจากธรรมเนยมปฏบตของการทาบญถวายของใหพระสงฆหรอวด ึ่  ็  ี ิ ั ิ ํ ุ   ื ั โดยประชาชนสวนใหญยึดถือปฏิบัติจนกลายเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจําวัน ประเด็นคําถามวิจยของการศึกษานีคอ กลุมคนชาติพนธุไทย-ลาวในภาคอีสานของไทย ั ้ ื  ั  หรอทเี่ รยกวาคนไทยอสาน มวถปฏบตทางศาสนาในลกษณะทสอดคลองกบพทธศาสนาเถรวาท ื ี  ี ีิี ิ ั ิ ั ี่  ั ุ อยางไร มรปแบบอะไรบางทางพทธศาสนาทถกนาไปปฏบตโดยพทธศาสนกชนทไมสามารถจะ  ีู  ุ ี่ ู ํ ิ ั ิ ุ ิ ี่  อานคําสอนทางศาสนาได เพื่อที่จะตอบคําถามเหลานี้ เราตองจําแนกแยกแยะกระบวนการ ทางประวัตศาสตรเกียวกับการกอตัวของวิถการดําเนินชีวตทางโลกและรูปแบบของพุทธศาสนา ิ ่ ี ิ เชิงปฏิบัติในทองถิ่น ซึ่งประเด็นดังกลาวนี้เปนวัตถุประสงคหลักของหนังสือนี้ ในเบื้องแรก ควรเริ่มจากการพิจารณาถึงสถานะของภาคอีสาน อันเปนที่อยูอาศัย ของคนกลุมชาติพันธุไทย-ลาว ภายใตสถาบันพุทธศาสนาของไทยที่เนนการประกอบกิจกรรม ตาง ๆ ภายในวัด ใน พ.ศ. 2540 ในประเทศไทยมีวัดที่จดทะเบียนจํานวน 30,377 วัด (กรม การศาสนา, 2542 : 46) อยางไรก็ตาม ใน พ.ศ. 2526 เมื่อผูเขียนเริ่มเขาไปทํางานสนามใน หมูบานแหงหนึ่งของภาคอีสาน ขอมูลของวัดที่จดทะเบียนในประเทศไทยมีจํานวน 31,267 วัด2 ซึ่งในจํานวนนี้มีเพียง 1,767 วัด หรือ 5.7% ที่เปนวัดในเมือง ซึ่งหมายถึงวัดที่ตั้งอยู ในกรุงเทพมหานครและเขตเทศบาลเมืองหรือเทศบาลตําบล ที่มีประชากรมากกวา 10,000 คน ที่เหลือ 94.3% หรือ 29,500 วัด เปนวัดที่ตั้งอยูในหมูบานชนบท โดยเปรียบเทียบกับวัด ในประเทศญี่ปุน การกระจายตัวของวัดในประเทศญี่ปุนจะถูกกําหนดโดยจํานวน 1 วัดตอ 1 หมูบาน ขณะที่อัตราสวนในประเทศไทยใน พ.ศ. 2526 มีประมาณ 1 วัดตอ 2 หมูบาน3 ในปเดียวกันประมาณครึ่งหนึ่งของวัดในประเทศไทยคือ 15,705 วัด หรือ 50.2% ตั้งอยูใน ภาคอีสาน ซึ่งเปนภูมิภาคที่มีพื้นที่มากกวา 1 ใน 3 ของทั้งประเทศ และเปนที่อยูอาศัยของ ประชาชนมากกวา 1 ใน 3 ของประชากรทั้งประเทศ4 ภาคอีสานซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาวิจัยของ การศึกษานี้จึงเปนภูมิภาคที่มีความมั่นคงมากที่สุดของการนับถือพุทธศาสนาในประเทศไทย (cf. Tambiah, 1976: 275)
  • 7. พระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2505 ไดจําแนกวัดเปน 2 แบบ คือ วัดที่ไดรับ พระราชทานวิสุงคามสีมา ซึ่งถือเปนเขตสําคัญทางศาสนาเพื่อประกอบพิธีกรรมการบวชพระ 7 และสํานักสงฆที่ไมมีวิสุงคามสีมา5 พิธีกรรมบวชพระซึ่งถือเปนกาวแรกของการเขาเปนสมาชิก ในคณะสงฆสามารถดําเนินการไดเฉพาะในวัดแบบแรก เมื่อชาวบานมีความปรารถนาที่จะ กอตั้งวัดขึ้นใหม มักจะเริ่มจากการไดรับอนุมัติใหสรางสํานักสงฆขึ้นกอน และเพื่อที่จะสราง วิสุงคามสีมา ชาวบานตองยื่นเรื่องขออนุญาตจากนายอําเภอ การตัดสินใจสุดทายจะอยูที่กรม การศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ6 (ในขณะนั้น) ดังนั้น ในพื้นที่ชนบทสวนมากจึงมีสํานักสงฆ ในสดสวนทสงกวาวดทมวสงคามสมา ในชมชนทมสานกสงฆผทตองการจะบวชพระจาเปนตอง ั  ี่ ู  ั ี่ ี ิ ุ ี ุ ี่ ี ํ ั  ู ี่  ํ   ไปบวชที่วัดอื่นที่มีวิสุงคามสีมา หลังจากบวชเปนพระภิกษุแลวก็สามารถกลับมาจําพรรษาอยูที่ สํานักสงฆในหมูบานของตนได แมวาจํานวนสํานักสงฆของทั้งประเทศจะไมชัดเจน แตเฉพาะในภาคอีสานใน พ.ศ. 2526 มีศาสนสถานที่จดทะเบียนเปนสํานักสงฆจํานวน 10,077 แหง ยิ่งไปกวานันยังมีพระสงฆ ้ ในภูมภาคนีอกสวนหนึงทีจาพรรษาอยูในทีพกสงฆชวคราว ทีไมไดอยูในขายการจัดเปนสํานักสงฆ ิ ้ี ่ ่ํ  ่ ั ั่ ่  หรือวัดและไมปรากฏอยูในสถิติของกรมการศาสนาอีกดวย ประเด็นสําคัญที่ควรพิจารณา ในที่นี้คือ ถาหากไมพิจารณาในประเด็นความแตกตางทางกฎหมาย ประชาชนในภูมิภาคนี้ มักจะเรียกศาสนสถานทั้ง 3 แบบนี้วา “วัด” เชนเดียวกันหมด ยิ่งไปกวานั้นในศาสนสถาน ประเภทวัดยังมีการจําแนกประเภทของวัดเปนวัดอารามหลวงและวัดราษฎร ในขอมูลสถิติ ตั้งแตประกาศใชพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2505 แมวาการจําแนกดังกลาวนี้จะไมไดใช จาแนกอยางเปนทางการและเครงครด แตโดยทวไปแลวในประเภทวดอารามหลวงนน ประกอบ ํ    ั  ั่  ั ั้ ดวยวัดที่สรางโดยพระมหากษัตริยหรือจดทะเบียนภายใตการอนุมัติของราชสํานัก สวนวัด อื่น ๆ ทั้งหมดนอกจากนี้ถือเปนวัดราษฎร7 ใน พ.ศ. 2526 ทั้งประเทศมีวัดอารามหลวงเพียง 202 วัด หรือ 0.65% เทานั้น และในจํานวนนี้เปนวัดอารามหลวงที่ตั้งอยูในเขตเมืองจํานวน 83 วัด8 กลาวไดวาวัดเกือบทั้งหมดในภาคอีสานเปนวัดราษฎร ซึ่งที่จริงแลวถือเปนธรรมเนียม ปฏิบตของคนทองถินทีจะสรางและพัฒนาวัดขึนเอง อันเปนลักษณะแตกตางจากวัดในประเทศ ั ิ ่ ่ ้ ญี่ปุนที่ไมเปนสถาบันหรือองคกรที่จัดตั้งขึ้นโดยประชาชนที่อาศัยอยูในเขตศาสนสถานหนึ่ง ๆ และไมไดเปนสถานที่ที่เปดเผยตอบุคคลภายนอกในลักษณะทั่วไป ความแตกตางทีเดนชัดอีกประการหนึ่งของคณะสงฆไทยในปจจุบัน คือการแบงเปน ่ 2 นกาย คอ มหานกายและธรรมยตกนกาย ธรรมยตกนกายไดรบการกอตงโดยพระบาทสมเดจ ิ ื ิ ุ ิ ิ ุ ิ ิ ั  ั้ ็ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 (ครองราชยระหวาง พ.ศ. 2394-2411) ใน พ.ศ. 2379 โดยมุงเนนสนับสนุนการกลับไปใชตําราหรือหนังสือพระธรรมที่เปนภาษาบาลี โดยมีจุดเริ่มตน
  • 8. ในลักษณะทีเ่ ปนปฏิกรยาตอความเสือมของพุทธศาสนาในสังคมไทยในขณะนัน รวมทังเปนการ ิิ ่ ้ ้ 8 สืบทอดมาจากประเพณีปฏิบัติของคณะสงฆมอญและพมา การกําหนดเรียกมหานิกายสําหรับ นิกายที่มีอยูแลวเกิดขึ้นในลักษณะคูขนานกับธรรมยุติกนิกาย ซึ่งมีวิถีปฏิบัติที่แตกตางเดนชัด จากมหานิกาย คือมีความแตกตางกันในการออกเสียงสวดมนตภาษาบาลี วิธีการถือบาตรของ พระสงฆ และวิธีการสวมจีวร สัดสวนของวัดธรรมยุตในประเทศไทยมีเพียงประมาณ 5% ใน พ.ศ. 25269 แตแมวาจะเปนพระสงฆสวนนอย ธรรมยุติกนิกายถูกพิจารณาวามีอํานาจและ อิทธิพลทางสังคมสูงกวามหานิกาย ทั้งนี้ไมใชเพียงเพราะวามีวิถีปฏิบัติที่เครงครัด แตยังรวม ถึงการมีสัมพันธภาพที่ใกลชิดกับราชสํานัก ซึ่งเปนผลใหมีการแพรขยายแนวปฏิบัติของธรรม- ยุติกนิกายผานทางราชสํานักไปยังประเทศเพื่อนบานที่นับถือพุทธศาสนาเถรวาท คือ กัมพูชา และลาว และภายหลังยังไดเผยแพรไปยังประเทศอินโดนีเซียอีกดวย อยางไรก็ตาม ความ แตกตางระหวางธรรมยุตกนิกายและมหานิกายไมปรากฏในพระธรรมวินย แตปรากฏในวิถการ ิ ั ี ปฏิบัติและพิธีกรรมดังที่ไดกลาวแลวขางตน ดังนั้น ทั้ง 2 นิกายจึงไมไดถูกพิจารณาวาแยก จากกันโดยเด็ดขาด ในทางกฎหมายแลวทั้ง 2 นิกายเปนของคณะสงฆไทยเชนเดียวกัน และ พทธศาสนกชนกไมมความรสกวาตนเองตองเลอกสงกดอยในนกายใดนกายหนงเปนการเฉพาะ ุ ิ ็  ี ู ึ   ื ั ั ู ิ ิ ึ่  แมวาธรรมยุติกนิกายไดถูกกอตั้งขึ้นจากราชสํานัก และวัดของฝายธรรมยุตสวน ใหญตงอยในเขตเมอง แตวดทเี่ ปนสาขาแรกของธรรมยตกนกายถกตงขนในจงหวดอบลราชธานี  ั้ ู ื ั  ุ ิ ิ ู ั้ ึ้ ั ั ุ ของภาคอีสานในราวกลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งในขณะนั้นยังไมมีการเคลื่อนไหวปฏิรูปทางศาสนา ทีชดเจน รายละเอียดทางประวัตศาสตรทอยูเบืองหลังการพัฒนานีจะนําเสนออีกครังในบทที่ 5 ่ั ิ ี่  ้ ้ ้ แตควรจะบันทึกไว ณ ที่นี้วาพุทธศาสนาในภาคอีสานไดเริ่มเปดชองทางเชื่อมตอกับศูนยกลาง ระดับชาติตงแตในชวงกอนทีพทธศาสนาจะถูกยอมรับในเชิงปฏิบตใหเปนศาสนาประจําชาติไทย ั้ ่ ุ ั ิ การเขาถึงความเปนทองถิ่น หนังสือเลมนี้พยายามที่จะนําเสนอประวัติศาสตรชาติพันธุทองถิ่นของศาสนาและ สังคมไทย-ลาว ในรูปแบบที่สะทอนใหเห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงในสังคมปจจุบัน แทนที่ จะเนนการศึกษาเพือคนหาแหลงกําเนิดของคนชาติพนธุไทย-ลาว หนังสือนีนาเสนอขอมูลสังคม ่ ั  ้ ํ ไทย-ลาวในเชิงประวัติศาสตรที่ชี้ใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางกลุมชาติพันธุในภูมิภาคและ ระหวางชาติ ในขณะเดยวกนหนงสอนยงพยายามสะทอนภาพการเปลยนแปลงทปรากฏภายใน  ี ั ั ื ี้ ั  ี่ ี่ กลมชาตพนธหนงในผนแผนดนเอเชยอาคเนย ดวยการอธบายผานลกษณะชาตพนธตลอดชวง ุ ิ ั ุ ึ่ ื  ิ ี  ิ  ั ิ ั ุ  เวลาที่ผานมา
  • 9. ผูเขียนพยายามคนหาแนวคิดทฤษฎีที่เชื่อมโยงกลุมชาติพันธุกับความเปนภูมิภาค วิถชวตประจําวัน และความเปนชาติ ผานมุมมองพุทธศาสนาเชิงปฏิบตและการเปลียนแปลงของ ีีิ ั ิ ่ 9 ความเลือมใสศรัทธาในเรืองผี แนวทางนีมสวนสัมพันธกบกรอบแนวคิดการศึกษาทีพฒนาขึนมา ่ ่ ้ ี ั ่ ั ้ จากทงแนวคดชาตพนธวทยาทางศาสนาและแนวคดสงคมวทยาเปรยบเทยบ งานศกษานไดขยาย ั้ ิ ิ ั ุ ิ ิ ั ิ ี ี ึ ี้  แนวคดจากการศกษาเรองศาสนาเชงปฏบตของ Stanley J. Tambiah ซงไดนาเสนอการตความ ิ ึ ื่ ิ ิ ั ิ ึ่  ํ ี ในเชงโครงสรางหนาทของการบรณาการระบบศาสนาทแตกตางกนในภาพรวม โดยเนนในเรอง ิ   ี่ ู ี่  ั  ื่ ชาติพันธุวิทยาทางศาสนาและเนนบริบทของศาสนาหนึ่งมากกวาบริบทของหมูบาน เพื่อที่จะ จําแนกแบบแผนใหมสําหรับการศึกษาศาสนาและสังคม แนวความคดทนาเสนอในแตละบท เปนการนาเสนอถงรปแบบการกอตวของวถปฏบติ ิ ี่ ํ   ํ ึ ู  ั ิี ิ ั ในศาสนาหมูบาน (village religion) จากมุมมองของปฏิสัมพันธระหวางกันของคนกับโลกของ ปา สังคมไทย-ลาวสะทอนใหเห็นถึงลักษณะเฉพาะของสังคมที่บุกเบิกตั้งถิ่นฐานชุมชนจากการ ยายถิ่น ซึ่งมักจะเปนการขยับขยายเขาไปบุกเบิกพื้นที่รกรางวางเปลา และโดยเงื่อนไขดังกลาว นมกจะถกมองโดยนกวชาการบางกลมวาเปนกลไกหนงของการเชอมตอทางสงคมกบความเปน ี้ ั ู ั ิ ุ   ึ่ ื่  ั ั  เมืองหรือรัฐชาติ (cf. Condominas, 1970, 1990) เบื้องหลังของมุมมองนี้อยูบนพื้นฐานขอเท็จ จริงที่วา การคงอยูของผืนปาเปนสิ่งตรงขามกับวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชน คําวา “ปา” ที่ ถูกใชในที่นี้มีนัยที่อยูเหนือกวาความหมายสมัยใหมของรูปแบบที่เปนสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ของปาไม แตเปนคําอุปมาทีชวยอธิบายถึงความเปนมาและการตอรองแลกเปลียนระหวางกลุม ่ ่  ชนพื้นเมืองและกลุมคนที่อพยพมาทีหลัง ซึ่งเปนปรากฏการณที่เห็นไดทั่วไปในภูมิภาคเอเชีย อาคเนย ลักษณะเชนนี้เปนเงื่อนไขสําคัญที่มีผลใหเกิดสภาพที่หลากหลายของการจําแนกวิถี ปฏิบัติทางศาสนา แมแตภายในภูมิภาคเดียวกันประชาชนที่อยูในแตละภูมิภาคไดขัดเกลา มมมองทเี่ ปน “ปรชญาชวต” ของพวกเขา ซงรวมถงจตสานกทางโลกทไรขอบเขตกบจตสานกทาง ุ  ั ีิ ึ่ ึ ิ ํ ึ ี่  ั ิ ํ ึ สังคมทีมขอบเขตจํากัด ในทางกลับกันปรัชญานีในปจจุบนกําลังแตกทําลายไปภายใตอทธิพลของ ่ ี ้ ั ิ โลกาภิวัตน ซึ่งสงผลกระทบตอจิตสํานึกทางสังคม ในสถานการณเชนนี้เปนความไมเหมาะสม ที่จะพยายามตีความประเด็นนี้ในลักษณะที่เปนความกาวหนาหรือเปนการพัฒนาเชิงเดี่ยว ผูเขียนพยายามอยางยิ่งที่จะนําเสนอประสบการณของชาวบาน ในลักษณะที่เปนสวนหนึ่งของ สภาพแวดลอมและความสัมพันธที่ซับซอนและหลากหลายมิติที่เกี่ยวกับปา ในลักษณะที่เปน สวนประกอบสําคัญของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของพวกเขา จากความพยายามที่จะอธิบายให ชัดเจนถึงขอบเขตทางศาสนาที่ปรากฏและการเปลี่ยนแปลงภายในสังคมหมูบานในภาคอีสาน ของไทย งานศึกษานี้จึงเปนงานที่มุงนําเสนอภาพทางสังคมของวิถีปฏิบัติทางศาสนาในพื้นที่ ศึกษาหนึ่ง เนื่องจากแนวคิดที่ใชในการศึกษาจํากัดที่หมูบานของกลุมชาติพันธุไทย-ลาว ซึ่ง
  • 10. เปนสวนหนงของกลมชาตพนธไท (Tai) การศกษานจงมลกษณะเปนชาตพนธวทยาทางศาสนา   ึ่ ุ ิ ั ุ ึ ี้ ึ ี ั  ิ ั ุ ิ 10 ในพื้นที่เปาหมายเฉพาะ โดยความเปนจริงแลว ยิงคนคนหนึงถูกดูดกลืนเขาเปนสวนหนึงในวิถชวตประจําวัน ่ ่ ่ ีีิ ของคนในชมชนหนงมากเทาไร คนคนนนกจะยงมคณลกษณะเฉพาะทางชาตพนธนอยลง และ ุ ึ่  ั้ ็ ิ่ ี ุ ั ิ ั ุ  จะเริ่มรูสึกวาแนวคิดเกี่ยวกับโลกและพฤติกรรมทางสังคมของตนมีความสมบูรณ และสามารถ อธบายไดชดเจนในชมชนนนเอง ทงนกลาวไดวาในการศกษาสงคมหนง ๆ คาอธบายของผคน ิ ั ุ ั้ ั้ ี้    ึ ั ึ่ ํ ิ ู ที่อพยพเขาไปอยูในพื้นที่นั้นมักจะมีความแตกตางเมื่อเปรียบเทียบกับคําอธิบายที่บันทึกอยาง เปนทางการโดยผูปกครอง ไมวาจะเปนในประเด็นลักษณะทางภูมิศาสตรของภูมิภาค ความ เปนสถาบันตาง ๆ อยางเชน “กลุมชาติพันธุ” หรือ “รัฐ” ซึ่งเปนเงื่อนไขที่ตองเผชิญหนาซึ่งกัน และกน รวมถงองคประกอบของวถการปฏบตทางศาสนากปรากฏในหลายรปแบบตามความคด ั ึ  ิี ิ ั ิ ็ ู ิ และมมมองของแตละฝาย ดวยเหตผลเหลานงานศกษานจงพยายามทจะอธบายการปฏบตทาง ุ    ุ  ี้ ึ ี้ ึ ี่ ิ ิ ั ิ ศาสนาของประชาชน จากมุมมองของคนทองถิ่นตามวิถีปฏิบัติจริงของพวกเขา ในขณะทีกลุมคนทีถกศึกษาในครังนี้ ถูกเรียกทังโดยนักภาษาศาสตรและกลุมคนภาษา ่  ู่ ้ ้  อืน ๆ ในภาคอีสานวาเปน “คนลาว” ในทางตรงขามกับคนกรุงเทพฯ และคนลาวในประเทศลาว ่ ที่มักเรียกคนกลุมนี้วา “คนอีสาน” คําวา “ลาว” นั้นไมไดหมายถึงเฉพาะเอกลักษณของคนใน ชมชนหมบาน แตยงหมายรวมถงความสมพนธระหวางภมภาคตาง ๆ และระหวางชนชาตตาง ๆ ุ ู  ั ึ ั ั   ู ิ   ิ  ที่รวมกันอยูในหมูบาน และภายในกลุมชาติพันธุที่แตกตางกันทางประวัติศาสตร ประเด็น นี้สะทอนใหเห็นไดจากประสบการณสนามของผูเขียนเอง ซึ่งผูเขียนเพิ่งเริ่มสังเกตเห็นไดถึง ความสัมพันธของชุมชนที่มีตอความเปนภูมิภาคและรัฐชาติก็ตอเมื่อหลังจากที่ไดออกมาจาก ชมชนทศกษาแลว รวมถงการไดออกจากเครอขายความสมพนธของหมบานไทย-ลาวในภาคอสาน ุ ี่ ึ  ึ  ื  ั ั  ู  ี และไดขามพื้นที่ไปศึกษาสังคมลาวที่แตกตางกันในประเทศลาว10 ทั้งนี้คําวา “สังคมลาว” ที่ใช ในการศกษานไดตงใจทจะอธบายปรากฏการณทางสงคมและศาสนาทปรากฏภายในกรอบเวลา ึ ี้  ั้ ี่ ิ  ั ี่ ทางประวตศาสตรของทองถนแหงหนงในภมภาคเอเชยอาคเนย และยงเปนการจาแนกลกษณะ ั ิ   ิ่  ึ่ ู ิ ี ั  ํ ั ทั่วไปของกลุมสังคมหนึ่งที่ใชในการอธิบายและทําความเขาใจถึงแบบแผนรวมกันทางภาษา และระเบียบประเพณีทางศาสนาภายในภูมิภาคที่พวกเขามีปฏิสัมพันธใกลชิดกัน หรือกลาวอีก นัยหนึ่งคํานี้เปนกรอบแนวคิดที่อธิบายโดยศึกษาจากปรากฏการณสังคมตาง ๆ ประเด็นหนึ่งที่ จะเหนไดในบทตอไปคอ คนรนใหมจากภาคอสานซงเปนแหลงทอยอาศยของกลมคนทใชภาษา ็   ื ุ  ี ึ่   ี่ ู ั ุ ี่  ไทย-ลาวนั้น เกือบจะไมยินยอมเรียกตนเองวาเปน “คนลาว” อีกตอไป คาวา “ไทย-ลาว” ไมเ พยงแตถกใชจาแนกเพอเปรยบเทยบกบกลมคนทไมใชชาตพนธุ ํ  ี ู ํ ื่ ี ี ั ุ ี่   ิ ั ลาวโดยคนลาวในประเทศลาว แตยงรวมถงความหมายทเปนชาตนยมลาวซงมงใชเพอการผสม ั ึ ี่  ิ ิ ึ่ ุ  ื่
  • 11. กลมกลืนชนพืนเมืองอืน ๆ ใหเปน “ลาว” ทังนีคนลาวมีประมาณครึงหนึงของประชากรหลากหลาย ้ ่ ้ ้ ่ ่ ชาติพันธุในประเทศลาว ถาเรามีสมมุติฐานวาไมเคยมีการจําแนกกลุมชาติพันธุใดมากอนใน 11 ทุกยุคทุกสมัยหรือในที่อื่นใด (นอกจากการจําแนกที่กําหนดขึ้นมาโดยนักวิชาการ) ดังนั้น คําวา “สังคมลาว” จึงไมไดเพียงแสดงนัยทางดานพันธุกรรม แตคานีมความหมายในนัยทีสะทอน ํ ้ ี ่ ถึงขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรของประชาชนที่ปจจุบันอาศัยอยูใน 2 ประเทศตางกัน ซึ่งใน อดีตเคยถูกพิจารณาวาเปนกลุมชาติพนธุเ ดียวกัน อยางนอยทีสดก็อยูภายใตการปกครองเดียวกัน  ั ุ่  ในชวงระหวางศตวรรษที่ 19 และ 20 ยิ่งไปกวานั้นคําวา “สังคมลาว” ยังมีนัยสําคัญในบริบท ของชนกลุมนอยอื่น ๆ ทีอาศัยอยูรวมกับคนลาว มีตัวอยางมากมายในปจจุบันที่ประชาชนของ ่ กลุมชาติพนธุเ ดียวกันทีมลกษณะรวมทางภาษาและประเพณี ไดมการพัฒนาไปสูความเปนสังคม  ั ่ ีั ี  ทแตกตางกน คนลาวในปจจบนจงประกอบดวย 2 สงคมดงทกลาวมาแลว โดยการพจารณาถง ี่  ั  ุ ั ึ  ั ั ี่   ิ ึ ขอเทจจรงทางประวตศาสตร กระบวนการเปลยนแปลงทางสงคมและวฒนธรรมในสงคมทงสอง  ็ ิ ั ิ ี่ ั ั ั ั้ และพลวัตของกลุมชาติพันธุตาง ๆ ยังสามารถศึกษาวิเคราะหใหชัดเจนยิ่งขึ้นได โดยทั่วไปแลวมักจะเปนคนนอกที่อธิบายกลุมชาติพันธุหนึ่ง ๆ ดวยการจําแนกทาง วฒนธรรมแลวจงกาหนดชอให คาเรยก “สงคมลาว” กเ็ ปนเชนเดยวกนถกกาหนดขนโดยคนนอก ั  ึ ํ ื่ ํ ี ั   ี ั ู ํ ึ้ ทั้งโดยกลุมคนที่เปนเพื่อนบานและคนตางชาติ จริง ๆ แลวการจําแนกไมควรพิจารณาที่ภาษา หรือชื่อที่ถูกกําหนดขึ้น แตควรจะพิจารณาถึงความเปนจริงในชีวิตประจําวันของกลุมคนที่พูด ภาษานั้น แนวคิดและความเขาใจที่ใชในหนังสือเลมนี้ลวนมีพื้นฐานมาจากคําทั้งหลายที่ใช โดยคนทองถิ่นและคนนอก ทุกครั้งที่ผูเขียนไดมีโอกาสเขาไปเยี่ยมเยียนกลุมชาติพันธุตาง ๆ ความรูสึกของการพบกับกลุมชาติพันธุเฉพาะคอย ๆ เลือนหายไป กลายเปนความรูสึกของ การเยี่ยมเยียนหมูบานหนึ่งและทองถิ่นหนึ่ง กลุมคนที่ผูเขียนไดพบและไดรวมแบงปนเวลาและ สถานทีรวมกันนัน ลวนเปนกลุมคนทีมประสบการณและแบบแผนทางประวัตศาสตรของตนเอง ่ ้  ่ ี ิ พวกเขาใหคําอธิบายไวอยางนาประทับใจวาศาสนาที่พวกเขาปฏิบัติไมสามารถแยกออกจาก แบบแผนชีวิตของคนทองถิ่นที่อาศัยอยูที่นั่นได ขอมูลที่จะนําเสนอในบทตอ ๆ ไปนี้ เปนผลของการศึกษาเชิงประจักษในหมูบาน ไทย-ลาวหลายแหง11 การอภิปรายในสวนตาง ๆ ที่เหลือของบทแรกนี้เปนการสรุปถึงการศึกษา ที่ผานมาเกี่ยวกับวิถีการปฏิบัติทางศาสนาในประเทศไทย เพื่อที่จะแนะนําคําสําคัญตาง ๆ ที่ ใชในหนังสือเลมนี้ ซึ่งใชอธิบายถึงความเปนจริงที่เปนพลวัตของวิถีการปฏิบัติ ในลักษณะที่ มักจะถูกกําหนดลวงหนาวาเปนพุทธศาสนาหรือไมใชพุทธศาสนาจากระบบเหตุผลที่สืบทอด มา เราจําเปนตองศึกษาใหเขาใจจากบริบทของภูมิภาคนั้น ๆ ในบทที่ 2 และบทที่ 3 เปน ความพยายามจะอธิบายใหชัดเจนถึงสถานะของความเปนไทย-ลาวและความสัมพันธที่มีตอ