SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  71
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดการความรู้
(Knowledge
       Management)
                           ผศ.พญ.ยุวรีย์ พิชิตโชค
               รองผอก.ฝ่ายทรัพยากรบุคคล รพ.จุฬา
           คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                  มิถุนายน 2555
หัวข้อ
•   ความสาคัญของการจัดการความรู้
•   ความรู้คืออะไร
•   ประเภทของความรู้
•   ทาไมต้อง KM
•   KM คืออะไร
•   วงจรของ KM
•   กระบวนการของ KM
•   ปัจจัยที่ทาให้ KM ประสบความสาเร็จ
•   เครื่องมือ KM ที่สาคัญ
ความสาคัญของการจัดการความรู้
• Knowledge-Based Economy “การเเข่งขันในยุคปัจจุบัน
  จะขึ้นกับความสามารถขององค์กรในการสร้าง และใช้
  สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ ในการเพิ่มคุณภาพ ลดต้นทุน
  ลดระยะเวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ๆ
  สร้างนวัตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการและความ
  คาดหวังของลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว”
• Intangible assets เช่น ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์
ความสาคัญของการจัดการความรู้
• ความรู้เป็นสินทรัพย์ที่มีคามากที่สุดขององค์กร
                             ่
• เป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีขีดจากัด ยิงใช้ยิ่งเพิ่ม ยิงใช้มากเท่าไรก็ยิ่ง
                                   ่              ่
  เพิ่มคุณค่ามากขึ้นเท่านั้น
• ยิ่งองค์กรมีความรู้มากเท่าไร ก็ยิ่งสามารถเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆได้
  มากขึ้นเท่านั้น เมื่อเรียนรู้ได้มากก็สร้างความรู้ใหม่ได้มากขึ้น
• เมื่อนาความรู้เก่ามาบูรณาการกับความรู้ใหม่ก็ก่อให้เกิดความรู้
  ใหม่ๆมากขึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นไม่มีที่
               ้
  สิ้นสุด
การจัดการความรู้ไม่ใช่ของใหม่
ความรู้คืออะไร
Hideo Yamazaki ให้คาจากัดความ
                                    ปัญญา
    ของความรู้ในรูปปิรามิด
                                  (Wisdom)

                                   ความรู้
                                (Knowledge)


                                  สารสนเทศ
                                (Information)

                                    ข้อมูล
                                   (Data)
ประเภทความรู้
   แนวคิดของ Ikujiro Nonaka ความรู้อาจแบ่งใหญ่ๆ ได้ ๒
ประเภท คือ
1. ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบ
   ที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ อยู่ในตารา คู่มือปฏิบัติงาน
2. ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่
   แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนาน เป็นภูมิ
   ปัญญา
20%




80%
KNOWLEDGE SPIRAL
                                         TACIT


                       SOCIALIZATION             EXTERNALIZATION
       TACIT                                                       EXPLICIT
                       INTERNALIZATION              COMBINATION



                                         EXPLICIT




ที่มา:วงจรจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฎิบติ
                                         ั
บุญดี บุญญกิจและคณะ
ใน ชีวิตจริง ความรู้ ๒ ประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานภาพ
สลับปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลา บางครั้ง Tacit ก็ออกมา
เป็น Explicit และบางครั้ง Explicit ก็เปลี่ยนไปเป็น
                        Tacit
ทาไมต้องทา KM
ปัญหาจากการปฏิบัติงาน
•   คนย้ายไปแล้วทางานไม่ถก       ู
•   ทาไม่ได้ถามใครดี
•   เจ้าหน้าที่ไม่มา ตามงานไม่ได้
•   ทาแต่แบบเดิม ๆ ไม่รู้จะพัฒนา?
•   เรื่องนี้ต้องถามพี่.... เท่านั้น
•   คู่มือไม่มี ทุกอย่างอยูในหัวผม
                             ่
•   เจ้าหน้าที่มาใหม่ ไม่มีใครสอนงาน
ปัญหาจากการออกจากงาน
•   ลาออก
•   ให้ออก
•   เลิกจ้าง
•   ไล่ออก
•   เกษียณ
•   โอนย้าย
นิยามของ “การจัดการความรู”
                                  ้
RYOKO TOYAMA
     “KM.หมายถึงการจัดการเพื่อเอื้อให้เกิดความรู้ใหม่
      โดยใช้ความรู้ที่มีอยู่และประสบการณ์ของคนใน
     องค์การอย่างมีระบบเพื่อพัฒนานวัตกรรมที่จะทา
        ให้มความได้เปรียบเหนือคู่แข่งทางธุรกิจ”
             ี
นิยามของ “การจัดการความรู”
                                     ้
Carla O’Dell และ Jackson Grayson
“การจัดการความรู้ เป็นกลยุทธ์ในการที่จะทาให้คนได้รับความรู้ที่ต้องการ
ภายในเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งช่วยทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนและนาความรู้
 ไปปฏิบัติเพื่อยกระดับและปรับปรุงการดาเนินงานขององค์กร ทั้งนี้ การ
  จัดการความรูไม่ใช่เครื่องมือที่จัดการกับตัวของความรู้โดยตรงแต่เป็น
                ้
       วิธีการที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ทมีระหว่างกันได้”
                                                ี่
นิยามของ “การจัดการความรู”
                                  ้

European Foundation for Quality Management
(EFQM)
 “การจัดการความรู้ เป็น กลยุทธ์ และกระบวนการในการ
  จาแนก จัดหาและนาความรู้มาใช้ประโยชน์เพื่อช่วยให้
    องค์กรประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้”
นิยามของ “การจัดการความรู”
                                    ้
ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช
 “การจัดการความรู้ หมายถึง การยกระดับความรู้ขององค์กร เพื่อ
   สร้างผลประโยชน์จากต้นทุนทางปัญญา โดยเป็นกิจกรรมที่
 ซับซ้อนและกว้างขวาง ไม่สามารถนิยามเป็นถ้อยคาสั้นๆ ต้องให้
                    นิยามหลายข้อ” ได้แก่
นิยามของ “การจัดการความรู”
                                     ้
ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช
• การรวบรวม การจัดระบบ การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้าง
  เป็นความรู้ เทคโนโลยี่ด้านข้อมูล และคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
  ช่วยเพิ่มพลังในการจัดการความรู้ แต่โดยตัวมันเองไม่ใช้การจัดการ
  ความรู้
• ซึ่งสิ่งสาคัญ คือวัฒนธรรมองค์กร
• กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับคน ได้แก่ การดึงดูดคนดีและเก่ง การพัฒนา
  คน การติดตามความก้าวหน้าของคน และดึงคนที่มีความรู้ไว้ใน
  องค์กร ถือเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้
• การจัดการความรูต้องอาศัยผู้รู้ในการตีความและประยุกต์ใช้ความรู้
                     ้
  ในการสร้างนวัตกรรม
การจัดการความรู้ คือ
 “KM.เป็นกระบวนการในการนาความรู้ที่มีอยู่หรือที่ได้จาก
การเรียนรู้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร โดยผ่าน
  กระบวนการต่างๆเช่น การสร้าง การจัดเก็บ รวบรวม
            การแลกเปลี่ยนและการใช้ เป็นต้น”
องค์ประกอบสาคัญของการจัดการความรู้

                 คน




                      กระบวนการ
    เทคโนโลยี่          ความรู้
การจัดการความรู้แบบ 3 มิติ


           วงจร KM


                  KM
  ปัจจัยเอื้อ
                process
องค์ประกอบหลักของวงจร KM
   การเรียนรู้            การวัดผล            การยกย่องชมเชยและให้รางวัล
   (Learning)           (Measurement)               (Measurement)


                                                                              เป้าหมาย
                                                                            (Desired State)



กระบวนการและเครืองมือ
                  ่          การสื่อสาร        การจัดการการเปลี่ยนแปลงและ
  (Process and Tools)     (Communication)                 พฤติกรรม
                                            (Transition and BehaviorManagement)
Desired State
•   การกาหนด ”เป้าหมาย” ของการจัดการความรู้ที่องค์กรต้องการ
•   เป็นสิ่งแรกที่ต้องทา
•   ต้องการผลลัพธ์อะไรจากการจัดการความรู้
•   ผลลัพธ์จะต้องสอดคล้องกับทิศทางการดาเนินธุรกิจ และ
    สามารถเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กรได้
เป้าหมายของการจัดการความรู้
• คือ เครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการ
  ไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมาย
  การพัฒนาคน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็น
  องค์กรแห่งการเรียนรู้
• ดังนั้นการจัดการความรูจงไม่ใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง เมื่อไร
                           ้ ึ
  ก็ตามที่มีการเข้าใจผิด เอาการจัดการความรู้เป็นเป้าหมาย ความ
  ผิดพลาดก็เริ่มเดินเข้ามา อันตรายที่จะเกิดตามมาคือ การจัดการ
  ความรู้เทียม หรือ ปลอม เป็นการดาเนินการเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่า
  มีการจัดการความรู้เท่านั้นเอง
แรงจูงใจในการริเริ่มการจัดการความรู้
• แรงจูงใจแท้ต่อการดาเนินการจัดการความรู้ คือ เป้าหมายที่งาน คน
  และองค์กร เป็นเงื่อนไขสาคัญ ในระดับที่เป็นหัวใจสูความสาเร็จใน
                                                   ่
  การจัดการความรู้
• แรงจูงใจเทียมต่อการดาเนินการจัดการความรู้ในสังคม เช่น
   – ทาเพราะถูกบังคับตามข้อกาหนด กล่าวคือ ทาเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่าทา
   – ทาเพื่อชื่อเสียง ทาให้ภาพลักษณ์ขององค์กรดูดี
   – มาจากความต้องการผลงานของหน่วยย่อยภายในองค์กร เช่น หน่วยพัฒนา
     บุคลากร (HRD) หน่วยสื่อสารและสารสนเทศ (ICT) หรือหน่วยพัฒนา
     องค์กร (OD)
   – อาจมาจากคนเพียงไม่กคน ที่ชอบของเล่นใหม่ๆ ชอบกิจกรรมที่ดทนสมัย
                             ี่                                   ู ั
     เป็นแฟชั่น แต่ไม่เข้าใจความหมายและวิธการดาเนินการจัดการความรู้อย่าง
                                           ี
     แท้จริง
องค์ประกอบหลักของวงจร KM
   การเรียนรู้            การวัดผล            การยกย่องชมเชยและให้รางวัล
   (Learning)           (Measurement)               (Measurement)


                                                                              เป้าหมาย
                                                                            (Desired State)



กระบวนการและเครืองมือ
                  ่          การสื่อสาร        การจัดการการเปลี่ยนแปลงและ
  (Process and Tools)     (Communication)                 พฤติกรรม
                                            (Transition and BehaviorManagement)
1.การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม
• การจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพเริ่มต้นจากการที่คนใน
  องค์กรมีการเเลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน
• การสร้างวัฒนธรรมองค์กร
• การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน
ในองค์กรควรเริ่มตนที่ผู้บริหารก่อนที่
จะขยายผลออกไปสู่บุคลากรในทุก
ระดับ
1.การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม
การดาเนินการ
• ผู้นาต้องให้การสนับสนุน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆอย่าง
  สม่าเสมอ
• จัดตั้งทีมงานเพื่อทาหน้าที่ดาเนินการวางแผนและจัดกิจกรรม
  ต่างๆ
• กาหนดว่าอะไรคือปัจจัยเห่งความสาเร็จ
• ผู้นาเป็นแบบอย่างที่ดีในการแลกเปลี่ยนและจัดการความรู้
• สร้างสภาพแวดล้อมภายในองค์กร
2.การสื่อสาร
สื่อให้ทุกคนในองค์กรเข้าใจ ว่า
• องค์กรจะทาอะไร
• ทาไปเพื่ออะไร
• จะทาเมื่อไร
• และจะทาอย่างไร
3.กระบวนการและเครื่องมือ
• เป็นแกนสาคัญหลักของ KM
• ช่วยให้กระบวนการ KM สามารถเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
  และสะดวกยิ่งขึ้น
• ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับประเภทของความรู้
   – Tacit Knowledge
   – Explicit Knowledge
• กระบวนการและเครื่องมือ มี 2 ประเภท คือ IT และ non-
  IT
3.กระบวนการและเครื่องมือ
            Non-IT                              IT
• สาคัญสาหรับ Tacit K         • สาคัญ สาหรับ Explicit K
• ผ่านการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง   • มีส่วนสาคัญในขั้นตอน
  ผู้ให้และผู้รับ                –   การค้นหา
                                 –   รวบรวม
• ตัวอย่างเครืองมือ
                ่
                                 –   จัดเก็บ
   – CoP
                                 –   และเข้าถึงความรู้
   – Job Rotation
                              • เป็นช่องทางทีเพิ่มเติมจากการ
                                             ่
   – Knowledge Forum
                                ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
3.กระบวนการและเครื่องมือ
การเลือกใช้กระบวนการใด หรือเครื่องมือใด ขึ้นกับหลายปัจจัย
• ประเภทของความรู้
• พฤติกรรมหรือลักษณะการทางานของคนในองค์กร
• วัฒนธรรมขององค์กร
4.การฝึกอบรมและการเรียนรู้
• อบรมเกี่ยวกับแนวทางและหลักการของ KM แก่บุคลากร
  เพื่อที่จะสร้างความเข้าใจ และ เห็นในความสาคัญของ การ
  จัดการและการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร
• การยกตัวอย่าง หรือ กรณีศึกษาขององค์กรที่ประสบความสาเร็จ
• การอบรมเทคโนโลยี่
5.การวัดผล
• ช่วยบอกสถานะของกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆภายในองค์กร
• ไม่ใช้การควบคุม แต่เป็นการบริหารจัดการและเรียนรู้พัฒนา
• การวัดเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยให้การริเริม KM ประสบความสาเร็จ
                                         ่
  แบบยั่งยืน
• ประเภทของวัดผล
   – การวัดกิจกรรมต่างๆใน KM เช่น จานวนกลุ่ม จานวนสมาชิก
   – การวัดปัูจจัยส่งออก (Output Measure) เช่น จานวนปัญหาทีได้รับการแก้ไข
                                                           ่
   – การวัดผลลัพธ์ (Outcome Measure) เช่น ผลลัพธ์ของการปรับปรุง
     กระบวนการ
6. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล
• การยกย่องชมเชย และให้รางวัลเป็นเเรงจูงใจในช่วงเริ่มต้น เพื่อ
  โน้มน้าวให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
• ในระยะยาว คือ “ประโยชน์” ที่เกิดขึ้นกับตนเอง เช่น สามารถ
  ทางานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
• ปรับแผนการยกย่องชมเชยและให้รางวัลให้เหมาะสมกับกิจกรรม
• บูรณาการกับระบบการประเมินผลงานและการให้ค่าตอบแทน
• สิ่งสาคัญ คือ องค์กรต้องค้นหาว่าอะไรเป็นเเรงจูงใจสาคัญ
  สาหรับคนในองค์กรให้มามีส่วนร่วมในการจัดการความรู้
องค์ประกอบหลักของวงจร KM
   การเรียนรู้            การวัดผล            การยกย่องชมเชยและให้รางวัล
   (Learning)           (Measurement)               (Measurement)


                                                                              เป้าหมาย
                                                                            (Desired State)



กระบวนการและเครืองมือ
                  ่          การสื่อสาร        การจัดการการเปลี่ยนแปลงและ
  (Process and Tools)     (Communication)                 พฤติกรรม
                                            (Transition and BehaviorManagement)
การจัดการความรู้แบบ 3 มิติ


           วงจร KM


                  KM
  ปัจจัยเอื้อ
                process
Knowledge Process
                        identification



    Learning                                            Creation




Sharing                                                    Organization




               Access                    Codification
1.การค้นหาความรู(K Identification)
                        ้
    ค้นหาว่า
    • องค์กรมีความรู้อะไรบ้าง
    • ในรูปแบบใด                                   Knowledge Mapping
    • อยู่ที่ใคร
    • ความรู้อะไรที่องค์กรจาเป็นต้องมี

         Knowledge Mapping ช่วยให้เห็นภาพรวมของคลังความรู้ขององค์กร
ทาให้ทุกคนทราบว่า องค์กรมีความรู้อะไรบ้างและจะหาความรู้ที่ตนเองต้องการได้ที่ไหน
2.การสร้างและแสวงหาความรู้
       (K Creation and Acquisition)

                          ความรู้ที่จาเป็นต้องมี




           มีแล้ว                                         ยังไม่มี



-หาวิธีการในการรวบรวมความรู้
                                              -สร้างความรู้จากความรู้เดิมที่มี
-จัดทาเนือหาให้เหมาะสม ตรงกับ
         ้
                                           -นาความรู้จากภายนอกองค์กรมาใช้
     ความต้องการของผู้ใช้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
              (Knowledge Organization)
การจัดความรู้ให้เป็นระบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาและนาความรู้
ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ได้ สะดวก ง่าย รวดเร็ว
• การจัดทาสารบัญ
• การจัดหมวดหมู่แยกประเภท
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
     (Knowledge Codification and Refinement)
ต้องประมวลความรู้ให้อยูในรูปแบบและภาษาที่เข้าใจง่ายและใช้ได้
                        ่
ง่าย
• รูปแบบเอกสารที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
• ใช้ภาษาเดียวกันทั้งองค์กร
• จัดให้ผู้ใช้สามารถค้นหาและเปิดใช้ได้ สะดวก
• ตัดต่อเนื้อหาให้ครบถ้วนทันสมัยตรงกับความต้องการของผู้ใช้
5.การเข้าถึงความรู้
                  (Knowledge Access)
   ต้องมีวิธีการในการจัดเก็บและกระจายความรู้ทั้งประเภท
Explicit และ Tacit การกระจายความรูมี 2 ประเภท
                                      ้
1. “Push” การป้อนความรู้ การส่งข้อมูล/ความรู้ให้กับผู้รับโดยที่
    ผู้รับไม่ได้ร้องขอหรือต้องการ เช่น จดหมายเวียน
2. “Pull” การให้โอกาสเลือกใช้ความรู้ การที่ผู้รับสามารถเลือกรับ
    หรือใช้แต่ข้อมูล/ความรู้ทต้องการเท่านั้น
                              ี่
   องค์กรต้องให้เกิดความสมดุลระหว่างการกระจายความรู้แบบ
Push และ Pull เพื่อประโยชน์สูงสุด
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
               (Knowledge Sharing)
• การจัดทาเอกสาร
• จัดทาฐานความรู้
• การจัดทาสมุดหน้าเหลือง
     โดยการนาเทคโนโลยี่สารสนเทศมาใช้จะช่วยให้เข้าถึงความรู้
ได้ง่ายและเร็วขึ้น ซึ่งเหมาะกับความรู้ประเภท Explicit
Knowledge เท่านั้น

   สาหรับความรู้ประเภท Tacit ต้องใช้ Socialization
7.การเรียนรู้
                         (Learning)
     วัตถุประสงค์ที่สาคัญที่สุดในการจัดการความรู้ คือ การเรียนรู้
ของบุคลากรและนาความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ไข
และปรับปรุงองค์กร
     องค์กรต้องกระตุ้น และสร้างบรรยากาศที่ทาให้บุคลากรทุกคน
กล้าคิด กล้าทา กล้าลองผิดลองถูก โดยผู้บริหารต้องยอมรับผลลัพธ์
ที่จะออกมาไม่ว่าจะเป็นความสาเร็จ หรือความล้มเหลว
     กระบวนการเรียนรู้มิได้อยู่ที่ผลลัพธ์ แต่มาจากประสบการณ์ที่
ได้จากการลองนาความรู้ที่ได้มาปฏิบัติ
     การเรียนรู้ตองสอดคล้อง กับ ทิศทาง และค่านิยมขององค์กร
                 ้
วงจรการเรียนรู้

                  องค์ความรู้



                    การเรียนรู้และ
                    นวัตกรรมอย่าง
                       ต่อเนื่อง
                                      เกิดการเรียนรู้
นาความรู้ไป
                                     และประสบการณ์
   ใช้
                                          ใหม่ๆ
การจัดการความรู้แบบ 3 มิติ


           วงจร KM


                  KM
  ปัจจัยเอื้อ
                process
ปัจจัยเอื้อที่ทาให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จ

1.   ภาวะผู้นาและกลยุทธ์
2.   วัฒนธรรมองค์กร
3.   เทคโนโลยี่สารสนเทศทางด้านการจัดการความรู้
4.   การวัดผล
5.   โครงสร้างพื้นฐาน
1.ภาวะผู้นาและกลยุทธ์(Leadership and Strategy)

• ผู้นาต้องเข้าใจ เข้าถึงและตระหนักถึงประโยชน์ทองค์กรจะ
                                               ี่
  ได้รับจาก KM เพื่อสามารถสื่อสารและผลักดันให้มี KM.ใน
  องค์การ
• กาหนดทิศทางและกลยุทธ์ของ KM. ให้ชัดเจน
• ต้องตอบคาถามให้ได้ว่า จะทา KM ในองค์กรเพืออะไร
                                             ่
• นาเป้าหมายมากาหนดแผนงานและกิจกรรม
• กลยุทธ์ของการจัดการความรู้จะต้องสนับสนุนและสอดคล้อง
  กับทิศทางขององค์กร เพื่อให้เพิ่มขีดความสามารถในการ
  แข่งขัน
Executive’s Role in KM
•   Know what KM is and buy-in
•   Set direction/policy
•   Communicate – 5 W (continuously)
•   Support- infrastructure, resources, etc.
•   Role model-desire to learn, listen,
•   Be patient
•   Continuity
2.วัฒนธรรมองค์กร (Culture)
• วัฒนธรรมการเเลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ระหว่าง
  บุคคลากรภายในองค์กร
• ทัศนคติที่เป็นอุปสรรคคือการมีทัศนคติที่ว่า ความรู้คือ
  อานาจ มองคนอื่นว่าอวดรู้ กลัวเขาว่าจึงไม่บอก
• การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรต้องได้รับการ
  สนับสนุนจากผู้บริหารเต็มที่
3.เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการจัดการความรู้
                   (Technology)
• Internet Intranet ระบบฐานข้อมูล ช่วยให้การจัดการความรูมปะสิทธิ
                                                           ้ ี
  ภาพเพิ่มมากขึ้น โดย ช่วยให้ค้นหาความรู้ ดึงเอาความรู้ไปใช้ ช่วย
  ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมถึงช่วยให้ข้อมูลความรู้ตางๆ ถูก
                                                         ่
  จัดเก็บเป็นระเบียบ
• ต้องมั่นใจได้ว่าเทคโนโลยี่นั้นสามารถเชือมต่อกับระบบเดิมที่องค์กรมี
                                         ่
  อยู่ และต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งานและใช้ได้ด้วย
• เทคโนโลยี่เป็นเพียงเครื่องมือเชื่อมโยงคนภายในองค์กรเท่านั้น ไม่ได้
  ช่วยให้เกิดการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ แต่ทาให้การเเลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิด
  ได้เร็วขึ้น
• คนเป็นผู้เเลกเปลี่ยนความรู้ไม่ใช้เทคโนโลยี่
4.การวัดผล (Measurements)
       “ If we cannot measure, we cannot manage”
• องค์การไม่สามารถทราบสถานะที่แท้จริงได้ ถ้าไม่มีการ
  วัดผล
• การวัดผล KM. ช่วยให้องค์การสามารถ
   – ทบทวน
   – ประเมินผล
   – ปรับปรุงกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการ
     จัดการความรู้
5.โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)
• โครงสร้างที่จับต้องได้ ได้แก่ สถานที่ เครื่องมืออุปกรณ์
• โครงสร้างที่จับต้องไม่ได้ ที่เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
   – โครงสร้างขององค์กร
   – ระบบงาน
   – ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบการประเมินผลการ
     ปฏิบัติงาน ระบบการยกย่องชมเชยและให้รางวัล
   – หน่วยงานที่รับผิดชอบ KM
เครื่องมือในการจัดการความรู้
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1. เครื่องมือที่ชวยใน “การเข้าถึง” ความรู้ เหมาะกับความรู้
                 ่
    ประเภท Explicit ได้แก่ การจัดเก็บในรูปเอกสาร สมุดหน้า
    เหลือง ฐานความรู้
2. เครื่องมือที่ชวยใน “การถ่ายทอด” ความรู้ เหมาะกับความรู้
                   ่
    ประเภท Tacit ได้แก่ Cross-functional Team CoP สุนทรีย
    สนทนา ระบบพี่เลี้ยง Job Rotation Knowledge Forum
CoP (Communities of Practice)
ชุมชนที่มีการรวมตัวกัน หรือเชื่อมโยงกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยมีลักษณะดังนี้
• ประสบปัญหาลักษณะเดียวกัน
• มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากกันและกัน
• มีเป้าหมายร่วมกัน มีความมุ่งมั่นร่วมกัน ที่จะพัฒนาวิธีการทางานได้ดีขึ้น
• วิธีปฏิบัติคล้ายกัน ใช้เครื่องมือ และภาษาเดียวกัน
• มีความเชื่อ และยึดถือคุณค่าเดียวกัน
• มีบทบาทในการสร้าง และใช้ความรู้
• มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน อาจจะพบกันด้วยตัวจริง หรือผ่านเทคโนโลยี
• มีช่องทางเพื่อการไหลเวียนของความรู้ ทาให้ความรู้เข้าไปถึงผู้ที่ต้องการใช้ได้ง่าย
• มีความร่วมมือช่วยเหลือ เพื่อพัฒนาและเรียนรูจากสมาชิกด้วยกันเอง
                                                ้
• มีปฏิสัมพันธ์ต่อเนื่อง
Road Map CoPs
กาหนดนโยบายสนับสนุน      จัดตั้งทีมดาเนินการ     วิเคราะห์ความรู้
    CoPs (สื่อสาร)             (KM team)         ที่องค์กรต้องการ




 รับสมัครสมาชิกชุมชน      อบรมตามบทบาท          กาหนด Core team
                                                  แต่ละ Domain




                          แลกเปลี่ยนเรียนรู้
    Kick off                  F2F, IT
                                               วิเคราะห์ สังเคราะห์ K.




                                               พัฒนาเป็นแนวปฏิบัติ
Dialogue
หลักปฏิบัติ Dialogue 
• ฟังอย่างลึกซึง ฟังให้ได้ยิน 
• มีความเป็น
                                     ้
อิสระ และผ่อนคลาย 
• ทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่มีผู้นา และไม่มีผู้ตาม
อุปสรรคของการแลกเปลี่ยนความรู้
ตัวบุคคล
• มีทัศนคติที่ว่า ความรูคืออานาจ
                        ้
• ไม่ทราบว่าสิ่งที่ตนเองรู้มประโยชน์กับคนอื่นหรือไม่
                             ี
• ไม่ทราบว่าคนอื่นไม่รู้สิ่งที่ตนเองรู้
• ไม่เห็นประโยชน์ ไม่มีแรงจูงใจของการแลกเปลี่ยนความรู้
• ไม่มีเวลาและความมุ่งมั่นเพียงพอในการเรียนรู้จากผู้อื่น
• ไม่มีความสัมพันธ์หรือความคุ้นเคยเพียงพอกับบุคคลที่ต้องการ
   แลกเปลี่ยนความรู้ด้วย
อุปสรรคของการแลกเปลี่ยนความรู้
ส่วนรวม/โครงสร้าง
• ยังไม่มีกระบวนการในการแลกเปลียนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
                                 ่
• ผู้บริหารไม่ให้การสนับสนุน
• ระบบสารสนเทศไม่เอื้อ
• ยังไม่มีระบบยกย่องชมเชยหรือให้รางวัลแก่ผู้ที่แลกเปลี่ยนหรือ
   ถ่านทอดความรู้ให้ผู้อื่น
อุปสรรคของการแลกเปลี่ยนความรู้
ค่านิยม/วัฒนธรรมองค์กร
• ไม่มีภาษากลางที่เข้าใจ และใช้ร่วมกันได้
• มีการแข่งขันระหว่างหน่วยงานสูง
• บุคลากรไม่รวมมือ ไม่เปิดเผย
               ่
• ผู้บริหารไม่ยอมรับการลองสิ่งใหม่ๆ
What knowledge
      do we need to have?
                            • Vision
                            • Mission




What knowledge do we
     have now?
องค์กร
                                    วิสัยทัศน์:
      ต้องมี K เรื่องอะไร ?         ……………………………………
                                    ……………………………………
        มี Kนั้นหรือยัง ?           พันธกิจ:
                                    • ………………………………
ถ้าไม่มี K จะสร้าง K นันอย่างไร ?
                       ้            • ………………………………                                       หน่วยงาน
                                    กลยุทธ์:                                         หน่วสยงาน
                                                                                        • วิ
                                                                           หน่วยงานน์ัยทัศน์
                                                         หน่วยงานยงานส•ัยเป้จนประสงค์
                                                                    หน่•ววิสัยทั•ศน์ ทัศ ธกิจ
                                    • ……………………………………                                 วิ พั
      ถ้ามี K นันอยูที่ไหน ?
                ้ ่
                                                        • วิสัยทั •น์วิสัย• ศน์ ธกิ•จพันธกิา
                                                    หน่วยงานศ พันธกิจ น เป้าประสงค์
                                                                          ทัพั
                                                                  •              •เป้าประสงค์
                                                                    •
                                                         • วิสัยทัศน์ พันธกิจ
 K ครบถ้วน สมบูรณ์ ทันสมัย ?                                                • กลยุทธ์
                                                         • พันธกิจ • ยุทธศาสตร์
                                                                            •
                                                         • กลยุทธ์
K เข้าถีงได้งาย สะดวก รวดเร็ว ?
             ่

      แบ่งปัน K กันหรือไม่          โครงการ                                                 โครงการ
         นา K ไปใช้ ?
คาตอบ                   KM Process                    ระบบ/กิจกรรม
 ต้องมี K เรื่องอะไร ?
                                                                                         • พัฒนาบุคลากร
                            ยังขาด K นั้น                 สร้างและแสวงหา K               • เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ,
    มี Kนั้นหรือยัง ?                                                                    • ใช้ K จากภายนอก
                                                                                         • Benchmarking
ถ้าไม่มี K จะสร้าง K นั้น
                                                                                         • ปรับปรุงพัฒนาคลังความรู้
                            มี K แต่ยังไม่ดี ไม่สมบูรณ์   รวบรวม ประมวลและกลั่น            ให้เป็นระบบ ทันสมัย
         อย่างไร ?           ไม่ทันสมัย อยู่กระจัด        กรอง K                         • ค้นหาและรวบรวม
                             กระจาย                                                        Best Practices
 ถ้ามี K นั้นอยู่ที่ไหน?                                                                 • จัดทาทาเนียบผู้ชานาญการ

                            เข้าถีง K ได้ยากและช้า        ทาให้ผู้ใช้ K เข้าถีง K ได้งาย ระบบ IT
                                                                                      ่
  K ครบถ้วน สมบูรณ์                                       และสะดวก
      ทันสมัย ?

K เข้าถีงได้ง่าย สะดวก
      รวดเร็ว ?             มีการแบ่งปัน K ระหว่างกัน     สร้างบรรยากาศ ระบบ และ         • การจัดสัมมนา Workshop
                            น้อยมาก                                                      • Communities of Practice
                                                          เวทีแลกเปลี่ยน K ทั้งภายใน
                                                                                         • After action review (AAR)
 แบ่งปัน K กันหรือไม่                                     และภายนอก                      • การทางานเป็นทีมข้ามสายงาน
                                                                                             • การแบ่งปันความรู้และ
     นา K ไปใช้ ?           มีการนา K ไปใช้ประโยชน์       ส่งเสริมให้มีการนาความรู้ที่ได้รับ การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่ง
                            ไม่มากนัก                     ไปปรับใช้หรือต่อยอดความรู้เดิม • ของการประเมินผลงานว่า
                                                                                               ปลูกฝังให้บุคลากรเห็น
                                                          อย่างต่อเนื่อง                       การเรียนรู้เป็นหน้าที่
                                                                                             • ประเมินประสิทธิผลการอบรม
พันธกิจ/วิสัยทัศน์
                                                                                                     KM 3 รูปแบบในประเทศไทย    ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

                                                                                     KM เชิงองค์กร
                  เป้าหมาย                                                       • โยงยุทธศาสตร์               KM กลุ่ม/เครือข่าย
                ยุทธศาสตร์
                                                                                 • จัดทาแผน / กาหนด KPI      • แลกเปลี่ยน Tacit
                                                                                 • ใช้การประเมิน
      KM Strategies                                                                                          • พัฒนา “คุณอานวย”
                                                                                                             • สร้าง CoPs
    KM Focus Areas

   Desired State of KM

         Action Plans                                                                                        KM ปัจเจก / ใจ
        (6-step model)
                                                                                                       • เริ่มจากเรื่องที่สนใจ
  การเรียนรู้
  (Learning)
                     การวัดผล
                  (Measurements)
                                       การยกย่องชมเชย
                                        และการให้รางวัล
                                    (Recognition and Reward)
                                                                     เป้าหมาย
                                                                   (Desired State)
                                                                                                       • ใช้ “หัวใจนักปราชญ์”
                                                                World-Class KM
                                                                Environment                            • ดูสิ่งที่กากับอยู่ในใจ
                                                                                                            (Mindset, Mental Model)
  กระบวนการ          การสื่อสาร         การเตรียมการและ
 และเครื่องมือ                        ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                  (Communication)    (Transition and Behavior
(Process Tools)                           Management)

องค์กรอัจฉริยะ (Intelligent Organization) จะต้องมี KM ทั้งสามวง
“โมเดลปลาทู”
• เป็นโมเดลอย่างง่าย ที่เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหนึงตัวที่มี ๓ ส่วน คือ
                                                                    ่
1. ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการ
    จัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทาจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “เราจะทา KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “หัว
    ปลา” นี้จะต้องเป็นของ “คณกิจ” หรือ ผู้ดาเนินกิจกรรม KM ทังหมด โดยมี “คุณเอื้อ” และ “คุณ
                                                                 ้
    อานวย” คอยช่วยเหลือ
2. ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญ
    ซึ่ง “คุณอานวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุนให้ “คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้
                                                     ้
    โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “คุณกิจ” พร้อมอานวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็น
    ทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม
3. ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “คลังความรู้” หรือ “ขุมความรู้” ที่ได้จากการเก็บ
    สะสม “เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หาง
    ปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ทซ่อนเร้นให้เป็นความรูที่เด่นชัด นาไปเผยแพร่
                                                          ี่                   ้
    และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป
• กาหนดทิศทาง
                  • มุ่งมั่น
                  • สนับสนุน
      CEO
      CKO

                            ตัวเชื่อม
ผู้บริหารระดับกลาง

                             Actions
  ผู้ปฏิบัติงาน
องค์ประกอบสาคัญ
                                                                         ของ KM
         KM Measurement



      Business processes




                                                                         Customers


                                                                                     Business
                                                                                      Results
                                                          Leadership &




                                                                                                Vision
                                                            Strategy



                           Identify

             Use                       Create/Acquire
                          Learning &
                          Innovation
                                       Collect/Organize
             Share

                            Access




         People                         Technology
Culture, Competency, Structure

                                        Adapted from “Primer on Knowledge Management”, PSB, 2001
ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด

Contenu connexe

Tendances

ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยบีน้อย สุชาดา
 
Micro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำ
Micro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำMicro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำ
Micro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำThiti Theerathean
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreePattie Pattie
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...Chantana Papattha
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Somsiri Rattanarat
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความKo Kung
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 

Tendances (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัยการวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
การวัดประเมินผลระดับปฐมวัย
 
Micro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำ
Micro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำMicro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำ
Micro Learning การเรียนรู้แบบพอดีคำ
 
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศการวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และการกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
Training plan new 4
Training plan new 4Training plan new 4
Training plan new 4
 
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 3 สร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แ...
 
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้ แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 

En vedette

New km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยNew km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยjanecastle
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend
 
Bostock learning industrypresentation_ae2014
Bostock learning industrypresentation_ae2014Bostock learning industrypresentation_ae2014
Bostock learning industrypresentation_ae2014John Bostock
 
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013Sasin SEC
 
Case Study: RT66 as a Learning Organization
Case Study: RT66 as a Learning OrganizationCase Study: RT66 as a Learning Organization
Case Study: RT66 as a Learning OrganizationMara Mastro
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
New york data brewery meetup #1 – introduction
New york data brewery meetup #1 – introductionNew york data brewery meetup #1 – introduction
New york data brewery meetup #1 – introductionStefan Urbanek
 
การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3Prachyanun Nilsook
 
Knowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizations
Knowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizationsKnowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizations
Knowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizationsStefan Urbanek
 
ทฤษฎี การจัดการความรู้
ทฤษฎี การจัดการความรู้ทฤษฎี การจัดการความรู้
ทฤษฎี การจัดการความรู้uncasanova
 
Questionnaire in knowledge management
Questionnaire in knowledge managementQuestionnaire in knowledge management
Questionnaire in knowledge managementgirish_rohra
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้Prachyanun Nilsook
 
I Am Knowledge Worker 2.0
I Am Knowledge Worker 2.0I Am Knowledge Worker 2.0
I Am Knowledge Worker 2.0Stephen Collins
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 

En vedette (20)

Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
New km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยNew km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทย
 
SMEfriend: KM
SMEfriend: KMSMEfriend: KM
SMEfriend: KM
 
Km
KmKm
Km
 
Bostock learning industrypresentation_ae2014
Bostock learning industrypresentation_ae2014Bostock learning industrypresentation_ae2014
Bostock learning industrypresentation_ae2014
 
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
Ampol Foods Triple Bottom Line Operation, Aug 2013
 
Case Study: RT66 as a Learning Organization
Case Study: RT66 as a Learning OrganizationCase Study: RT66 as a Learning Organization
Case Study: RT66 as a Learning Organization
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษาการจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ระดับอุดมศึกษา
 
7-KM Process
7-KM Process7-KM Process
7-KM Process
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
New york data brewery meetup #1 – introduction
New york data brewery meetup #1 – introductionNew york data brewery meetup #1 – introduction
New york data brewery meetup #1 – introduction
 
การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3
 
Knowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizations
Knowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizationsKnowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizations
Knowledge Management Lecture 2: Individuals, communities and organizations
 
ทฤษฎี การจัดการความรู้
ทฤษฎี การจัดการความรู้ทฤษฎี การจัดการความรู้
ทฤษฎี การจัดการความรู้
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
Questionnaire in knowledge management
Questionnaire in knowledge managementQuestionnaire in knowledge management
Questionnaire in knowledge management
 
การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้การวางแผนการจัดการความรู้
การวางแผนการจัดการความรู้
 
I Am Knowledge Worker 2.0
I Am Knowledge Worker 2.0I Am Knowledge Worker 2.0
I Am Knowledge Worker 2.0
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 

Similaire à Km cream

การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้Utai Sukviwatsirikul
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest031209
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการguest6a1ba26
 
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้  มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้ Pattie Pattie
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 

Similaire à Km cream (20)

Km3
Km3Km3
Km3
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
Knowledge Understanding
Knowledge UnderstandingKnowledge Understanding
Knowledge Understanding
 
Btg 610208
Btg 610208Btg 610208
Btg 610208
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
ยุทธศาสตร์นักจัดการความรู้
 
Maruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forumMaruay 17th ha forum
Maruay 17th ha forum
 
Km 2.0
Km 2.0Km 2.0
Km 2.0
 
Blog22 feb21
Blog22 feb21Blog22 feb21
Blog22 feb21
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
Knowledge management
Knowledge managementKnowledge management
Knowledge management
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
การจัดการ
การจัดการการจัดการ
การจัดการ
 
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้  มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
มิติใหม่ของการจัดการองค์กรเรียนรู้
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 

Km cream

  • 1. การจัดการความรู้
(Knowledge Management) ผศ.พญ.ยุวรีย์ พิชิตโชค รองผอก.ฝ่ายทรัพยากรบุคคล รพ.จุฬา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มิถุนายน 2555
  • 2. หัวข้อ • ความสาคัญของการจัดการความรู้ • ความรู้คืออะไร • ประเภทของความรู้ • ทาไมต้อง KM • KM คืออะไร • วงจรของ KM • กระบวนการของ KM • ปัจจัยที่ทาให้ KM ประสบความสาเร็จ • เครื่องมือ KM ที่สาคัญ
  • 3. ความสาคัญของการจัดการความรู้ • Knowledge-Based Economy “การเเข่งขันในยุคปัจจุบัน จะขึ้นกับความสามารถขององค์กรในการสร้าง และใช้ สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ ในการเพิ่มคุณภาพ ลดต้นทุน ลดระยะเวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ๆ สร้างนวัตกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการและความ คาดหวังของลูกค้าได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว” • Intangible assets เช่น ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์
  • 4. ความสาคัญของการจัดการความรู้ • ความรู้เป็นสินทรัพย์ที่มีคามากที่สุดขององค์กร ่ • เป็นสินทรัพย์ที่ไม่มีขีดจากัด ยิงใช้ยิ่งเพิ่ม ยิงใช้มากเท่าไรก็ยิ่ง ่ ่ เพิ่มคุณค่ามากขึ้นเท่านั้น • ยิ่งองค์กรมีความรู้มากเท่าไร ก็ยิ่งสามารถเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆได้ มากขึ้นเท่านั้น เมื่อเรียนรู้ได้มากก็สร้างความรู้ใหม่ได้มากขึ้น • เมื่อนาความรู้เก่ามาบูรณาการกับความรู้ใหม่ก็ก่อให้เกิดความรู้ ใหม่ๆมากขึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้นไม่มีที่ ้ สิ้นสุด
  • 6. ความรู้คืออะไร Hideo Yamazaki ให้คาจากัดความ ปัญญา ของความรู้ในรูปปิรามิด (Wisdom) ความรู้ (Knowledge) สารสนเทศ (Information) ข้อมูล (Data)
  • 7. ประเภทความรู้ แนวคิดของ Ikujiro Nonaka ความรู้อาจแบ่งใหญ่ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ 1. ความรู้เด่นชัด (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบ ที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ อยู่ในตารา คู่มือปฏิบัติงาน 2. ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ แฝงอยู่ในตัวคน เป็นประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนาน เป็นภูมิ ปัญญา
  • 9. KNOWLEDGE SPIRAL TACIT SOCIALIZATION EXTERNALIZATION TACIT EXPLICIT INTERNALIZATION COMBINATION EXPLICIT ที่มา:วงจรจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฎิบติ ั บุญดี บุญญกิจและคณะ
  • 10. ใน ชีวิตจริง ความรู้ ๒ ประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานภาพ สลับปรับเปลี่ยนไปตลอดเวลา บางครั้ง Tacit ก็ออกมา เป็น Explicit และบางครั้ง Explicit ก็เปลี่ยนไปเป็น Tacit
  • 12. ปัญหาจากการปฏิบัติงาน • คนย้ายไปแล้วทางานไม่ถก ู • ทาไม่ได้ถามใครดี • เจ้าหน้าที่ไม่มา ตามงานไม่ได้ • ทาแต่แบบเดิม ๆ ไม่รู้จะพัฒนา? • เรื่องนี้ต้องถามพี่.... เท่านั้น • คู่มือไม่มี ทุกอย่างอยูในหัวผม ่ • เจ้าหน้าที่มาใหม่ ไม่มีใครสอนงาน
  • 13. ปัญหาจากการออกจากงาน • ลาออก • ให้ออก • เลิกจ้าง • ไล่ออก • เกษียณ • โอนย้าย
  • 14. นิยามของ “การจัดการความรู” ้ RYOKO TOYAMA “KM.หมายถึงการจัดการเพื่อเอื้อให้เกิดความรู้ใหม่ โดยใช้ความรู้ที่มีอยู่และประสบการณ์ของคนใน องค์การอย่างมีระบบเพื่อพัฒนานวัตกรรมที่จะทา ให้มความได้เปรียบเหนือคู่แข่งทางธุรกิจ” ี
  • 15. นิยามของ “การจัดการความรู” ้ Carla O’Dell และ Jackson Grayson “การจัดการความรู้ เป็นกลยุทธ์ในการที่จะทาให้คนได้รับความรู้ที่ต้องการ ภายในเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งช่วยทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนและนาความรู้ ไปปฏิบัติเพื่อยกระดับและปรับปรุงการดาเนินงานขององค์กร ทั้งนี้ การ จัดการความรูไม่ใช่เครื่องมือที่จัดการกับตัวของความรู้โดยตรงแต่เป็น ้ วิธีการที่ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ทมีระหว่างกันได้” ี่
  • 16. นิยามของ “การจัดการความรู” ้ European Foundation for Quality Management (EFQM) “การจัดการความรู้ เป็น กลยุทธ์ และกระบวนการในการ จาแนก จัดหาและนาความรู้มาใช้ประโยชน์เพื่อช่วยให้ องค์กรประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้”
  • 17. นิยามของ “การจัดการความรู” ้ ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช “การจัดการความรู้ หมายถึง การยกระดับความรู้ขององค์กร เพื่อ สร้างผลประโยชน์จากต้นทุนทางปัญญา โดยเป็นกิจกรรมที่ ซับซ้อนและกว้างขวาง ไม่สามารถนิยามเป็นถ้อยคาสั้นๆ ต้องให้ นิยามหลายข้อ” ได้แก่
  • 18. นิยามของ “การจัดการความรู” ้ ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช • การรวบรวม การจัดระบบ การจัดเก็บ และการเข้าถึงข้อมูลเพื่อสร้าง เป็นความรู้ เทคโนโลยี่ด้านข้อมูล และคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ช่วยเพิ่มพลังในการจัดการความรู้ แต่โดยตัวมันเองไม่ใช้การจัดการ ความรู้ • ซึ่งสิ่งสาคัญ คือวัฒนธรรมองค์กร • กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับคน ได้แก่ การดึงดูดคนดีและเก่ง การพัฒนา คน การติดตามความก้าวหน้าของคน และดึงคนที่มีความรู้ไว้ใน องค์กร ถือเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการความรู้ • การจัดการความรูต้องอาศัยผู้รู้ในการตีความและประยุกต์ใช้ความรู้ ้ ในการสร้างนวัตกรรม
  • 19. การจัดการความรู้ คือ “KM.เป็นกระบวนการในการนาความรู้ที่มีอยู่หรือที่ได้จาก การเรียนรู้ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร โดยผ่าน กระบวนการต่างๆเช่น การสร้าง การจัดเก็บ รวบรวม การแลกเปลี่ยนและการใช้ เป็นต้น”
  • 20. องค์ประกอบสาคัญของการจัดการความรู้ คน กระบวนการ เทคโนโลยี่ ความรู้
  • 21. การจัดการความรู้แบบ 3 มิติ วงจร KM KM ปัจจัยเอื้อ process
  • 22. องค์ประกอบหลักของวงจร KM การเรียนรู้ การวัดผล การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Learning) (Measurement) (Measurement) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการและเครืองมือ ่ การสื่อสาร การจัดการการเปลี่ยนแปลงและ (Process and Tools) (Communication) พฤติกรรม (Transition and BehaviorManagement)
  • 23. Desired State • การกาหนด ”เป้าหมาย” ของการจัดการความรู้ที่องค์กรต้องการ • เป็นสิ่งแรกที่ต้องทา • ต้องการผลลัพธ์อะไรจากการจัดการความรู้ • ผลลัพธ์จะต้องสอดคล้องกับทิศทางการดาเนินธุรกิจ และ สามารถเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กรได้
  • 24. เป้าหมายของการจัดการความรู้ • คือ เครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการ ไปพร้อมๆ กัน ได้แก่ บรรลุเป้าหมายของงาน บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาคน และบรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ • ดังนั้นการจัดการความรูจงไม่ใช่เป้าหมายในตัวของมันเอง เมื่อไร ้ ึ ก็ตามที่มีการเข้าใจผิด เอาการจัดการความรู้เป็นเป้าหมาย ความ ผิดพลาดก็เริ่มเดินเข้ามา อันตรายที่จะเกิดตามมาคือ การจัดการ ความรู้เทียม หรือ ปลอม เป็นการดาเนินการเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่า มีการจัดการความรู้เท่านั้นเอง
  • 25. แรงจูงใจในการริเริ่มการจัดการความรู้ • แรงจูงใจแท้ต่อการดาเนินการจัดการความรู้ คือ เป้าหมายที่งาน คน และองค์กร เป็นเงื่อนไขสาคัญ ในระดับที่เป็นหัวใจสูความสาเร็จใน ่ การจัดการความรู้ • แรงจูงใจเทียมต่อการดาเนินการจัดการความรู้ในสังคม เช่น – ทาเพราะถูกบังคับตามข้อกาหนด กล่าวคือ ทาเพียงเพื่อให้ได้ชื่อว่าทา – ทาเพื่อชื่อเสียง ทาให้ภาพลักษณ์ขององค์กรดูดี – มาจากความต้องการผลงานของหน่วยย่อยภายในองค์กร เช่น หน่วยพัฒนา บุคลากร (HRD) หน่วยสื่อสารและสารสนเทศ (ICT) หรือหน่วยพัฒนา องค์กร (OD) – อาจมาจากคนเพียงไม่กคน ที่ชอบของเล่นใหม่ๆ ชอบกิจกรรมที่ดทนสมัย ี่ ู ั เป็นแฟชั่น แต่ไม่เข้าใจความหมายและวิธการดาเนินการจัดการความรู้อย่าง ี แท้จริง
  • 26. องค์ประกอบหลักของวงจร KM การเรียนรู้ การวัดผล การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Learning) (Measurement) (Measurement) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการและเครืองมือ ่ การสื่อสาร การจัดการการเปลี่ยนแปลงและ (Process and Tools) (Communication) พฤติกรรม (Transition and BehaviorManagement)
  • 27. 1.การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม • การจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพเริ่มต้นจากการที่คนใน องค์กรมีการเเลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกัน • การสร้างวัฒนธรรมองค์กร • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน ในองค์กรควรเริ่มตนที่ผู้บริหารก่อนที่ จะขยายผลออกไปสู่บุคลากรในทุก ระดับ
  • 28. 1.การจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม การดาเนินการ • ผู้นาต้องให้การสนับสนุน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆอย่าง สม่าเสมอ • จัดตั้งทีมงานเพื่อทาหน้าที่ดาเนินการวางแผนและจัดกิจกรรม ต่างๆ • กาหนดว่าอะไรคือปัจจัยเห่งความสาเร็จ • ผู้นาเป็นแบบอย่างที่ดีในการแลกเปลี่ยนและจัดการความรู้ • สร้างสภาพแวดล้อมภายในองค์กร
  • 29. 2.การสื่อสาร สื่อให้ทุกคนในองค์กรเข้าใจ ว่า • องค์กรจะทาอะไร • ทาไปเพื่ออะไร • จะทาเมื่อไร • และจะทาอย่างไร
  • 30. 3.กระบวนการและเครื่องมือ • เป็นแกนสาคัญหลักของ KM • ช่วยให้กระบวนการ KM สามารถเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว และสะดวกยิ่งขึ้น • ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับประเภทของความรู้ – Tacit Knowledge – Explicit Knowledge • กระบวนการและเครื่องมือ มี 2 ประเภท คือ IT และ non- IT
  • 31. 3.กระบวนการและเครื่องมือ Non-IT IT • สาคัญสาหรับ Tacit K • สาคัญ สาหรับ Explicit K • ผ่านการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง • มีส่วนสาคัญในขั้นตอน ผู้ให้และผู้รับ – การค้นหา – รวบรวม • ตัวอย่างเครืองมือ ่ – จัดเก็บ – CoP – และเข้าถึงความรู้ – Job Rotation • เป็นช่องทางทีเพิ่มเติมจากการ ่ – Knowledge Forum ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
  • 32. 3.กระบวนการและเครื่องมือ การเลือกใช้กระบวนการใด หรือเครื่องมือใด ขึ้นกับหลายปัจจัย • ประเภทของความรู้ • พฤติกรรมหรือลักษณะการทางานของคนในองค์กร • วัฒนธรรมขององค์กร
  • 33. 4.การฝึกอบรมและการเรียนรู้ • อบรมเกี่ยวกับแนวทางและหลักการของ KM แก่บุคลากร เพื่อที่จะสร้างความเข้าใจ และ เห็นในความสาคัญของ การ จัดการและการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร • การยกตัวอย่าง หรือ กรณีศึกษาขององค์กรที่ประสบความสาเร็จ • การอบรมเทคโนโลยี่
  • 34. 5.การวัดผล • ช่วยบอกสถานะของกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆภายในองค์กร • ไม่ใช้การควบคุม แต่เป็นการบริหารจัดการและเรียนรู้พัฒนา • การวัดเป็นปัจจัยสาคัญที่ช่วยให้การริเริม KM ประสบความสาเร็จ ่ แบบยั่งยืน • ประเภทของวัดผล – การวัดกิจกรรมต่างๆใน KM เช่น จานวนกลุ่ม จานวนสมาชิก – การวัดปัูจจัยส่งออก (Output Measure) เช่น จานวนปัญหาทีได้รับการแก้ไข ่ – การวัดผลลัพธ์ (Outcome Measure) เช่น ผลลัพธ์ของการปรับปรุง กระบวนการ
  • 35. 6. การยกย่องชมเชยและให้รางวัล • การยกย่องชมเชย และให้รางวัลเป็นเเรงจูงใจในช่วงเริ่มต้น เพื่อ โน้มน้าวให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ในระยะยาว คือ “ประโยชน์” ที่เกิดขึ้นกับตนเอง เช่น สามารถ ทางานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น • ปรับแผนการยกย่องชมเชยและให้รางวัลให้เหมาะสมกับกิจกรรม • บูรณาการกับระบบการประเมินผลงานและการให้ค่าตอบแทน • สิ่งสาคัญ คือ องค์กรต้องค้นหาว่าอะไรเป็นเเรงจูงใจสาคัญ สาหรับคนในองค์กรให้มามีส่วนร่วมในการจัดการความรู้
  • 36. องค์ประกอบหลักของวงจร KM การเรียนรู้ การวัดผล การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Learning) (Measurement) (Measurement) เป้าหมาย (Desired State) กระบวนการและเครืองมือ ่ การสื่อสาร การจัดการการเปลี่ยนแปลงและ (Process and Tools) (Communication) พฤติกรรม (Transition and BehaviorManagement)
  • 37. การจัดการความรู้แบบ 3 มิติ วงจร KM KM ปัจจัยเอื้อ process
  • 38. Knowledge Process identification Learning Creation Sharing Organization Access Codification
  • 39. 1.การค้นหาความรู(K Identification) ้ ค้นหาว่า • องค์กรมีความรู้อะไรบ้าง • ในรูปแบบใด Knowledge Mapping • อยู่ที่ใคร • ความรู้อะไรที่องค์กรจาเป็นต้องมี Knowledge Mapping ช่วยให้เห็นภาพรวมของคลังความรู้ขององค์กร ทาให้ทุกคนทราบว่า องค์กรมีความรู้อะไรบ้างและจะหาความรู้ที่ตนเองต้องการได้ที่ไหน
  • 40. 2.การสร้างและแสวงหาความรู้ (K Creation and Acquisition) ความรู้ที่จาเป็นต้องมี มีแล้ว ยังไม่มี -หาวิธีการในการรวบรวมความรู้ -สร้างความรู้จากความรู้เดิมที่มี -จัดทาเนือหาให้เหมาะสม ตรงกับ ้ -นาความรู้จากภายนอกองค์กรมาใช้ ความต้องการของผู้ใช้
  • 41. 3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) การจัดความรู้ให้เป็นระบบเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาและนาความรู้ ดังกล่าวไปใช้ประโยชน์ได้ สะดวก ง่าย รวดเร็ว • การจัดทาสารบัญ • การจัดหมวดหมู่แยกประเภท
  • 42. 4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) ต้องประมวลความรู้ให้อยูในรูปแบบและภาษาที่เข้าใจง่ายและใช้ได้ ่ ง่าย • รูปแบบเอกสารที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน • ใช้ภาษาเดียวกันทั้งองค์กร • จัดให้ผู้ใช้สามารถค้นหาและเปิดใช้ได้ สะดวก • ตัดต่อเนื้อหาให้ครบถ้วนทันสมัยตรงกับความต้องการของผู้ใช้
  • 43. 5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) ต้องมีวิธีการในการจัดเก็บและกระจายความรู้ทั้งประเภท Explicit และ Tacit การกระจายความรูมี 2 ประเภท ้ 1. “Push” การป้อนความรู้ การส่งข้อมูล/ความรู้ให้กับผู้รับโดยที่ ผู้รับไม่ได้ร้องขอหรือต้องการ เช่น จดหมายเวียน 2. “Pull” การให้โอกาสเลือกใช้ความรู้ การที่ผู้รับสามารถเลือกรับ หรือใช้แต่ข้อมูล/ความรู้ทต้องการเท่านั้น ี่ องค์กรต้องให้เกิดความสมดุลระหว่างการกระจายความรู้แบบ Push และ Pull เพื่อประโยชน์สูงสุด
  • 44. 6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) • การจัดทาเอกสาร • จัดทาฐานความรู้ • การจัดทาสมุดหน้าเหลือง โดยการนาเทคโนโลยี่สารสนเทศมาใช้จะช่วยให้เข้าถึงความรู้ ได้ง่ายและเร็วขึ้น ซึ่งเหมาะกับความรู้ประเภท Explicit Knowledge เท่านั้น สาหรับความรู้ประเภท Tacit ต้องใช้ Socialization
  • 45. 7.การเรียนรู้ (Learning) วัตถุประสงค์ที่สาคัญที่สุดในการจัดการความรู้ คือ การเรียนรู้ ของบุคลากรและนาความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ แก้ไข และปรับปรุงองค์กร องค์กรต้องกระตุ้น และสร้างบรรยากาศที่ทาให้บุคลากรทุกคน กล้าคิด กล้าทา กล้าลองผิดลองถูก โดยผู้บริหารต้องยอมรับผลลัพธ์ ที่จะออกมาไม่ว่าจะเป็นความสาเร็จ หรือความล้มเหลว กระบวนการเรียนรู้มิได้อยู่ที่ผลลัพธ์ แต่มาจากประสบการณ์ที่ ได้จากการลองนาความรู้ที่ได้มาปฏิบัติ การเรียนรู้ตองสอดคล้อง กับ ทิศทาง และค่านิยมขององค์กร ้
  • 46. วงจรการเรียนรู้ องค์ความรู้ การเรียนรู้และ นวัตกรรมอย่าง ต่อเนื่อง เกิดการเรียนรู้ นาความรู้ไป และประสบการณ์ ใช้ ใหม่ๆ
  • 47. การจัดการความรู้แบบ 3 มิติ วงจร KM KM ปัจจัยเอื้อ process
  • 48. ปัจจัยเอื้อที่ทาให้การจัดการความรู้ประสบความสาเร็จ 1. ภาวะผู้นาและกลยุทธ์ 2. วัฒนธรรมองค์กร 3. เทคโนโลยี่สารสนเทศทางด้านการจัดการความรู้ 4. การวัดผล 5. โครงสร้างพื้นฐาน
  • 49. 1.ภาวะผู้นาและกลยุทธ์(Leadership and Strategy) • ผู้นาต้องเข้าใจ เข้าถึงและตระหนักถึงประโยชน์ทองค์กรจะ ี่ ได้รับจาก KM เพื่อสามารถสื่อสารและผลักดันให้มี KM.ใน องค์การ • กาหนดทิศทางและกลยุทธ์ของ KM. ให้ชัดเจน • ต้องตอบคาถามให้ได้ว่า จะทา KM ในองค์กรเพืออะไร ่ • นาเป้าหมายมากาหนดแผนงานและกิจกรรม • กลยุทธ์ของการจัดการความรู้จะต้องสนับสนุนและสอดคล้อง กับทิศทางขององค์กร เพื่อให้เพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขัน
  • 50. Executive’s Role in KM • Know what KM is and buy-in • Set direction/policy • Communicate – 5 W (continuously) • Support- infrastructure, resources, etc. • Role model-desire to learn, listen, • Be patient • Continuity
  • 51. 2.วัฒนธรรมองค์กร (Culture) • วัฒนธรรมการเเลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ระหว่าง บุคคลากรภายในองค์กร • ทัศนคติที่เป็นอุปสรรคคือการมีทัศนคติที่ว่า ความรู้คือ อานาจ มองคนอื่นว่าอวดรู้ กลัวเขาว่าจึงไม่บอก • การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์กรต้องได้รับการ สนับสนุนจากผู้บริหารเต็มที่
  • 52. 3.เทคโนโลยีสารสนเทศด้านการจัดการความรู้ (Technology) • Internet Intranet ระบบฐานข้อมูล ช่วยให้การจัดการความรูมปะสิทธิ ้ ี ภาพเพิ่มมากขึ้น โดย ช่วยให้ค้นหาความรู้ ดึงเอาความรู้ไปใช้ ช่วย ในการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ รวมถึงช่วยให้ข้อมูลความรู้ตางๆ ถูก ่ จัดเก็บเป็นระเบียบ • ต้องมั่นใจได้ว่าเทคโนโลยี่นั้นสามารถเชือมต่อกับระบบเดิมที่องค์กรมี ่ อยู่ และต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งานและใช้ได้ด้วย • เทคโนโลยี่เป็นเพียงเครื่องมือเชื่อมโยงคนภายในองค์กรเท่านั้น ไม่ได้ ช่วยให้เกิดการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ แต่ทาให้การเเลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิด ได้เร็วขึ้น • คนเป็นผู้เเลกเปลี่ยนความรู้ไม่ใช้เทคโนโลยี่
  • 53. 4.การวัดผล (Measurements) “ If we cannot measure, we cannot manage” • องค์การไม่สามารถทราบสถานะที่แท้จริงได้ ถ้าไม่มีการ วัดผล • การวัดผล KM. ช่วยให้องค์การสามารถ – ทบทวน – ประเมินผล – ปรับปรุงกลยุทธ์และกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการ จัดการความรู้
  • 54. 5.โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) • โครงสร้างที่จับต้องได้ ได้แก่ สถานที่ เครื่องมืออุปกรณ์ • โครงสร้างที่จับต้องไม่ได้ ที่เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ – โครงสร้างขององค์กร – ระบบงาน – ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น ระบบการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ระบบการยกย่องชมเชยและให้รางวัล – หน่วยงานที่รับผิดชอบ KM
  • 55. เครื่องมือในการจัดการความรู้ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1. เครื่องมือที่ชวยใน “การเข้าถึง” ความรู้ เหมาะกับความรู้ ่ ประเภท Explicit ได้แก่ การจัดเก็บในรูปเอกสาร สมุดหน้า เหลือง ฐานความรู้ 2. เครื่องมือที่ชวยใน “การถ่ายทอด” ความรู้ เหมาะกับความรู้ ่ ประเภท Tacit ได้แก่ Cross-functional Team CoP สุนทรีย สนทนา ระบบพี่เลี้ยง Job Rotation Knowledge Forum
  • 56. CoP (Communities of Practice) ชุมชนที่มีการรวมตัวกัน หรือเชื่อมโยงกันอย่างไม่เป็นทางการ โดยมีลักษณะดังนี้ • ประสบปัญหาลักษณะเดียวกัน • มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ต้องการแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากกันและกัน • มีเป้าหมายร่วมกัน มีความมุ่งมั่นร่วมกัน ที่จะพัฒนาวิธีการทางานได้ดีขึ้น • วิธีปฏิบัติคล้ายกัน ใช้เครื่องมือ และภาษาเดียวกัน • มีความเชื่อ และยึดถือคุณค่าเดียวกัน • มีบทบาทในการสร้าง และใช้ความรู้ • มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกันและกัน อาจจะพบกันด้วยตัวจริง หรือผ่านเทคโนโลยี • มีช่องทางเพื่อการไหลเวียนของความรู้ ทาให้ความรู้เข้าไปถึงผู้ที่ต้องการใช้ได้ง่าย • มีความร่วมมือช่วยเหลือ เพื่อพัฒนาและเรียนรูจากสมาชิกด้วยกันเอง ้ • มีปฏิสัมพันธ์ต่อเนื่อง
  • 57. Road Map CoPs กาหนดนโยบายสนับสนุน จัดตั้งทีมดาเนินการ วิเคราะห์ความรู้ CoPs (สื่อสาร) (KM team) ที่องค์กรต้องการ รับสมัครสมาชิกชุมชน อบรมตามบทบาท กาหนด Core team แต่ละ Domain แลกเปลี่ยนเรียนรู้ Kick off F2F, IT วิเคราะห์ สังเคราะห์ K. พัฒนาเป็นแนวปฏิบัติ
  • 58. Dialogue หลักปฏิบัติ Dialogue 
• ฟังอย่างลึกซึง ฟังให้ได้ยิน 
• มีความเป็น ้ อิสระ และผ่อนคลาย 
• ทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่มีผู้นา และไม่มีผู้ตาม
  • 59. อุปสรรคของการแลกเปลี่ยนความรู้ ตัวบุคคล • มีทัศนคติที่ว่า ความรูคืออานาจ ้ • ไม่ทราบว่าสิ่งที่ตนเองรู้มประโยชน์กับคนอื่นหรือไม่ ี • ไม่ทราบว่าคนอื่นไม่รู้สิ่งที่ตนเองรู้ • ไม่เห็นประโยชน์ ไม่มีแรงจูงใจของการแลกเปลี่ยนความรู้ • ไม่มีเวลาและความมุ่งมั่นเพียงพอในการเรียนรู้จากผู้อื่น • ไม่มีความสัมพันธ์หรือความคุ้นเคยเพียงพอกับบุคคลที่ต้องการ แลกเปลี่ยนความรู้ด้วย
  • 60. อุปสรรคของการแลกเปลี่ยนความรู้ ส่วนรวม/โครงสร้าง • ยังไม่มีกระบวนการในการแลกเปลียนเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ่ • ผู้บริหารไม่ให้การสนับสนุน • ระบบสารสนเทศไม่เอื้อ • ยังไม่มีระบบยกย่องชมเชยหรือให้รางวัลแก่ผู้ที่แลกเปลี่ยนหรือ ถ่านทอดความรู้ให้ผู้อื่น
  • 61. อุปสรรคของการแลกเปลี่ยนความรู้ ค่านิยม/วัฒนธรรมองค์กร • ไม่มีภาษากลางที่เข้าใจ และใช้ร่วมกันได้ • มีการแข่งขันระหว่างหน่วยงานสูง • บุคลากรไม่รวมมือ ไม่เปิดเผย ่ • ผู้บริหารไม่ยอมรับการลองสิ่งใหม่ๆ
  • 62.
  • 63. What knowledge do we need to have? • Vision • Mission What knowledge do we have now?
  • 64. องค์กร วิสัยทัศน์: ต้องมี K เรื่องอะไร ? …………………………………… …………………………………… มี Kนั้นหรือยัง ? พันธกิจ: • ……………………………… ถ้าไม่มี K จะสร้าง K นันอย่างไร ? ้ • ……………………………… หน่วยงาน กลยุทธ์: หน่วสยงาน • วิ หน่วยงานน์ัยทัศน์ หน่วยงานยงานส•ัยเป้จนประสงค์ หน่•ววิสัยทั•ศน์ ทัศ ธกิจ • …………………………………… วิ พั ถ้ามี K นันอยูที่ไหน ? ้ ่ • วิสัยทั •น์วิสัย• ศน์ ธกิ•จพันธกิา หน่วยงานศ พันธกิจ น เป้าประสงค์ ทัพั • •เป้าประสงค์ • • วิสัยทัศน์ พันธกิจ K ครบถ้วน สมบูรณ์ ทันสมัย ? • กลยุทธ์ • พันธกิจ • ยุทธศาสตร์ • • กลยุทธ์ K เข้าถีงได้งาย สะดวก รวดเร็ว ? ่ แบ่งปัน K กันหรือไม่ โครงการ โครงการ นา K ไปใช้ ?
  • 65. คาตอบ KM Process ระบบ/กิจกรรม ต้องมี K เรื่องอะไร ? • พัฒนาบุคลากร ยังขาด K นั้น สร้างและแสวงหา K • เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ, มี Kนั้นหรือยัง ? • ใช้ K จากภายนอก • Benchmarking ถ้าไม่มี K จะสร้าง K นั้น • ปรับปรุงพัฒนาคลังความรู้ มี K แต่ยังไม่ดี ไม่สมบูรณ์ รวบรวม ประมวลและกลั่น ให้เป็นระบบ ทันสมัย อย่างไร ? ไม่ทันสมัย อยู่กระจัด กรอง K • ค้นหาและรวบรวม กระจาย Best Practices ถ้ามี K นั้นอยู่ที่ไหน? • จัดทาทาเนียบผู้ชานาญการ เข้าถีง K ได้ยากและช้า ทาให้ผู้ใช้ K เข้าถีง K ได้งาย ระบบ IT ่ K ครบถ้วน สมบูรณ์ และสะดวก ทันสมัย ? K เข้าถีงได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ? มีการแบ่งปัน K ระหว่างกัน สร้างบรรยากาศ ระบบ และ • การจัดสัมมนา Workshop น้อยมาก • Communities of Practice เวทีแลกเปลี่ยน K ทั้งภายใน • After action review (AAR) แบ่งปัน K กันหรือไม่ และภายนอก • การทางานเป็นทีมข้ามสายงาน • การแบ่งปันความรู้และ นา K ไปใช้ ? มีการนา K ไปใช้ประโยชน์ ส่งเสริมให้มีการนาความรู้ที่ได้รับ การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่ง ไม่มากนัก ไปปรับใช้หรือต่อยอดความรู้เดิม • ของการประเมินผลงานว่า ปลูกฝังให้บุคลากรเห็น อย่างต่อเนื่อง การเรียนรู้เป็นหน้าที่ • ประเมินประสิทธิผลการอบรม
  • 66. พันธกิจ/วิสัยทัศน์ KM 3 รูปแบบในประเทศไทย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด KM เชิงองค์กร เป้าหมาย • โยงยุทธศาสตร์ KM กลุ่ม/เครือข่าย ยุทธศาสตร์ • จัดทาแผน / กาหนด KPI • แลกเปลี่ยน Tacit • ใช้การประเมิน KM Strategies • พัฒนา “คุณอานวย” • สร้าง CoPs KM Focus Areas Desired State of KM Action Plans KM ปัจเจก / ใจ (6-step model) • เริ่มจากเรื่องที่สนใจ การเรียนรู้ (Learning) การวัดผล (Measurements) การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล (Recognition and Reward) เป้าหมาย (Desired State) • ใช้ “หัวใจนักปราชญ์” World-Class KM Environment • ดูสิ่งที่กากับอยู่ในใจ (Mindset, Mental Model) กระบวนการ การสื่อสาร การเตรียมการและ และเครื่องมือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Communication) (Transition and Behavior (Process Tools) Management) องค์กรอัจฉริยะ (Intelligent Organization) จะต้องมี KM ทั้งสามวง
  • 67. “โมเดลปลาทู” • เป็นโมเดลอย่างง่าย ที่เปรียบการจัดการความรู้ เหมือนกับปลาทูหนึงตัวที่มี ๓ ส่วน คือ ่ 1. ส่วน “หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการ จัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทาจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “เราจะทา KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “หัว ปลา” นี้จะต้องเป็นของ “คณกิจ” หรือ ผู้ดาเนินกิจกรรม KM ทังหมด โดยมี “คุณเอื้อ” และ “คุณ ้ อานวย” คอยช่วยเหลือ 2. ส่วน “ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญ ซึ่ง “คุณอานวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุนให้ “คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ ้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “คุณกิจ” พร้อมอานวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็น ทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม 3. ส่วน “หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “คลังความรู้” หรือ “ขุมความรู้” ที่ได้จากการเก็บ สะสม “เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “หาง ปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ทซ่อนเร้นให้เป็นความรูที่เด่นชัด นาไปเผยแพร่ ี่ ้ และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป
  • 68.
  • 69. • กาหนดทิศทาง • มุ่งมั่น • สนับสนุน CEO CKO ตัวเชื่อม ผู้บริหารระดับกลาง Actions ผู้ปฏิบัติงาน
  • 70. องค์ประกอบสาคัญ ของ KM KM Measurement Business processes Customers Business Results Leadership & Vision Strategy Identify Use Create/Acquire Learning & Innovation Collect/Organize Share Access People Technology Culture, Competency, Structure Adapted from “Primer on Knowledge Management”, PSB, 2001