SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง 
รศ.ดร. เอกรินทร์ อนุกูลยุทธธน 
คณะสถาปัต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล 
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล 
ผู้ถอดความ : นายฮากีม ผูหาดา 
กองบรรณาธิการ : นายอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน, นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์ สถาพร 
ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร 
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง 
ปีที่เผยแพร่ : ตุลาคม 2557 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ 
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
สารบัญ 
1. คืนสู่ทรัพยากรธรรมชาติ (Back to the Natural Resource) 1 
2. การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 2 
3. แผ่นดิน ผืนน้า ทรัพยากรเป็นต้นทุน 3 
4. จัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เหมาะสม 4 
5. แหล่งน้าธรรมชาติแหล่งหล่อเลี้ยงชีวิตในระบบนิเวศ และนโยบายชาติ 5 
ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ต้องชัดเจน 
6. การจัดลาดับศักดิ์ทรัพยากรดิน (Land Resource Hierarchy Classification) 5 
7. การทาลายคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ภัยที่ย้อนคืนสู่มนุษย์ 6 
8. บริหารทรัพยากรด้วยหลักธรรมาภิบาล 7 
9. ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 8 
10. Leading to the Green City 9 
11. ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้นที่ว่าง 9 
12. ผังเมืองเฉพาะ สร้างเมืองให้โปร่ง เสริมการเดินทางอย่างสะอาด 10 
13. พัฒนาเมืองบนวิถีวัฒนธรรมแห่งตน อนุรักษ์ทรัพยากรต้นทุนของประเทศ 10 
14. สร้างเมืองเราให้น่าอยู่ด้วยบริบทของเราเอง 11 
15. National Agenda for Development case study : Inchon 11 
16. National Agenda for Development case study : Inchon Port & Logistic 11
1 
มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง 
รศ.ดร. เอกรินทร์ อนุกูลยุทธธน1 
คณะสถาปัต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
1. คืนสู่ทรัพยากรธรรมชาติ (Back to the Natural Resource) 
ในยุโรปมีกติกากาหนดไว้ว่า การสร้างเมืองที่ไหนก็แล้วแต่จะต้องมีการกาหนดสัดส่วนพื้นที่ ธรรมชาติและสัดส่วนพื้นที่เมืองไว้เสมอ นอกจากนั้น ในสัดส่วนพื้นที่ธรรมชาติยังแยกย่อยใน รายละเอียด เช่น ป่าเศรษฐกิจ ป่าอนุรักษ์ ป่าอุทยาน เป็นต้น ซึ่งจะมีหน่วยงานในการกากับดูแล และรับผิดชอบอย่างสอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมของคนในพื้นที่นั้น ๆ เพื่อให้คนในพื้นที่เกิดการรัก ถิ่นที่ตั้งของตน หรือเกิด sense of belonging เนื่องจากสามารถดารงชีวิตที่ได้รับผลประโยชน์และ รายได้ภายใต้ทรัพยากรของตนเอง 
เพราะฉะนั้นจึงขอเริ่มต้นด้วยการเสนอว่า ประเทศจะต้องมี Strong Statement of Direction (SOD) คือ แผนปฏิบัติการที่ชัดเจนว่า ทิศทางในการพัฒนาจะเป็นไปในทางไหน เราจะ เป็นประเทศอุตสาหกรรม (NICs), ประเทศกึ่งอุตสาหกรรม, ประเทศที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ หรือประเทศที่ป้อนอาหารให้กับคนทั่วโลก(Food Feeder Land) แต่สิ่งที่พึงระวังคือ การ อยากเป็นหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกันนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะในแต่ละเป้าหมาย ทิศทางจะต้อง เชื่อมประสานกันได้ อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานั้น เห็นได้ว่า สังคมไทยกาลังเดินเข้าสู่ ความละโมบและอยากเป็นทุกอย่าง โดยไม่ได้พิจารณาถึงบริบท ศักยภาพ และความสามารถของ ตนเอง อีกทั้งยังคิดไปเองว่า ยังมีทรัพยากรอยู่อย่างล้นเหลือในพื้นที่ จึงใช้ทรัพยากรโดยไม่คิดว่า นั่นคือต้นทุนทางสังคมที่ต้องเก็บออมไว้ให้คนรุ่นลูกหลาน 
ป่าไม้ที่เคยมีอย่างมากมาย ปัจ จุบันลดเหลือไม่ถึง 20% แต่ในยุโรปหรือประเทศแถบ สแกนดิเนเวีย มีป่าไม้มากถึง 50% ขึ้นไป โดยพื้นที่เมืองที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานมีอยู่ประมาณ 30-40% ที่เหลือเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่เก็บไว้เป็นต้นทุนให้กับลูกหลานในอนาคต ทั้งนี้ กว่าต้นไม้ต้น หนึ่งจะเติบโตต้องใช้เวลาอย่างน้อย 10-20 ปี ซึ่งต้นไม้ใหญ่เหล่านั้นสามารถคายออกซิเจนเพื่อสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ดี และอากาศบริสุทธิ์ให้กับสังคม เช่น ต้นสัก, ต้นประดู่ หรือไม้ยืนต้นต่าง ๆ ที่มีอายุ เกิน 20 ปี สามารถคายออกซิเจนได้มากกว่า 2 ตัน/ปี เท่ากับการคายคาร์บอนในการขึ้น-ลงของ เครื่องยนต์ A30 A35 เพียงครั้งเดียว นั่นหมายความว่า เราต้องปลูกต้นไม้ใหญ่อย่างมากมาย บริเวณรอบสนามบิน เพื่อกันคาร์บอนจากการขึ้น-ลงของเครื่องยนต์อากาศยานในแต่ละครั้ง 
1 ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง “มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง” จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ พัฒนาอนาคตของเมือง เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 19 มิถุนายน เวลา 09.30 – 12.00 น.ณ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของ เมือง อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
2 
2. การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 
เรื่องนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับนักผังเมือง หรือผู้ที่บริหารจัดการทรัพยากรที่ดี ซึ่งมีที่ปรึกษาใน แต่ละด้าที่พร้อมให้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา แล้วกลั่นกรองข้อมูลออกมาให้สอดคล้องกับ SOD โดย การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในทางผังเมืองสามารถแบ่งพื้นที่ได้ 4 ชั้น (layer) คือ (ดูภาพที่ 1 ประกอบ) 
การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 
(ภาพที่ 1) 
2.1 Heritage preservation 
หรือรากเหง้าหรือประวัติศาสตร์ความเป็นมา กล่าวคือ การสร้างหรือขยายเมืองใหม่จะต้อง มีการอนุรักษ์พื้นที่ทางวัฒนธรรม หรือสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงตัวตนของคนในพื้นที่ อัน จะเป็นมรดกหรือลายครามที่ต้องอยู่ในตู้แล้วล็อกกุญแจเก็บไว้อย่างดี ห้ามนามาตากแดด หรือนา ออกมาใช้เล่น จนที่สุดคนล้างชามก็ซุ่มซ่ามทาเสียหายจนหมด ดังนั้น พื้นที่ดังกล่าวจะต้องเก็บไว้ให้ รุ่นลูกหลานได้เห็นและตระหนักว่า เรามาจากอะไร เราคือใคร เรามีวิถีวัฒนธรรมอย่างไร เหล่านี้ถือ เป็น recognition of cultural heritage ที่จะต้องอนุรักษ์ไว้สืบไป
3 
2.2 Land use Ordering 
คือการจาแนกลาดับศักดิ์และการใช้ประโยชน์ให้ตอบรับกับลักษณะการใช้งานอย่างเป็น ระบบ กล่าวคือ จะต้องมีการวิเคราะห์ความต้องการ และปัญ หาในพื้นที่ เช่น หากต้องการสร้างเมือง การศึกษา ต้องวิเคราะห์ว่า เมืองการศึกษาต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง ซึ่งอาจจะเป็นพื้นที่ให้นิสิต/ นักศึกษาได้มีเวลาค้นคว้าวิจัยหรืออ่านหนังสือ ไม่ใช่มีแต่สถานบันเทิง ดังนั้น จึงควรจะเป็นร้าน กาแฟที่มีอินเตอร์เน็ต หรือ free library ซึ่งเอื้อต่อการทางานทางวิชาการ เอื้อต่อการหาองค์ความรู้ นอกห้องเรียน เป็นต้น 
2.3 Urban Public Facilities 
การจัดองค์ประกอบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายโยธาฯโดยตรง เพราะ ความเป็นเมืองจะต้องมีการเคลื่อนตัว การไปมาหาสู่กันระหว่างคนในพื้นที่เอง หรือระหว่างคนใน พื้นที่กับคนนอกพื้นที่อยู่เสมอ จึงเกิด urban mobility ขึ้น หรือแม้กระทั่งเมืองที่มีศักยภาพในการ ผลิตสินค้าที่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน จนเกิดความจาเป็นที่จะต้องขยายไปถึง logistic ระบบการขนถ่ายสินค้า ซึ่งจะเป็นฐานเศรษฐกิจให้กับคนในพื้นที่ 
2.4 Environment 
สิ่งแวดล้อม ทุกขั้นตอนการพัฒนาต้องมองไปถึงสิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วย Built Environment หรือสิ่งแวดล้อมที่สร้างขึ้นตามความต้องการของมนุษย์ และ Natural Environment หรือสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นแล้วตามธรรมชาติ ซึ่งทั้งสองส่วนต้องเอื้อต่อกัน ตลอดจนมองไปที่ เป้าหมายเดียวกันคือ Sustainable Environment หรือสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ด้วยวิธีการที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงจากคาว่า green, eco, ธรรมชาติบริสุทธิ์ และระบบนิเวศน์ ดังนั้น เมื่อเมืองพัฒนาโดย พิจารณาจากการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินทั้ง 4 ชั้นแล้ว แน่นอนว่า สิ่งที่ตามมาคือเมืองที่ พัฒนาไปอย่างมีระบบ สมดุล และสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพ อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคน ในสังคม 
3. แผ่นดิน ผืนน้า ทรัพยากรเป็นต้นทุน 
3.1 แหล่งน้า 
สามารถ classified เป็นลุ่มน้าชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ซึ่งหมายถึงเกณฑ์ในการวัดคุณภาพความ บริสุทธิ์ของน้าที่สามารถป้อนไปสู่ชุมชนได้ แหล่งน้าเหล่านี้จะต้องได้รับการดูแลรักษาอย่าง ระมัดระวังที่สุด และห้ามการสร้างอุตสาหกรรมบริเวณลุ่มน้า หรือการใช้ประโยชน์ทางด้านอื่น ซึ่งทา ให้เกิดผลกระทบ ในสมัยจอมพลสฤษดิ์มีคาขวัญที่ว่า “น้าไหล ไฟสว่าง ทางดี มีเงินใช้” ในส่วนของ “น้าไหล” คือที่ใดก็ตามที่มีแม่น้าลาคลองก็ตั้งโรงงานขนาบแม่น้าไปเลย เพื่อให้เป็น natural logistic
4 
ล่องสู่การลาเลียงสินค้า ในขณะเดียวกันก็ระบายน้าเสียลงแม่น้า นี่คือจุดเริ่มต้นของการล่มสลายของ ทรัพยากรน้า 
3.2 ป่าไม้ 
วิบัติภัยต่าง ๆ เกิดจากความเสียหายของพื้นที่ป่าที่ถูกดัดแปลงไปสู่ป่าเศรษฐกิจ ซึ่งทาลาย สมดุลทางธรรมชาติ จึงมีความจาเป็นที่จะต้องกาหนดกติกาอย่างเข้มงวด 
3.3 ผังเมือง 
ในเชิงวิชาการเกิดคาถามว่า เมืองควรโตขนาดไหน? ประชากรควรมีเท่าไหร่ถึงจะ เหมาะสม? แต่การตอบคาถามดังกล่าวต้องคานึงถึงคาถามที่จะตามมาคือ เรามีที่อยู่อาศัยเพียงพอ หรือไม่? เรามีโรงเรียนให้เด็กไปหรือไม่? เรามีตลาดให้ผู้คนจับจ่ายใช้สอยเพียงพอหรือไม่? เรามี พื้นที่จัดเก็บขยะอย่างเป็นระบบเพียงพอหรือไม่? ขยะเหล่านั้นสามารถนาไปใช้ประโยชน์หรือรี ไซเคิลมากน้อยแค่ไหน? สิ่งเหล่านี้เป็นดั่งวัฏจักรของ good living place คือการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข ถ้าสามารถตอบโจทย์เหล่านั้นได้ จึงจะสามารถกาหนดได้ว่า เมืองจะโตขนาดไหน? ปัจจุบัน ผังเมืองของเราเป็นแบบปีกผีเสื้อ ตัว capacity เพราะเกิด over caring capacity การให้บริการกับ ปริมาณการใช้ไม่สมดุลกัน เช่น กรุงเทพฯ ที่ต้องการรวมเมืองบริวารรอบ ๆ ให้มาเป็นเมืองเดียวกัน (เช่นในกรณีของมีนบุรี) แต่เมื่อย้อนกลับไปถามคาถามศักยภาพในการบริการขั้นพื้นฐานดังกล่าว กลับพบว่า ไม่สามารถตอบได้ จึงทาให้ปัญ หาอื่น ๆ ตามมาจนยากที่จะจัดการแก้ไข 
4. จัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เหมาะสม 
คือการกาหนด zoning ให้ชัดเจน ในปัจ จุบัน zoning ของเรายังไม่ชัดเจน มีการปะปนทุก อย่างไว้ในที่เดียว มี พ.ร.บ. ควบคุมอาคารที่กาหนดการใช้พื้นที่ สัดส่วน 70% ใช้ได้ อีก 30% เป็น ที่อยู่อาศัย หรือ 90% เป็นอาคารสาธารณะ และสานักงานทางพาณิชย์ 10% เป็นพื้นที่ว่าง แต่ สัดส่วนพื้นที่กลับถูกใช้หมด 100% ที่สาคัญมักจะเป็นอาคารของราชการที่ละเมิดกฎกติกาเสียเอง จึงไม่เกิดความเท่าเทียม ไม่เกิด good governance เพราะราชการยังทาได้ นับประสาอะไรกับ เอกชน ดังนั้น รัฐจะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการ respect the rule 
ภาพที่ 2 ทางขวาคือทาอย่างไรให้เมืองโปร่งตามสมควร มีถนนหนทางพอมี และพื้นที่สี เขียวพอเหมาะ หรืออย่างภาพล่างสุดคือกรุงเทพฯ จะเห็นได้ว่า ในเวลากลางคืน กรุงเทพฯ เป็น เมืองที่ใช้พลังงานสูงมาก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอยู่ที่ฟุ่มเฟือยและอ่อนด้อยในระเบียบวินัย ของคนกรุงเทพฯ ได้ดี
5 
จัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เหมาะสม 
(ภาพที่ 2) 
5. แหล่งน้าธรรมชาติแหล่งหล่อเลี้ยงชีวิตในระบบนิเวศ และนโยบายชาติด้านการ ใช้ประโยชน์ที่ดินที่ต้องชัดเจน 
ปัจ จุบันในยุโรปกาลังหา food feeder land หาพื้นที่สีเขียวที่สงบ แต่ไม่ได้มองหาความ สะดวกสบาย หรือ modernization เพราะที่ยุโรปมีพร้อมแล้ว คนยุโรปกาลังมองหาสิ่งที่ นอกเหนือจากวัฒนธรรมของเขา ซึ่งเป็นสิ่งแปลกใหม่ที่ในสังคมไทยมีอยู่แล้ว โดยเฉพาะพื้นที่ ธรรมชาติ ใน 4 ภาคของประเทศไทยต่างก็มีความหลากหลายทางธรรมชาติตลอดจนวัฒนธรรมที่ แตกต่าง แต่ในปัจ จุบันสิ่งเหล่านี้ค่อย ๆ เลือนหายไป เพราะการขาด sense of belonging ของคน ในพื้นที่ และ SOD ที่ชัดเจนจากภาครัฐ ทั้ง ๆ ที่เราสามารถรักษาและสร้างผลประโยชน์ผ่าน eco tourism หรือ cultural tourismได้ 
6. การจัดลาดับศักดิ์ทรัพยากรดิน (Land Resource Hierarchy Classification) 
6.1 Land Resource Ratio Classification 
การจัดลาดับสัดส่วนการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม คือการสร้างสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่น ตลอดจวิถีวัฒนธรรมของคนในพื้นที่ ซึ่งหากต้องการที่จะพัฒนาสู่ความเป็นเมือง ควร เป็นไปในลักษณะของการสร้าง mono block หรือ “ย่าน” ที่ประกอบไปด้วยวิถีชีวิต และจิตวิญญาณ
6 
ของผู้คน เช่น สงขลา ที่มีย่านเก่าบริเวณถนนนางงามที่ยังคงไว้ซึ่งงานสถาปัต ยกรรมอันแสดงถึง ตัวตน และเป็นเสน่ห์ของพื้นที่ เป็นต้น วิถีชีวิต วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติที่แตกต่างไปใน แต่ละพื้นที่ ถือเป็นของดีที่มีไว้ขายให้กับคนในพื้นที่ การพัฒนาสู่ความเป็นที่มีขนาดใหญ่เกินไปอาจ กระทบต่อจุดขายของแต่ละพื้นที่ได้ 
ภาพที่ 3 ทางซ้ายบน เป็นภาพป่าในจังหวัดน่าน ซึ่งปัจ จุบันป่าไม้ถูกทาลายไปมาก เพราะ เกิด Man made abused การเข้าไปทาลายป่า แล้วไปขอจดสัมปทานเป็นป่าเสื่อมโทรม เพื่อเข้าไป ทากิน ถือเป็นความเห็นแก่ตัวของคนส่วนหนึ่ง โดยเฉพาะคนในพื้นที่ที่ไม่คานึงว่าทรัพยากร เหล่านั้นเป็นต้นทุนให้กับคนรุ่นหลานต่อ ๆ ไป ดังนั้น จึงต้องย้อนกลับมาที่การปลูกฝัง การตระหนัก รู้ของคนในพื้นที่ให้มี sense of belonging 
การจัดลาดับศักดิ์ทรัพยากร 
(ภาพที่ 3) 
7.การทาลายคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ภัยที่ย้อนคืนสู่มนุษย์ 
ต้นไม่ใหญ่ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป สามารถซับน้าได้มากถึง 30 ลิตร/วินาที ดังนั้น เวลาน้าผิว ดินลงมา หรือน้าฝนที่ตกลงมาในช่วงฝนนอกฤดู ถ้าหากฝนตกลงมาเกินปริมาณที่กาหนดไว้ ต้นไม้ เหล่านั้นก็สามารถซับน้าเหล่านั้นไว้ได้ เปรียบเสมือนฟองน้าขนาดใหญ่ที่เตรียมไว้สาหรับการซับน้า ประการหนึ่งน้าจะไม่ไหลลงสู่เมือง แต่เวลานี้ป่าไม้ถูกตัดหมด ศักยภาพของดินจึงไม่สามารถเป็น ฟองน้าที่ซับน้าไว้ได้ จึงเป็นสาเหตุของน้าที่ไหลลงสู่เมืองอย่างรวดเร็ว
7 
ประการที่สอง เมืองอาจจะทาอุโมงค์สาหรับระบายน้าไว้ แต่เป็นการแก้ปัญ หาเฉพาะหน้า เท่านั้น เพราะเป็นการระบายน้าออก ไม่ใช่การดูดซับน้า ดังนั้น น้าที่ถูกระบายออกจึงไหลไปลงตาม คลองต่าง ๆ และส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ตลอดจนพื้นที่ทากินของประชาชน เช่น ชาวบ้านที่ อ. แม่กลอง ซึ่งทาธุรกิจกระชังปลา พบว่า ปลาตายยกกระชังจากการช็อกน้า เพราะสัดส่วนน้าในคลอง ระหว่างน้ากร่อย น้าจืด และน้าเค็ม ผิดปกติ อีกทั้งน้าในเมืองก็เป็นน้าที่สกปรก เนื่องจากเป็นน้า ที่มาจากท่อเดียวกัน ซึ่งแตกต่างจากต่างประเทศที่แยกท่อน้าออกเป็นหลายท่อ น้าที่เจือปนก็จะ ได้รับการบาบัด แล้วนากลับมาใช้ใหม่ได้ 
8. บริหารทรัพยากรด้วยหลักธรรมาภิบาล 
พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองเป็นกฎหมายสาคัญที่ผู้ว่าราชการหรือผู้บริหารจาเป็นที่ จะต้องท่องให้จาขึ้นใจ และสามารถบังคับใช้อย่างเข้มงวด เนื่องจากกฎหมายทั้งหลายนั้นมีที่มา โดย บัญญัติขึ้นภายใต้การคานึงถึงสาธารณะ ซึ่งให้ความสาคัญกับความปลอดภัยของส่วนรวมที่ต้อง คานึงถึงชีวิตคนเป็นหลัก ตลอดจนการให้ความสาคัญกับภูมิทัศน์ของเมือง เพราะตึกบางแห่งสร้าง มาแล้วแต่ต้องระงับการก่อสร้างกลางคัน เนื่องจากสร้างผิดกฎหมายและเงื่อนไขที่วางไว้ ทั้งนี้ การ ระงับการก่อสร้างได้กลายเป็นภาระของรัฐ ในการดูแลต่อ หรือทาลายทิ้ง แต่ด้วยงบประมาณในการ ทาลายสูง เพราะต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ตึกดังกล่าวจึงมักจะถูกปล่อยทิ้งร้างและกลายเป็น “สุสานคอนกรีตเปลือย” ในที่สุด 
การสร้างตึกสูงจึงต้องคานึงถึง caring capacity ที่สามารถจะรองรับกับอุบัติภัยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพราะปัจจุบัน รถดับเพลิงในประเทศไทยมีความสามารถในการดับเพลิงที่ระดับความ สูงเพียง 45 เมตร หรือตึก 10 ชั้นเท่านั้น และในกรุงเทพฯ มหานครมีรถดับเพลิงดังกล่าวเพียง 7 คัน นอกนั้นจะเป็นรถดับเพลิงขนาดเล็ก สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องใช้งบประมาณที่มาจากภาษีของ ประชาชนที่ไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการสร้างตึกเหล่านั้น และบางครั้งก็เป็นเม็ดเงินที่สูงจนเกินขีด ความสามารถของรัฐ ทั้งหลายทั้งปวงนั้นกลายเป็นการละลายงบประมาณเพียงเพื่อตอบสนอง ผลประโยชน์ของนายทุนที่ต้องการผลประโยชน์จากการสร้างตึกสูง ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ที่ภาคเอกชนที่ต้องการสร้างตึกสูงจะต้องมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการรับผิดชอบและดูแลรักษาความ ปลอดภัยสาธารณะที่จะเกิดจากการสร้างตึกสูงเหล่านั้น เช่น การบริจาคเงินเพื่อซื้อเฮลิคอปเตอร์ ดับเพลิงให้กับ กทม. เพื่อใช้ดับเพลิงกับตึกสูง เป็นต้น 
จากกรณี “สุสานคอนกรีตเปลือย” และ การสร้างตึกสูงในเมือง สะท้อนให้เห็นภาพของ กฎหมายที่มีความล้าหลัง และขาดความเข้มงวดในการบังคับใช้ จนกลายเป็นว่า กฎหมายมีไว้ เหมือน “ศาลพระภูมิ” ที่ถูกปล่อยรกร้างและไม่มีความผูกพัน พ.ร.บ. บางมาตรา เช่น พ.ร.บ. ป่าไม้ พ.ศ. 2484 ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518 เป็นต้น จาเป็นต้อง ได้รับการปรับแก้ให้มีความทันสมัยมากขึ้น เพื่อให้เกิด Good governance จากการคุ้มครองความ ปลอดภัยให้กับสาธารณะ
8 
9. ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 
ภาพที่ 4 ตรงกลางซ้ายถ่ายจากลานจอดรถของห้างแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ซึ่งกลายเป็น multi purpose area ที่บางวันรถยนต์ไม่สามารถเข้าไปจอดในที่จอดรถได้ เพราะปรากฎว่ามีบูธขาย ของ ขายเสื้อผ้า จนทาให้เกิดวิกฤติจราจร 
ภาพที่ 4 ทางขวามือภาพกลางอยู่ในเมืองบอร์โดซ์ (Bordeaux)ที่เป็นเมือง green city ซึ่ง หน่วยงาน หรือเทศบาลเมืองได้จัดระบบรถราง แม้กระทั่งต้องลดผิวจราจรจาก 8 ช่องทาง จนเหลือ 4 ช่องทาง ในช่วงแรกเกิดวิกฤติมาก แต่ภายหลังกลับทาให้คนในพื้นที่ไม่ต้องใช้รถยนต์ส่วนตัว เพราะระบบรถรางสามารถเชื่อมโยง และแทรกแซงได้ทั่วทั้งเมือง ทั้งนี้รถรางที่อยู่บนดินเป็นระบบที่ ถูกที่สุด ในขณะที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศที่ผลิตรถยนต์ชื่อดังหลายยี่ห้อ รวมทั้งระบบเครื่องบิน airbus ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเต็มรูปแบบ อีกทั้งยังมี stock น้ามัน แต่กลับรณรงค์ให้คนเลิกใช้รถยนต์ เลิกใช้น้ามัน เพื่อไม่ให้ขาดดุลการค้า ดังนั้นโรงงานผลิตรถยนต์เวลานี้ต้องออกนอกประเทศ เช่น บราซิล อินเดีย เป็นต้น แม้ว่าอาจจะกระทบต่อแรงงานภายในประเทศ เนื่องจากคนงานประกอบ รถยนต์ต้องตกงาน แต่สิ่งที่ได้คือเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวขึ้น บอร์โดซ์กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สะอาด และปลอดมลภาวะ 
ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 
(ภาพที่ 4) 
ตลอดจนการใช้จักรยานหยอดเหรียญ เพียงหยอดเหรียญ 1 ยูโร สามารถใช้ได้ครึ่งชั่วโมง ซึ่งเมื่อไปจอดที่ใดก็ตามภายใน 1 ชั่วโมง เหรียญก็จะคืนกลับมา แต่หากใช้เกิน 1 ชม. เหรียญจะถูก
9 
กลืนและรวบรวมเป็นภาษีที่นาไปซ่อมแซมถนนหนทางและทางเท้า ดังนั้น จึงเป็นลักษณะของ universal design ถนน ทางเท้า ทางคนพิการดีขึ้นเรื่อย ๆ เมืองพัฒนาด้วยคุณภาพ ความปลอดภัย ของคนมาก่อน สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของคนต้องมาก่อน 
10. Leading to the Green City 
ในประเทศแถบยุโรป โครงการใดก็แล้วแต่ หรือเมืองไหนก็แล้วแต่ หากสามารถพิสูจน์ได้ว่า โครงการนั้น ๆ จะคืนพื้นที่สีเขียวให้กับเมืองได้ 50% ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด ท่านจะได้รับการ สนับสนุน 10% ของโครงการนั้น ๆ ซึ่งเป็นทั้งการโน้มน้าว การใช้กฎบังคับ การบ่มคนให้มีแรงจูงใจ ทุกวันนี้ผู้คนต่างบอกว่าตึกสูง ๆ คือสุนทรียภาพ แต่บางทีต้นไม้เล็ก ๆ ในกระถางที่มีดอก มีการ เปลี่ยนแปลง ก็สามารถเกิดสุนทรียภาพทางด้านสิ่งแวดล้อมได้ ปัจ จุบันอารมณ์ของคนถูกนาไปด้วย สุนทรียภาพที่หลากหลาย เมืองจึงต้องมีลักษณะของ place of diversity มีความหลากหลายทั้ง function และมีความหลากหลายทั้งกายภาพ แสงสี รูปลักษณ์ เพียงแต่ต้องจัด zoning ให้ดี โดย พิจารณาว่า ส่วนไหนควรจะอยู่ข้าง ๆ กัน และอยู่ร่วมกันได้ หรือมีจุด point of harmonious ความ กลมกลืน และความเชื่อมโยงกัน ซึ่งอยู่ในศาสตร์ของสถาปัต ยกรรมและผังเมือง 
11. ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้นที่ว่าง 
ภาพที่ 5 ซ้ายบนบนคือโครงการสร้างที่พักอาศัย แต่เป็นอาคารพักอาศัยที่เคยเป็นบ่อฝัง กลบขยะเมื่อ 10 ปีที่แล้ว เนื่องจากได้มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าแล้วว่า พื้นที่ส่วนนี้ในอนาคตจะต้อง เป็นอะไร เป็นการทา land bank เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหากับชุมชน ดังนั้น การริเริ่มโครงการใน เวลานั้นจึงไม่มีคนมาเดินขบวน เอาป้ายมาประท้วง 
ส่วนซ้ายล่างคือหลังจาก land field เรียบร้อยแล้ว จะมีการคัดแยกขยะที่รีไซเคิลได้ หรือ ย่อยสลายง่ายให้มาฝัง กลบในพื้นที่ที่จัดสรรไว้ เพื่อนาขยะดังกล่าวมาผลิตพลังงาน bio mass ทุก อย่างสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หมด บางแห่งได้กลายสภาพเป็นเนินสวนสาธารณะแห่งใหม่ ทั้ง ที่ใต้ดินคือขยะย่อยสลาย domestic wasted 
และภาพขวาล่างเป็นอีก area หนึ่ง คือ green economic area พื้นที่สีเขียวเศรษฐกิจ เป็น ไร่องุ่น เพื่อการทาไวน์ที่ได้รับการ subsidize จากรัฐ ให้เป็นเหมือนอุตสาหกรรมพื้นบ้าน
10 
ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้นที่ว่าง 
(ภาพที่ 5) 
12. ผังเมืองเฉพาะ สร้างเมืองให้โปร่ง เสริมการเดินทางอย่างสะอาด 
ระบบการขนส่งในบอร์โดซ์ อย่างรถรางเป็นการยกโครงสร้างการขนส่งของเมืองทั้งหมด โดยใช้เวลา 4 ปี ซึ่งเป็น 4 ปี ที่คนในพื้นที่ต้องเสียสละ แต่รัฐได้เข้าไปดูแลเยียวยา หลังจาก 4 ปี ที่ การก่อสร้างเสร็จสิ้น คนในพื้นที่ไม่เพียงได้รับความสะดวกสบายในการเดินทางเท่านั้น หากยัง ส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอีกด้วย โดยสามารถลดต้นทุนการเสียเวลา ลดต้นทุนการ เกิดอุบัติเหตุ ลดต้นทุนการสูญเสียพลังงานน้ามัน ลดต้นทุนการทาลายสิ่งแวดล้อม ส่วนหนึ่งของ ความสาเร็จคือนายกเทศมนตรี ซึ่งเป็น key personal ที่มีวิสัยทัศน์จากการทา SOD ที่ชัดเจน จน ได้รับความน่าเชื่อถือจากคนในพื้นที่เป็นอย่างดี 
13. พัฒนาเมืองบนวิถีวัฒนธรรมแห่งตน อนุรักษ์ทรัพยากรต้นทุนของประเทศ 
ลาน้าเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ และพื้นที่อนุรักษ์ จะเห็นได้ว่า สองข้างของลาน้าไม่มี สิ่งก่อสร้าง และห้ามตั้งโรงงานบริเวณแม่น้าเด็ดขาด
11 
14. สร้างเมืองเราให้น่าอยู่ด้วยบริบทของเราเอง 
ภาพที่ 6 ทุกภาพอยู่ในประเทศไทย ยกเว้นภาพซ้ายบน จะเห็นได้ว่า เรามี ทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม และอุดมสมบูรณ์ เรามีทุกอย่างพร้อม แต่เพียงขาดสานึกในการ รักษาสิ่งเหล่านี้ไว้ให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้ใช้ต่อไป 
สร้างเมืองของเราให้น่าอยู่...ด้วยบริบทของเราเอง 
(ภาพที่ 6) 
15. National Agenda for Development case study : Inchon 
ตัวแบบการสร้างเมืองของอินชอน, เกาหลีใต้ ที่มีการจัดโซนที่พักใหม่เป็นลักษณะ green และกลายเป็นเมืองประตูหน้าบ้านแห่งใหม่ที่จัดประชุมนานาชาติ จัดมหกรรมต่าง ๆ มีสนามกีฬา อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้นว่า เมืองควรจะเป็นพื้นที่ที่รวบรวมความหลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน แต่ต้องจัด โซนให้มีระบบอย่างเหมาะสม และอยู่กันได้อย่างถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน แล้วก็เป็นตัวเลือกด้วย ที่ สาคัญแต่ละโซนต้องมีป่าพื้นที่สีเขียว ให้มีสมดุลใน Land use Ordering ที่มาจากการวิเคราะห์ ความต้องการของคนในพื้นที่เป็นหลัก 
16. National Agenda for Development case study : Inchon Port & Logistic 
ได้มีการจัดโซนที่มีการพัฒนาใหม่ โดยเฉพาะระบบ logistic ทั้ง 3 ทาง ทั้งทางบก อากาศ และทะเล ใกล้ระบบ logistic มีย่านการค้าสาหรับกลุ่มผู้ใช้แรงงาน และมี housing ที่เหมือนการ
12 
เคหะสร้างไว้สาหรับคนใช้แรงงานซึ่งมีลักษณะเป็น work place และ living place ในเวลาเดียวกัน เรียกได้ว่า เป็น compact smart city เพราะทั้งหมด energy safe อาคารต่าง ๆ ใช้เทคโนโลยีซึ่ง ทันสมัย ระบบขยะเป็นระบบท่อดูดขยะที่ใส่ในแคปซูล โดยไม่ต้องมีถังขยะหน้าบ้าน และไม่ต้องมีรถ ขยะอีกด้วย เกาหลีถือเป็นต้นแบบที่น่าสนใจในการนามาปรับใช้กับประเทศไทย เพียงแต่สังคมไทย ต้องปรับแก้ในด้านของวัฒนธรรมและความมีระเบียบวินัย 
ประเทศไทยมีทุกอย่างพร้อม ไม่ถึงกับล้าสมัย แต่ก็ไม่ถึงกับทันสมัย แต่สิ่งที่ยังขาดคือ คน, วินัยที่ดี และ sense of belonging ซึ่งต้องมีแบบอย่างที่ดีจากผู้บริหารที่ไม่จาเป็นต้องเก่ง แต่ต้องมี ที่ปรึกษาในแต่ละด้านที่ดี จนนาไปสู่ SOD ที่ปฏิบัติได้จริง

Contenu connexe

Tendances

Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีFURD_RSU
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ FURD_RSU
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองFURD_RSU
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองFURD_RSU
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นPoramate Minsiri
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 

Tendances (8)

Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรี
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมืองหนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
หนังสือ ความคิดและข้อเสนอในการขับเคลื่อนความเป็นเมือง
 
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมืองแนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
แนวคิดธุรกิจแบบมีส่วนร่วม (Inclusive Business) กับการสร้างเศรษฐกิจเมือง
 
แก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้นแก่งเสือเต้น
แก่งเสือเต้น
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 

Similaire à หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง

1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพวSircom Smarnbua
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อrungthip131
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อthitinanmim115
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)FURD_RSU
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1nananattie
 

Similaire à หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง (20)

1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
การสร้างเศรษฐกิจ ด้วยแนวคิดการผูกขาดของธรรมชาติ (Monopoly by Nature)
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
วารสารยางพารา ฉ 33 ปี 55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 

Plus de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD_RSU
 

Plus de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 

หนังสือ มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง

  • 1.
  • 2. มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง รศ.ดร. เอกรินทร์ อนุกูลยุทธธน คณะสถาปัต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 3. บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ถอดความ : นายฮากีม ผูหาดา กองบรรณาธิการ : นายอุกฤษฏ์ เฉลิมแสน, นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์ สถาพร ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : ตุลาคม 2557 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. สารบัญ 1. คืนสู่ทรัพยากรธรรมชาติ (Back to the Natural Resource) 1 2. การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 2 3. แผ่นดิน ผืนน้า ทรัพยากรเป็นต้นทุน 3 4. จัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เหมาะสม 4 5. แหล่งน้าธรรมชาติแหล่งหล่อเลี้ยงชีวิตในระบบนิเวศ และนโยบายชาติ 5 ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ต้องชัดเจน 6. การจัดลาดับศักดิ์ทรัพยากรดิน (Land Resource Hierarchy Classification) 5 7. การทาลายคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ภัยที่ย้อนคืนสู่มนุษย์ 6 8. บริหารทรัพยากรด้วยหลักธรรมาภิบาล 7 9. ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง 8 10. Leading to the Green City 9 11. ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้นที่ว่าง 9 12. ผังเมืองเฉพาะ สร้างเมืองให้โปร่ง เสริมการเดินทางอย่างสะอาด 10 13. พัฒนาเมืองบนวิถีวัฒนธรรมแห่งตน อนุรักษ์ทรัพยากรต้นทุนของประเทศ 10 14. สร้างเมืองเราให้น่าอยู่ด้วยบริบทของเราเอง 11 15. National Agenda for Development case study : Inchon 11 16. National Agenda for Development case study : Inchon Port & Logistic 11
  • 5. 1 มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง รศ.ดร. เอกรินทร์ อนุกูลยุทธธน1 คณะสถาปัต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. คืนสู่ทรัพยากรธรรมชาติ (Back to the Natural Resource) ในยุโรปมีกติกากาหนดไว้ว่า การสร้างเมืองที่ไหนก็แล้วแต่จะต้องมีการกาหนดสัดส่วนพื้นที่ ธรรมชาติและสัดส่วนพื้นที่เมืองไว้เสมอ นอกจากนั้น ในสัดส่วนพื้นที่ธรรมชาติยังแยกย่อยใน รายละเอียด เช่น ป่าเศรษฐกิจ ป่าอนุรักษ์ ป่าอุทยาน เป็นต้น ซึ่งจะมีหน่วยงานในการกากับดูแล และรับผิดชอบอย่างสอดคล้องกับวิถีวัฒนธรรมของคนในพื้นที่นั้น ๆ เพื่อให้คนในพื้นที่เกิดการรัก ถิ่นที่ตั้งของตน หรือเกิด sense of belonging เนื่องจากสามารถดารงชีวิตที่ได้รับผลประโยชน์และ รายได้ภายใต้ทรัพยากรของตนเอง เพราะฉะนั้นจึงขอเริ่มต้นด้วยการเสนอว่า ประเทศจะต้องมี Strong Statement of Direction (SOD) คือ แผนปฏิบัติการที่ชัดเจนว่า ทิศทางในการพัฒนาจะเป็นไปในทางไหน เราจะ เป็นประเทศอุตสาหกรรม (NICs), ประเทศกึ่งอุตสาหกรรม, ประเทศที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ หรือประเทศที่ป้อนอาหารให้กับคนทั่วโลก(Food Feeder Land) แต่สิ่งที่พึงระวังคือ การ อยากเป็นหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกันนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะในแต่ละเป้าหมาย ทิศทางจะต้อง เชื่อมประสานกันได้ อย่างไรก็ตาม ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมานั้น เห็นได้ว่า สังคมไทยกาลังเดินเข้าสู่ ความละโมบและอยากเป็นทุกอย่าง โดยไม่ได้พิจารณาถึงบริบท ศักยภาพ และความสามารถของ ตนเอง อีกทั้งยังคิดไปเองว่า ยังมีทรัพยากรอยู่อย่างล้นเหลือในพื้นที่ จึงใช้ทรัพยากรโดยไม่คิดว่า นั่นคือต้นทุนทางสังคมที่ต้องเก็บออมไว้ให้คนรุ่นลูกหลาน ป่าไม้ที่เคยมีอย่างมากมาย ปัจ จุบันลดเหลือไม่ถึง 20% แต่ในยุโรปหรือประเทศแถบ สแกนดิเนเวีย มีป่าไม้มากถึง 50% ขึ้นไป โดยพื้นที่เมืองที่มีสาธารณูปโภคพื้นฐานมีอยู่ประมาณ 30-40% ที่เหลือเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่เก็บไว้เป็นต้นทุนให้กับลูกหลานในอนาคต ทั้งนี้ กว่าต้นไม้ต้น หนึ่งจะเติบโตต้องใช้เวลาอย่างน้อย 10-20 ปี ซึ่งต้นไม้ใหญ่เหล่านั้นสามารถคายออกซิเจนเพื่อสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ดี และอากาศบริสุทธิ์ให้กับสังคม เช่น ต้นสัก, ต้นประดู่ หรือไม้ยืนต้นต่าง ๆ ที่มีอายุ เกิน 20 ปี สามารถคายออกซิเจนได้มากกว่า 2 ตัน/ปี เท่ากับการคายคาร์บอนในการขึ้น-ลงของ เครื่องยนต์ A30 A35 เพียงครั้งเดียว นั่นหมายความว่า เราต้องปลูกต้นไม้ใหญ่อย่างมากมาย บริเวณรอบสนามบิน เพื่อกันคาร์บอนจากการขึ้น-ลงของเครื่องยนต์อากาศยานในแต่ละครั้ง 1 ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง “มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง” จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการ พัฒนาอนาคตของเมือง เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 19 มิถุนายน เวลา 09.30 – 12.00 น.ณ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของ เมือง อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 จัดโดย แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ โดยการสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 6. 2 2. การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง เรื่องนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับนักผังเมือง หรือผู้ที่บริหารจัดการทรัพยากรที่ดี ซึ่งมีที่ปรึกษาใน แต่ละด้าที่พร้อมให้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยา แล้วกลั่นกรองข้อมูลออกมาให้สอดคล้องกับ SOD โดย การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในทางผังเมืองสามารถแบ่งพื้นที่ได้ 4 ชั้น (layer) คือ (ดูภาพที่ 1 ประกอบ) การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง (ภาพที่ 1) 2.1 Heritage preservation หรือรากเหง้าหรือประวัติศาสตร์ความเป็นมา กล่าวคือ การสร้างหรือขยายเมืองใหม่จะต้อง มีการอนุรักษ์พื้นที่ทางวัฒนธรรม หรือสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงตัวตนของคนในพื้นที่ อัน จะเป็นมรดกหรือลายครามที่ต้องอยู่ในตู้แล้วล็อกกุญแจเก็บไว้อย่างดี ห้ามนามาตากแดด หรือนา ออกมาใช้เล่น จนที่สุดคนล้างชามก็ซุ่มซ่ามทาเสียหายจนหมด ดังนั้น พื้นที่ดังกล่าวจะต้องเก็บไว้ให้ รุ่นลูกหลานได้เห็นและตระหนักว่า เรามาจากอะไร เราคือใคร เรามีวิถีวัฒนธรรมอย่างไร เหล่านี้ถือ เป็น recognition of cultural heritage ที่จะต้องอนุรักษ์ไว้สืบไป
  • 7. 3 2.2 Land use Ordering คือการจาแนกลาดับศักดิ์และการใช้ประโยชน์ให้ตอบรับกับลักษณะการใช้งานอย่างเป็น ระบบ กล่าวคือ จะต้องมีการวิเคราะห์ความต้องการ และปัญ หาในพื้นที่ เช่น หากต้องการสร้างเมือง การศึกษา ต้องวิเคราะห์ว่า เมืองการศึกษาต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง ซึ่งอาจจะเป็นพื้นที่ให้นิสิต/ นักศึกษาได้มีเวลาค้นคว้าวิจัยหรืออ่านหนังสือ ไม่ใช่มีแต่สถานบันเทิง ดังนั้น จึงควรจะเป็นร้าน กาแฟที่มีอินเตอร์เน็ต หรือ free library ซึ่งเอื้อต่อการทางานทางวิชาการ เอื้อต่อการหาองค์ความรู้ นอกห้องเรียน เป็นต้น 2.3 Urban Public Facilities การจัดองค์ประกอบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายโยธาฯโดยตรง เพราะ ความเป็นเมืองจะต้องมีการเคลื่อนตัว การไปมาหาสู่กันระหว่างคนในพื้นที่เอง หรือระหว่างคนใน พื้นที่กับคนนอกพื้นที่อยู่เสมอ จึงเกิด urban mobility ขึ้น หรือแม้กระทั่งเมืองที่มีศักยภาพในการ ผลิตสินค้าที่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน จนเกิดความจาเป็นที่จะต้องขยายไปถึง logistic ระบบการขนถ่ายสินค้า ซึ่งจะเป็นฐานเศรษฐกิจให้กับคนในพื้นที่ 2.4 Environment สิ่งแวดล้อม ทุกขั้นตอนการพัฒนาต้องมองไปถึงสิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วย Built Environment หรือสิ่งแวดล้อมที่สร้างขึ้นตามความต้องการของมนุษย์ และ Natural Environment หรือสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นแล้วตามธรรมชาติ ซึ่งทั้งสองส่วนต้องเอื้อต่อกัน ตลอดจนมองไปที่ เป้าหมายเดียวกันคือ Sustainable Environment หรือสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ด้วยวิธีการที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงจากคาว่า green, eco, ธรรมชาติบริสุทธิ์ และระบบนิเวศน์ ดังนั้น เมื่อเมืองพัฒนาโดย พิจารณาจากการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินทั้ง 4 ชั้นแล้ว แน่นอนว่า สิ่งที่ตามมาคือเมืองที่ พัฒนาไปอย่างมีระบบ สมดุล และสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพ อันจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคน ในสังคม 3. แผ่นดิน ผืนน้า ทรัพยากรเป็นต้นทุน 3.1 แหล่งน้า สามารถ classified เป็นลุ่มน้าชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ซึ่งหมายถึงเกณฑ์ในการวัดคุณภาพความ บริสุทธิ์ของน้าที่สามารถป้อนไปสู่ชุมชนได้ แหล่งน้าเหล่านี้จะต้องได้รับการดูแลรักษาอย่าง ระมัดระวังที่สุด และห้ามการสร้างอุตสาหกรรมบริเวณลุ่มน้า หรือการใช้ประโยชน์ทางด้านอื่น ซึ่งทา ให้เกิดผลกระทบ ในสมัยจอมพลสฤษดิ์มีคาขวัญที่ว่า “น้าไหล ไฟสว่าง ทางดี มีเงินใช้” ในส่วนของ “น้าไหล” คือที่ใดก็ตามที่มีแม่น้าลาคลองก็ตั้งโรงงานขนาบแม่น้าไปเลย เพื่อให้เป็น natural logistic
  • 8. 4 ล่องสู่การลาเลียงสินค้า ในขณะเดียวกันก็ระบายน้าเสียลงแม่น้า นี่คือจุดเริ่มต้นของการล่มสลายของ ทรัพยากรน้า 3.2 ป่าไม้ วิบัติภัยต่าง ๆ เกิดจากความเสียหายของพื้นที่ป่าที่ถูกดัดแปลงไปสู่ป่าเศรษฐกิจ ซึ่งทาลาย สมดุลทางธรรมชาติ จึงมีความจาเป็นที่จะต้องกาหนดกติกาอย่างเข้มงวด 3.3 ผังเมือง ในเชิงวิชาการเกิดคาถามว่า เมืองควรโตขนาดไหน? ประชากรควรมีเท่าไหร่ถึงจะ เหมาะสม? แต่การตอบคาถามดังกล่าวต้องคานึงถึงคาถามที่จะตามมาคือ เรามีที่อยู่อาศัยเพียงพอ หรือไม่? เรามีโรงเรียนให้เด็กไปหรือไม่? เรามีตลาดให้ผู้คนจับจ่ายใช้สอยเพียงพอหรือไม่? เรามี พื้นที่จัดเก็บขยะอย่างเป็นระบบเพียงพอหรือไม่? ขยะเหล่านั้นสามารถนาไปใช้ประโยชน์หรือรี ไซเคิลมากน้อยแค่ไหน? สิ่งเหล่านี้เป็นดั่งวัฏจักรของ good living place คือการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข ถ้าสามารถตอบโจทย์เหล่านั้นได้ จึงจะสามารถกาหนดได้ว่า เมืองจะโตขนาดไหน? ปัจจุบัน ผังเมืองของเราเป็นแบบปีกผีเสื้อ ตัว capacity เพราะเกิด over caring capacity การให้บริการกับ ปริมาณการใช้ไม่สมดุลกัน เช่น กรุงเทพฯ ที่ต้องการรวมเมืองบริวารรอบ ๆ ให้มาเป็นเมืองเดียวกัน (เช่นในกรณีของมีนบุรี) แต่เมื่อย้อนกลับไปถามคาถามศักยภาพในการบริการขั้นพื้นฐานดังกล่าว กลับพบว่า ไม่สามารถตอบได้ จึงทาให้ปัญ หาอื่น ๆ ตามมาจนยากที่จะจัดการแก้ไข 4. จัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เหมาะสม คือการกาหนด zoning ให้ชัดเจน ในปัจ จุบัน zoning ของเรายังไม่ชัดเจน มีการปะปนทุก อย่างไว้ในที่เดียว มี พ.ร.บ. ควบคุมอาคารที่กาหนดการใช้พื้นที่ สัดส่วน 70% ใช้ได้ อีก 30% เป็น ที่อยู่อาศัย หรือ 90% เป็นอาคารสาธารณะ และสานักงานทางพาณิชย์ 10% เป็นพื้นที่ว่าง แต่ สัดส่วนพื้นที่กลับถูกใช้หมด 100% ที่สาคัญมักจะเป็นอาคารของราชการที่ละเมิดกฎกติกาเสียเอง จึงไม่เกิดความเท่าเทียม ไม่เกิด good governance เพราะราชการยังทาได้ นับประสาอะไรกับ เอกชน ดังนั้น รัฐจะต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการ respect the rule ภาพที่ 2 ทางขวาคือทาอย่างไรให้เมืองโปร่งตามสมควร มีถนนหนทางพอมี และพื้นที่สี เขียวพอเหมาะ หรืออย่างภาพล่างสุดคือกรุงเทพฯ จะเห็นได้ว่า ในเวลากลางคืน กรุงเทพฯ เป็น เมืองที่ใช้พลังงานสูงมาก ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นอยู่ที่ฟุ่มเฟือยและอ่อนด้อยในระเบียบวินัย ของคนกรุงเทพฯ ได้ดี
  • 9. 5 จัดรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เหมาะสม (ภาพที่ 2) 5. แหล่งน้าธรรมชาติแหล่งหล่อเลี้ยงชีวิตในระบบนิเวศ และนโยบายชาติด้านการ ใช้ประโยชน์ที่ดินที่ต้องชัดเจน ปัจ จุบันในยุโรปกาลังหา food feeder land หาพื้นที่สีเขียวที่สงบ แต่ไม่ได้มองหาความ สะดวกสบาย หรือ modernization เพราะที่ยุโรปมีพร้อมแล้ว คนยุโรปกาลังมองหาสิ่งที่ นอกเหนือจากวัฒนธรรมของเขา ซึ่งเป็นสิ่งแปลกใหม่ที่ในสังคมไทยมีอยู่แล้ว โดยเฉพาะพื้นที่ ธรรมชาติ ใน 4 ภาคของประเทศไทยต่างก็มีความหลากหลายทางธรรมชาติตลอดจนวัฒนธรรมที่ แตกต่าง แต่ในปัจ จุบันสิ่งเหล่านี้ค่อย ๆ เลือนหายไป เพราะการขาด sense of belonging ของคน ในพื้นที่ และ SOD ที่ชัดเจนจากภาครัฐ ทั้ง ๆ ที่เราสามารถรักษาและสร้างผลประโยชน์ผ่าน eco tourism หรือ cultural tourismได้ 6. การจัดลาดับศักดิ์ทรัพยากรดิน (Land Resource Hierarchy Classification) 6.1 Land Resource Ratio Classification การจัดลาดับสัดส่วนการใช้พื้นที่ให้เหมาะสม คือการสร้างสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติใน ท้องถิ่น ตลอดจวิถีวัฒนธรรมของคนในพื้นที่ ซึ่งหากต้องการที่จะพัฒนาสู่ความเป็นเมือง ควร เป็นไปในลักษณะของการสร้าง mono block หรือ “ย่าน” ที่ประกอบไปด้วยวิถีชีวิต และจิตวิญญาณ
  • 10. 6 ของผู้คน เช่น สงขลา ที่มีย่านเก่าบริเวณถนนนางงามที่ยังคงไว้ซึ่งงานสถาปัต ยกรรมอันแสดงถึง ตัวตน และเป็นเสน่ห์ของพื้นที่ เป็นต้น วิถีชีวิต วัฒนธรรม และทรัพยากรธรรมชาติที่แตกต่างไปใน แต่ละพื้นที่ ถือเป็นของดีที่มีไว้ขายให้กับคนในพื้นที่ การพัฒนาสู่ความเป็นที่มีขนาดใหญ่เกินไปอาจ กระทบต่อจุดขายของแต่ละพื้นที่ได้ ภาพที่ 3 ทางซ้ายบน เป็นภาพป่าในจังหวัดน่าน ซึ่งปัจ จุบันป่าไม้ถูกทาลายไปมาก เพราะ เกิด Man made abused การเข้าไปทาลายป่า แล้วไปขอจดสัมปทานเป็นป่าเสื่อมโทรม เพื่อเข้าไป ทากิน ถือเป็นความเห็นแก่ตัวของคนส่วนหนึ่ง โดยเฉพาะคนในพื้นที่ที่ไม่คานึงว่าทรัพยากร เหล่านั้นเป็นต้นทุนให้กับคนรุ่นหลานต่อ ๆ ไป ดังนั้น จึงต้องย้อนกลับมาที่การปลูกฝัง การตระหนัก รู้ของคนในพื้นที่ให้มี sense of belonging การจัดลาดับศักดิ์ทรัพยากร (ภาพที่ 3) 7.การทาลายคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ภัยที่ย้อนคืนสู่มนุษย์ ต้นไม่ใหญ่ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป สามารถซับน้าได้มากถึง 30 ลิตร/วินาที ดังนั้น เวลาน้าผิว ดินลงมา หรือน้าฝนที่ตกลงมาในช่วงฝนนอกฤดู ถ้าหากฝนตกลงมาเกินปริมาณที่กาหนดไว้ ต้นไม้ เหล่านั้นก็สามารถซับน้าเหล่านั้นไว้ได้ เปรียบเสมือนฟองน้าขนาดใหญ่ที่เตรียมไว้สาหรับการซับน้า ประการหนึ่งน้าจะไม่ไหลลงสู่เมือง แต่เวลานี้ป่าไม้ถูกตัดหมด ศักยภาพของดินจึงไม่สามารถเป็น ฟองน้าที่ซับน้าไว้ได้ จึงเป็นสาเหตุของน้าที่ไหลลงสู่เมืองอย่างรวดเร็ว
  • 11. 7 ประการที่สอง เมืองอาจจะทาอุโมงค์สาหรับระบายน้าไว้ แต่เป็นการแก้ปัญ หาเฉพาะหน้า เท่านั้น เพราะเป็นการระบายน้าออก ไม่ใช่การดูดซับน้า ดังนั้น น้าที่ถูกระบายออกจึงไหลไปลงตาม คลองต่าง ๆ และส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ตลอดจนพื้นที่ทากินของประชาชน เช่น ชาวบ้านที่ อ. แม่กลอง ซึ่งทาธุรกิจกระชังปลา พบว่า ปลาตายยกกระชังจากการช็อกน้า เพราะสัดส่วนน้าในคลอง ระหว่างน้ากร่อย น้าจืด และน้าเค็ม ผิดปกติ อีกทั้งน้าในเมืองก็เป็นน้าที่สกปรก เนื่องจากเป็นน้า ที่มาจากท่อเดียวกัน ซึ่งแตกต่างจากต่างประเทศที่แยกท่อน้าออกเป็นหลายท่อ น้าที่เจือปนก็จะ ได้รับการบาบัด แล้วนากลับมาใช้ใหม่ได้ 8. บริหารทรัพยากรด้วยหลักธรรมาภิบาล พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองเป็นกฎหมายสาคัญที่ผู้ว่าราชการหรือผู้บริหารจาเป็นที่ จะต้องท่องให้จาขึ้นใจ และสามารถบังคับใช้อย่างเข้มงวด เนื่องจากกฎหมายทั้งหลายนั้นมีที่มา โดย บัญญัติขึ้นภายใต้การคานึงถึงสาธารณะ ซึ่งให้ความสาคัญกับความปลอดภัยของส่วนรวมที่ต้อง คานึงถึงชีวิตคนเป็นหลัก ตลอดจนการให้ความสาคัญกับภูมิทัศน์ของเมือง เพราะตึกบางแห่งสร้าง มาแล้วแต่ต้องระงับการก่อสร้างกลางคัน เนื่องจากสร้างผิดกฎหมายและเงื่อนไขที่วางไว้ ทั้งนี้ การ ระงับการก่อสร้างได้กลายเป็นภาระของรัฐ ในการดูแลต่อ หรือทาลายทิ้ง แต่ด้วยงบประมาณในการ ทาลายสูง เพราะต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ตึกดังกล่าวจึงมักจะถูกปล่อยทิ้งร้างและกลายเป็น “สุสานคอนกรีตเปลือย” ในที่สุด การสร้างตึกสูงจึงต้องคานึงถึง caring capacity ที่สามารถจะรองรับกับอุบัติภัยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพราะปัจจุบัน รถดับเพลิงในประเทศไทยมีความสามารถในการดับเพลิงที่ระดับความ สูงเพียง 45 เมตร หรือตึก 10 ชั้นเท่านั้น และในกรุงเทพฯ มหานครมีรถดับเพลิงดังกล่าวเพียง 7 คัน นอกนั้นจะเป็นรถดับเพลิงขนาดเล็ก สิ่งเหล่านี้ล้วนต้องใช้งบประมาณที่มาจากภาษีของ ประชาชนที่ไม่ได้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการสร้างตึกเหล่านั้น และบางครั้งก็เป็นเม็ดเงินที่สูงจนเกินขีด ความสามารถของรัฐ ทั้งหลายทั้งปวงนั้นกลายเป็นการละลายงบประมาณเพียงเพื่อตอบสนอง ผลประโยชน์ของนายทุนที่ต้องการผลประโยชน์จากการสร้างตึกสูง ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ที่ภาคเอกชนที่ต้องการสร้างตึกสูงจะต้องมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการรับผิดชอบและดูแลรักษาความ ปลอดภัยสาธารณะที่จะเกิดจากการสร้างตึกสูงเหล่านั้น เช่น การบริจาคเงินเพื่อซื้อเฮลิคอปเตอร์ ดับเพลิงให้กับ กทม. เพื่อใช้ดับเพลิงกับตึกสูง เป็นต้น จากกรณี “สุสานคอนกรีตเปลือย” และ การสร้างตึกสูงในเมือง สะท้อนให้เห็นภาพของ กฎหมายที่มีความล้าหลัง และขาดความเข้มงวดในการบังคับใช้ จนกลายเป็นว่า กฎหมายมีไว้ เหมือน “ศาลพระภูมิ” ที่ถูกปล่อยรกร้างและไม่มีความผูกพัน พ.ร.บ. บางมาตรา เช่น พ.ร.บ. ป่าไม้ พ.ศ. 2484 ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 พ.ร.บ. การผังเมือง พ.ศ. 2518 เป็นต้น จาเป็นต้อง ได้รับการปรับแก้ให้มีความทันสมัยมากขึ้น เพื่อให้เกิด Good governance จากการคุ้มครองความ ปลอดภัยให้กับสาธารณะ
  • 12. 8 9. ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง ภาพที่ 4 ตรงกลางซ้ายถ่ายจากลานจอดรถของห้างแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ซึ่งกลายเป็น multi purpose area ที่บางวันรถยนต์ไม่สามารถเข้าไปจอดในที่จอดรถได้ เพราะปรากฎว่ามีบูธขาย ของ ขายเสื้อผ้า จนทาให้เกิดวิกฤติจราจร ภาพที่ 4 ทางขวามือภาพกลางอยู่ในเมืองบอร์โดซ์ (Bordeaux)ที่เป็นเมือง green city ซึ่ง หน่วยงาน หรือเทศบาลเมืองได้จัดระบบรถราง แม้กระทั่งต้องลดผิวจราจรจาก 8 ช่องทาง จนเหลือ 4 ช่องทาง ในช่วงแรกเกิดวิกฤติมาก แต่ภายหลังกลับทาให้คนในพื้นที่ไม่ต้องใช้รถยนต์ส่วนตัว เพราะระบบรถรางสามารถเชื่อมโยง และแทรกแซงได้ทั่วทั้งเมือง ทั้งนี้รถรางที่อยู่บนดินเป็นระบบที่ ถูกที่สุด ในขณะที่ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศที่ผลิตรถยนต์ชื่อดังหลายยี่ห้อ รวมทั้งระบบเครื่องบิน airbus ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเต็มรูปแบบ อีกทั้งยังมี stock น้ามัน แต่กลับรณรงค์ให้คนเลิกใช้รถยนต์ เลิกใช้น้ามัน เพื่อไม่ให้ขาดดุลการค้า ดังนั้นโรงงานผลิตรถยนต์เวลานี้ต้องออกนอกประเทศ เช่น บราซิล อินเดีย เป็นต้น แม้ว่าอาจจะกระทบต่อแรงงานภายในประเทศ เนื่องจากคนงานประกอบ รถยนต์ต้องตกงาน แต่สิ่งที่ได้คือเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวขึ้น บอร์โดซ์กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สะอาด และปลอดมลภาวะ ผังเมืองเฉพาะ หลักการจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมือง (ภาพที่ 4) ตลอดจนการใช้จักรยานหยอดเหรียญ เพียงหยอดเหรียญ 1 ยูโร สามารถใช้ได้ครึ่งชั่วโมง ซึ่งเมื่อไปจอดที่ใดก็ตามภายใน 1 ชั่วโมง เหรียญก็จะคืนกลับมา แต่หากใช้เกิน 1 ชม. เหรียญจะถูก
  • 13. 9 กลืนและรวบรวมเป็นภาษีที่นาไปซ่อมแซมถนนหนทางและทางเท้า ดังนั้น จึงเป็นลักษณะของ universal design ถนน ทางเท้า ทางคนพิการดีขึ้นเรื่อย ๆ เมืองพัฒนาด้วยคุณภาพ ความปลอดภัย ของคนมาก่อน สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของคนต้องมาก่อน 10. Leading to the Green City ในประเทศแถบยุโรป โครงการใดก็แล้วแต่ หรือเมืองไหนก็แล้วแต่ หากสามารถพิสูจน์ได้ว่า โครงการนั้น ๆ จะคืนพื้นที่สีเขียวให้กับเมืองได้ 50% ของพื้นที่ใช้สอยทั้งหมด ท่านจะได้รับการ สนับสนุน 10% ของโครงการนั้น ๆ ซึ่งเป็นทั้งการโน้มน้าว การใช้กฎบังคับ การบ่มคนให้มีแรงจูงใจ ทุกวันนี้ผู้คนต่างบอกว่าตึกสูง ๆ คือสุนทรียภาพ แต่บางทีต้นไม้เล็ก ๆ ในกระถางที่มีดอก มีการ เปลี่ยนแปลง ก็สามารถเกิดสุนทรียภาพทางด้านสิ่งแวดล้อมได้ ปัจ จุบันอารมณ์ของคนถูกนาไปด้วย สุนทรียภาพที่หลากหลาย เมืองจึงต้องมีลักษณะของ place of diversity มีความหลากหลายทั้ง function และมีความหลากหลายทั้งกายภาพ แสงสี รูปลักษณ์ เพียงแต่ต้องจัด zoning ให้ดี โดย พิจารณาว่า ส่วนไหนควรจะอยู่ข้าง ๆ กัน และอยู่ร่วมกันได้ หรือมีจุด point of harmonious ความ กลมกลืน และความเชื่อมโยงกัน ซึ่งอยู่ในศาสตร์ของสถาปัต ยกรรมและผังเมือง 11. ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้นที่ว่าง ภาพที่ 5 ซ้ายบนบนคือโครงการสร้างที่พักอาศัย แต่เป็นอาคารพักอาศัยที่เคยเป็นบ่อฝัง กลบขยะเมื่อ 10 ปีที่แล้ว เนื่องจากได้มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าแล้วว่า พื้นที่ส่วนนี้ในอนาคตจะต้อง เป็นอะไร เป็นการทา land bank เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหากับชุมชน ดังนั้น การริเริ่มโครงการใน เวลานั้นจึงไม่มีคนมาเดินขบวน เอาป้ายมาประท้วง ส่วนซ้ายล่างคือหลังจาก land field เรียบร้อยแล้ว จะมีการคัดแยกขยะที่รีไซเคิลได้ หรือ ย่อยสลายง่ายให้มาฝัง กลบในพื้นที่ที่จัดสรรไว้ เพื่อนาขยะดังกล่าวมาผลิตพลังงาน bio mass ทุก อย่างสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หมด บางแห่งได้กลายสภาพเป็นเนินสวนสาธารณะแห่งใหม่ ทั้ง ที่ใต้ดินคือขยะย่อยสลาย domestic wasted และภาพขวาล่างเป็นอีก area หนึ่ง คือ green economic area พื้นที่สีเขียวเศรษฐกิจ เป็น ไร่องุ่น เพื่อการทาไวน์ที่ได้รับการ subsidize จากรัฐ ให้เป็นเหมือนอุตสาหกรรมพื้นบ้าน
  • 14. 10 ผังเมืองรวม สัดส่วนพื้นที่ว่าง (ภาพที่ 5) 12. ผังเมืองเฉพาะ สร้างเมืองให้โปร่ง เสริมการเดินทางอย่างสะอาด ระบบการขนส่งในบอร์โดซ์ อย่างรถรางเป็นการยกโครงสร้างการขนส่งของเมืองทั้งหมด โดยใช้เวลา 4 ปี ซึ่งเป็น 4 ปี ที่คนในพื้นที่ต้องเสียสละ แต่รัฐได้เข้าไปดูแลเยียวยา หลังจาก 4 ปี ที่ การก่อสร้างเสร็จสิ้น คนในพื้นที่ไม่เพียงได้รับความสะดวกสบายในการเดินทางเท่านั้น หากยัง ส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจที่ดีขึ้นอีกด้วย โดยสามารถลดต้นทุนการเสียเวลา ลดต้นทุนการ เกิดอุบัติเหตุ ลดต้นทุนการสูญเสียพลังงานน้ามัน ลดต้นทุนการทาลายสิ่งแวดล้อม ส่วนหนึ่งของ ความสาเร็จคือนายกเทศมนตรี ซึ่งเป็น key personal ที่มีวิสัยทัศน์จากการทา SOD ที่ชัดเจน จน ได้รับความน่าเชื่อถือจากคนในพื้นที่เป็นอย่างดี 13. พัฒนาเมืองบนวิถีวัฒนธรรมแห่งตน อนุรักษ์ทรัพยากรต้นทุนของประเทศ ลาน้าเป็นพื้นที่สวนสาธารณะ และพื้นที่อนุรักษ์ จะเห็นได้ว่า สองข้างของลาน้าไม่มี สิ่งก่อสร้าง และห้ามตั้งโรงงานบริเวณแม่น้าเด็ดขาด
  • 15. 11 14. สร้างเมืองเราให้น่าอยู่ด้วยบริบทของเราเอง ภาพที่ 6 ทุกภาพอยู่ในประเทศไทย ยกเว้นภาพซ้ายบน จะเห็นได้ว่า เรามี ทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม และอุดมสมบูรณ์ เรามีทุกอย่างพร้อม แต่เพียงขาดสานึกในการ รักษาสิ่งเหล่านี้ไว้ให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้ใช้ต่อไป สร้างเมืองของเราให้น่าอยู่...ด้วยบริบทของเราเอง (ภาพที่ 6) 15. National Agenda for Development case study : Inchon ตัวแบบการสร้างเมืองของอินชอน, เกาหลีใต้ ที่มีการจัดโซนที่พักใหม่เป็นลักษณะ green และกลายเป็นเมืองประตูหน้าบ้านแห่งใหม่ที่จัดประชุมนานาชาติ จัดมหกรรมต่าง ๆ มีสนามกีฬา อย่างที่กล่าวไว้ข้างต้นว่า เมืองควรจะเป็นพื้นที่ที่รวบรวมความหลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน แต่ต้องจัด โซนให้มีระบบอย่างเหมาะสม และอยู่กันได้อย่างถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน แล้วก็เป็นตัวเลือกด้วย ที่ สาคัญแต่ละโซนต้องมีป่าพื้นที่สีเขียว ให้มีสมดุลใน Land use Ordering ที่มาจากการวิเคราะห์ ความต้องการของคนในพื้นที่เป็นหลัก 16. National Agenda for Development case study : Inchon Port & Logistic ได้มีการจัดโซนที่มีการพัฒนาใหม่ โดยเฉพาะระบบ logistic ทั้ง 3 ทาง ทั้งทางบก อากาศ และทะเล ใกล้ระบบ logistic มีย่านการค้าสาหรับกลุ่มผู้ใช้แรงงาน และมี housing ที่เหมือนการ
  • 16. 12 เคหะสร้างไว้สาหรับคนใช้แรงงานซึ่งมีลักษณะเป็น work place และ living place ในเวลาเดียวกัน เรียกได้ว่า เป็น compact smart city เพราะทั้งหมด energy safe อาคารต่าง ๆ ใช้เทคโนโลยีซึ่ง ทันสมัย ระบบขยะเป็นระบบท่อดูดขยะที่ใส่ในแคปซูล โดยไม่ต้องมีถังขยะหน้าบ้าน และไม่ต้องมีรถ ขยะอีกด้วย เกาหลีถือเป็นต้นแบบที่น่าสนใจในการนามาปรับใช้กับประเทศไทย เพียงแต่สังคมไทย ต้องปรับแก้ในด้านของวัฒนธรรมและความมีระเบียบวินัย ประเทศไทยมีทุกอย่างพร้อม ไม่ถึงกับล้าสมัย แต่ก็ไม่ถึงกับทันสมัย แต่สิ่งที่ยังขาดคือ คน, วินัยที่ดี และ sense of belonging ซึ่งต้องมีแบบอย่างที่ดีจากผู้บริหารที่ไม่จาเป็นต้องเก่ง แต่ต้องมี ที่ปรึกษาในแต่ละด้านที่ดี จนนาไปสู่ SOD ที่ปฏิบัติได้จริง