SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
การกระจายตัวของความเป็นเมือง:
เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
อรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ช่วยนักวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การกระจายตัวของความเป็นเมือง:
เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ผู้ช่วยวิจัย
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้เขียน : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
กองบรรณาธิการ : นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ : พฤษภาคม พ.ศ. 2558
ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส)
การกระจายตัวของความเป็นเมือง:
เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายความเป็นเมือง1
(suburbanization) เป็นกระบวนการที่ชนบทเปลี่ยนสภาพกลายเป็น
ชานเมือง (suburbs) ซึ่งอยู่บริเวณรอบ ๆ เมือง (urban) โดยเราสามารถวัดความเป็นเมืองได้จากจานวน
ประชากรหรือรายได้อันเป็นตัวแปรสาคัญที่สามารถบ่งบอกสภาพความเป็นเมืองของพื้นที่นั้นในเบื้องต้นได้
สาหรับประเทศไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอยู่มากมายหลายแห่งทั่วทุกจังหวัด ทั้งในระดับ
เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล โดยในที่นี้กาหนดให้พื้นที่ในเขตเทศบาลเป็นเมือง (urban) และนอก
เขตเทศบาลเป็นชนบท (rural) ตามนิยามของสานักงานสถิติแห่งชาติ ทั้งนี้ หากลองสังเกตจานวนประชากร
และรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้วจะพบว่าเมืองที่ความเจริญมากจะมีจานวนประชากรมาก
และรายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็จะมากตามไปด้วย
ในที่นี้เราสนใจความเป็นเมืองในประเทศไทยตามเขตการปกครอง โดยแบ่งเป็นเทศบาลนครจานวน
30 แห่ง ซึ่งถือเป็นเทศบาลที่มีความเป็นเมืองมากที่สุดในบรรดาเทศบาลประเภทต่าง ๆ และเทศบาลเมืองที่
ติดชายแดน จานวน 11 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี เทศบาลเมืองนครพนม เทศบาลเมืองสุไหงโก
-ลก เทศบาลเมืองเบตง เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ เทศบาลเมืองมุกดาหาร เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน
เทศบาลเมืองอรัญประเทศ เทศบาลเมืองหนองคาย เทศบาลเมืองท่าบ่อ และเทศบาลเมืองระนอง ภายใต้ข้อ
สมมติฐานที่ว่าเทศบาลที่ติดชายแดนน่าจะมีความเจริญทางเศรษฐกิจสูง ทั้งนี้ เทศบาลนครแม่สอดจะถูก
วิเคราะห์ทั้งในกลุ่มเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนด้วย ฉะนั้นแล้วเราจึงมุ่งเน้นพิจารณาและ
วิเคราะห์แนวโน้มความเป็นเมืองของพื้นที่ดังกล่าว โดยใช้ปัจจัยชี้วัดความเป็นเมือง 2 มิติ คือ มิติประชากร
และมิติรายได้เทศบาล เพื่อศึกษาแนวโน้มความเป็นเมืองและนาไปสู่การสร้างนโยบายการพัฒนาอนาคต
ของเมืองต่อไป
1. มิติประชากร
จานวนประชากรนับเป็นตัวชี้วัดความเป็นเมืองที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย เพราะคนกับเมืองมี
ความสัมพันธ์กันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นั่นคือ หากเมืองใดมีความเจริญเติบโตสูง เมืองนั้นก็จะสามารถสร้าง
งานสร้างรายได้ให้คนในเมืองได้สูง จึงส่งผลให้คนที่อยู่ภายนอกเมืองอพยพเข้าหาเมืองที่มีความเจริญ
เนื่องจากต้องการมีรายได้ที่สูงขึ้น ด้วยเหตุนี้อาจกล่าวได้ว่าเมืองที่มีความเจริญเติบโตสูงจะทาให้จานวน
ประชากรสูงขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น จานวนประชากรจึงเป็นตัวบ่งบอกถึงความเป็นเมืองได้ดีในระดับหนึ่ง
1
นิธินันท์ วิศเวศวร. 2552. “เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ว่าด้วยเมืองและภูมิภาค.”
 ระดับภาพรวมของจังหวัด
เมื่อพิจารณาสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาลต่อจานวนประชากรทั้งหมดของจังหวัดในประเทศไทย
ณ ปี พ.ศ. 2557 ซึ่งแสดงถึงความเป็นเมืองในแต่ละจังหวัด จะพบว่า จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรในเขต
เทศบาลมากที่สุด 10 อันดับแรก ไม่รวมกรุงเทพฯ (ตารางที่ 1) ได้แก่ ชลบุรี (ร้อยละ 74.80) ชัยนาท (ร้อย
ละ 73.78) ลาพูน (ร้อยละ 67.44) เชียงใหม่ (ร้อยละ 60.99) ภูเก็ต (ร้อยละ 60.67) จันทบุรี (ร้อยละ 59.98)
นนทบุรี (ร้อยละ 59.16) พัทลุง (ร้อยละ 59.06) กาฬสินธุ์ (ร้อยละ 56.60) และพะเยา (ร้อยละ 56.05) ซึ่ง
เป็นที่น่าสนใจว่าใน พ.ศ. 2557 มีจังหวัดที่มีความเป็นเมืองสูงกว่าร้อยละ 70 หรือเกือบเต็มพื้นที่ทั้งจังหวัด
เป็นจานวน 2 จังหวัดแล้วด้วยกัน ได้แก่ ชลบุรีและชัยนาท
ตารางที่ 1 จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาล ปี พ.ศ. 2556 มากที่สุด 10 อันดับ
ลาดับ จังหวัด
ประชากรใน
จังหวัด (คน)
ประชากรในเขต
เทศบาล(คน) ความเป็นเมือง
1 ชลบุรี 1,421,425 1,063,252 74.80%
2 ชัยนาท 332,283 245,159 73.78%
3 ลาพูน 405,468 273,442 67.44%
4 เชียงใหม่ 1,678,284 1,023,553 60.99%
5 ภูเก็ต 378,364 229,535 60.67%
6 จันทบุรี 527,350 316,325 59.98%
7 นนทบุรี 1,173,870 694,458 59.16%
8 พัทลุง 520,419 307,374 59.06%
9 กาฬสินธุ์ 984,907 557,497 56.60%
10 พะเยา 484,454 271,517 56.05%
ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2557
ทั้งนี้ เราอาจแบ่งจังหวัด (ไม่รวมกรุงเทพฯ) ตามร้อยละของความเป็นเมืองออกเป็น 5 ระดับ
(ตารางที่ 2) ได้แก่ (1) จังหวัดที่มีความเป็นเมืองน้อยกว่าร้อยละ 20.00 มีจานวนทั้งหมด 8 จังหวัด (2)
จังหวัดที่มีความเป็นเมืองตั้งแต่ร้อยละ 20.01 ถึงร้อยละ 30.00 มีจานวนทั้งหมด 14 จังหวัด (3) จังหวัดที่มี
ความเป็นเมืองตั้งแต่ร้อยละ 30.01 ถึงร้อยละ 40.00 มีจานวนทั้งหมด 27 จังหวัด (4) จังหวัดที่มีความเป็น
เมืองตั้งแต่ร้อยละ 40.01 ถึงร้อยละ 50.00 มีจานวนทั้งหมด 13 จังหวัด และ (5) จังหวัดที่มีความเป็นเมือง
มากกว่าร้อยละ 50.00 มีจานวนทั้งหมด 15 จังหวัด
เมื่อใช้หลักเกณฑ์ดังข้างต้นแล้วจะเห็นได้ว่าในประเทศไทย ณ พ.ศ. 2557 มีจังหวัดที่มีความเป็น
เมืองมากกว่าร้อยละ 50 ซึ่งถือว่าเป็นจังหวัดที่มีความเป็นเมืองสูง เป็นจานวน 15 จังหวัด คิดเป็นประมาณ
ร้อยละ 21 ของจังหวัดทั้งหมดในประเทศ หากมองในระดับภูมิภาคแล้ว กลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมือง
มากกว่าร้อยละ 50.00 ส่วนใหญ่อยู่บริเวณภาคเหนือ มีจานวน 5 จังหวัด ส่วนกลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมือง
น้อยกว่าร้อยละ 20.01 ส่วนใหญ่อยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจานวน 3 จังหวัด
โดยส่วนใหญ่แล้วจังหวัดที่มีเทศบาลนครจะอยู่ในกลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมืองมากกว่าร้อยละ
50.00 และกลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมืองอยู่ระหว่างร้อยละ 30.01 ถึง 40.00 เป็นจานวนเท่ากัน คือ 9
จังหวัด โดยจังหวัดที่มีเทศบาลนครที่มีความเป็นเมืองมากที่สุดคือ จังหวัดชลบุรีมีความเป็นเมืองร้อยละ
74.80 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่มีความเป็นเมืองร้อยละ 73.78 ส่วนจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติด
ชายแดนส่วนใหญ่มีร้อยละของความเป็นเมืองอยู่ระหว่างร้อยละ 30.01 ถึง 40.00 และอยู่ระหว่างร้อยละ
20.01 ถึง 30.00 เป็นจานวนเท่ากัน คือ 4 จังหวัด โดยจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนที่มีความเป็น
เมืองมากที่สุดคือ จังหวัดมุกดาหารมีความเป็นเมืองร้อยละ 48.58 รองลงมาคือ จังหวัดระนองมีความเป็น
เมืองร้อยละ 48.37
จากข้อมูลข้างต้น สังเกตได้ว่าจังหวัดที่มีเทศบาลนครไม่ได้มีความเป็นเมืองมากไปกว่าจังหวัดที่ไม่
มีเทศบาลนครเสียทีเดียว ส่วนจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนส่วนใหญ่มีความเป็นเมืองอยู่ในระดับ
ปานกลาง นอกจากนี้ จังหวัดที่มีเทศบาลนครบางจังหวัดกลับมีความเป็นเมืองค่อนข้างต่า ยกตัวอย่างเช่น
จังหวัดนครสวรรค์มีความเป็นเมืองเพียงร้อยละ 23.01 เท่านั้น ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าจังหวัดนครสวรรค์
เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาลต่อจานวนประชากรทั้งหมด
ระหว่างปี พ.ศ. 2546 กับปี พ.ศ. 2557 ของจังหวัดที่มีเทศบาลนครและจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติด
ชายแดนแล้วจะพบว่า จังหวัดที่มีการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาล มากที่สุด 5 อันดับแรก
(ตารางที่ 3) ได้แก่ เชียงใหม่ (ร้อยละ 36.67) สกลนคร (ร้อยละ 35.80) เชียงราย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.61)
มุกดาหาร (ร้อยละ 34.43) และระนอง (ร้อยละ 32.36)
ตารางที่ 2 ร้อยละของความเป็นเมืองในมิติประชากรของจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2557
ร้อยละของความ
เป็นเมือง
(1) น้อยกว่า
20.01
(2)
20.01-30.00
(3)
30.01-40.00
(4)
40.01-50.00
(5) มากกว่า
50.00
จังหวัด แม่ฮ่องสอน ตรัง สุราษฎร์ธานี ขอนแก่น ชลบุรี
นครนายก นครสวรรค์ ยะลา ระยอง เชียงใหม่
อุทัยธานี นราธิวาส พระนครศรีอยุธยา สกลนคร ภูเก็ต
ศรีสะเกษ นครพนม นครศรีธรรมราช อุดรธานี นนทบุรี
สตูล สระแก้ว อุบลราชธานี สมุทรสาคร ลาปาง
สุรินทร์ ปัตตานี นครปฐม ระนอง สงขลา
ปราจีนบุรี น่าน นครราชสีมา มุกดาหาร เชียงราย
มหาสารคาม พังงา ตาก สระบุรี ปทุมธานี
เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี อ่างทอง สมุทรปราการ
กระบี่ พิษณุโลก หนองบัวลาภู ชัยนาท
ลพบุรี หนองคาย อุตรดิตถ์ ลาพูน
บึงกาฬ ยโสธร ร้อยเอ็ด จันทบุรี
ฉะเชิงเทรา เลย แพร่ พัทลุง
ชัยภูมิ บุรีรัมย์ กาฬสินธุ์
สุพรรณบุรี พะเยา
ชุมพร
สิงห์บุรี
ราชบุรี
อานาจเจริญ
เพชรบุรี
กาแพงเพชร
สมุทรสงคราม
พิจิตร
ตราด
สุโขทัย
ประจวบคีรีขันธ์
ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน
*ตัวหนา=จังหวัดที่มีเทศบาลนคร
*ตัวเอียง=จังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
ตารางที่ 3 จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นมากที่สุด 10 อันดับ
ลาดับ จังหวัด 2546* 2557** เปลี่ยนแปลง
1 เชียงใหม่ 24.32% 60.99% 36.67%
2 สกลนคร 12.62% 48.42% 35.80%
3 เชียงราย 17.08% 51.69% 34.61%
4 มุกดาหาร 14.15% 48.58% 34.43%
5 ระนอง 16.02% 48.37% 32.36%
6 ชลบุรี 42.60% 74.80% 32.20%
7 ลาปาง 26.74% 54.73% 27.99%
8 ขอนแก่น 20.66% 46.27% 25.62%
9 สงขลา 30.62% 53.17% 22.55%
10 อุดรธานี 26.66% 47.27% 20.62%
ที่มา: *สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2557
**กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2557
 ระดับเทศบาลนคร
เมื่อวิเคราะห์แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลนคร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557 (ตารางที่ 4) แล้ว
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้
1) เทศบาลนครที่มีแนวโน้มประชากรสูงขึ้น
หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมี
แนวโน้มเป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวกติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวน
ประชากรที่สูงขึ้นมีจานวน 9 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครรังสิต เทศบาลนครระยอง เทศบาลนครอ้อมน้อย
เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์เทศบาลนครแม่สอด เทศบาลนครเกาะสมุย เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาล
นครแหลมฉบัง และเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
2) เทศบาลที่มีแนวโน้มประชากรลดลง
หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรลดลงเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมีแนวโน้ม
เป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรที่
ลดลงมีจานวน 14 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาล
พระนครศรีอยุธยา เทศบาลนครนครปฐม เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครยะลา
เทศบาลนครลาปาง เทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครอุบลราชธานี และเทศบาล
นครสมุทรปราการ
ตารางที่ 4 แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลนคร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557
ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2558
 ระดับเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
เมื่อวิเคราะห์แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557
(ตารางที่ 5) แล้วสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบด้วยกัน ดังนี้
1) เทศบาลที่มีแนวโน้มประชากรสูงขึ้น
หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมี
แนวโน้มเป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวกติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวน
ประชากรที่สูงขึ้นมีจานวน 3 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองเบตง เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์และเทศบาลเมืองสุ
ไหงโก-ลก
2) เทศบาลที่มีแนวโน้มประชากรลดลง
หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรลดลงเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมีแนวโน้ม
เป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรที่
ลดลงมีจานวน 4 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี เทศบาลเมืองนครพนม เทศบาลเมืองมุกดาหาร และ
เทศบาลเมืองท่าบ่อ
เทศบาล แนวโน้มประชากร
เทศบาลนครแหลมฉบัง
เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์
เทศบาลนครเกาะสมุย
เทศบาลนครรังสิต
เทศบาลนครอ้อมน้อย
เทศบาลนครปากเกร็ด
เทศบาลนครแม่สอด
เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี
เทศบาลนครระยอง
เทศบาล แนวโน้มประชากร
เทศบาลนครนนทบุรี
เทศบาลนครนครสวรรค์
เทศบาลนครอุดรธานี
เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา
เทศบาลนครนครปฐม
เทศบาลนครพิษณุโลก
เทศบาลนครเชียงใหม่
เทศบาลนครยะลา
เทศบาลนครลาปาง
เทศบาลนครสงขลา
เทศบาลนครนครราชสีมา
เทศบาลนครอุบลราชธานี
เทศบาลนครสมุทรปราการ
ตารางที่ 5 แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557
ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2558
2. มิติรายได้เทศบาล
ในมิติรายได้เทศบาลจะวิเคราะห์เฉพาะในระดับเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนเท่านั้น
โดยเทศบาลแต่ละแห่งนั้นมีรายได้จากการจัดเก็บเอง เงินอุดหนุน และงบประมาณจากภาครัฐ หากเทศบาล
มีรายได้มากก็จะทาให้เทศบาลสามารถนาเงินจานวนนั้นไปลงทุนและสร้างนโยบายได้มากเช่นกัน อย่างไรก็
ตาม การวิเคราะห์รายได้เทศบาลในที่นี้เป็นเพียงการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณเท่านั้น แต่มิได้สะท้อนถึง
ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในการใช้จ่ายและการลงทุนของเทศบาล
 ระดับเทศบาลนคร
จากการพิจารณาในรูปของจานวนเงินแล้วจะพบว่า เทศบาลนครที่ได้รับรายได้เฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ.
2552 - 2556 มากที่สุด (ตารางที่ 6) คือ เทศบาลนครนนทบุรีได้รับรายได้เฉลี่ย 1,817.22 ล้านบาทต่อปี
รองลงมาคือ เทศบาลนครหาดใหญ่ได้รับรายได้เฉลี่ย 1,406.62 ล้านบาทต่อปี และเทศบาลนครเชียงใหม่
ได้รับรายได้เฉลี่ย 1,217.63 ล้านบาทต่อปี ตามลาดับ จะเห็นได้ว่าเทศบาลนครนนทบุรีได้รับรายได้เฉลี่ยต่อ
ปีค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับอันดับรองลงมา สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะเทศบาลนครนนทบุรีนั้นเป็นเทศบาลนครที่
มีจานวนประชากรสูงที่สุดในประเทศไทย2
อย่างไรก็ตาม ในบรรดาเทศบาลนครที่มีรายได้เฉลี่ยสูงสุด 10
อันดับแรกนั้นมีเทศบาลนครที่อยู่ในภาคใต้มากที่สุดเป็นจานวน 4 เทศบาล
2
ดูเพิ่มเติมได้ที่ภาคผนวก ตาราง ข.
เทศบาล แนวโน้มประชากร
เทศบาลเมืองสุไหง-โกลก
เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์
เทศบาลเมืองเบตง
เทศบาลเมืองนครพนม
เทศบาลเมืองท่าบ่อ
เทศบาลเมืองกาญจนบุรี
เทศบาลเมืองมุกดาหาร
ตารางที่ 6 รายได้เฉลี่ยของเทศบาลนคร พ.ศ. 2552-2556 สูงสุด 10 อันดับ (หน่วย: ล้านบาท)
ลาดับ เทศบาล 2552 2553 2554 2555 2556 เฉลี่ยต่อปี
1 เทศบาลนครนนทบุรี 1,395.05 1,683.80 1,777.14 2,014.7 2,215.39 1,817.22
2 เทศบาลนครหาดใหญ่ 1,096.53 1,253.63 1,506.49 1,489.22 1,687.23 1,406.62
3 เทศบาลนครเชียงใหม่ 804.42 1,075.23 1,203.86 1,483.23 1,521.43 1,217.63
4 เทศบาลนครปากเกร็ด 872.26 973.55 1,198.56 1,331.00 1,689.36 1,212.95
5 เทศบาลนครนครราชสีมา 1,004.68 1,065.76 1,162.58 1,194.54 1,347.32 1,154.98
6 เทศบาลนครอุดรธานี 940.51 605.46 1,404.73 1,119.67 1,273.91 1,068.86
7 เทศบาลนครขอนแก่น 879.21 932.43 976.12 1,168.00 1,369.05 1,064.96
8 เทศบาลนครนครศรีธรรมราช 681.56 737.15 1,075.03 938.20 1,027.26 891.84
9 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 724.27 806.03 817.17 912.14 1,101.98 872.32
10 เทศบาลนครภูเก็ต 696.45 696.91 853.03 940.19 1,098.22 856.96
ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2557
หากลองพิจารณาแนวโน้มรายได้ของเทศบาลนครจะพบว่า รายได้ของเทศบาลทุกแห่งที่พิจารณา
นั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเทศบาลนครที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้เฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556
สูงสุด (ตารางที่ 7) ได้แก่ เทศบาลนครเกาะสมุยมีอัตราเติบโตของรายได้เฉลี่ยร้อยละ 44.4 ต่อปี รองลงมา
เป็นเทศบาลนครอุดรธานีมีอัตราของรายได้เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 22.47 ต่อปี และเทศบาลนครอุบลราชธานีมี
อัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 21.98 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ สาเหตุที่เทศบาลนครเกาะสมุยมีอัตราเติบโตของ
รายได้ที่สูงมากนั้นอาจจะเกิดจากการที่เทศบาลได้รับเงินอุดหนุนจากเหตุการณ์น้าท่วมครั้งใหญ่ในปี พ.ศ.
2554 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนมากกว่า 9 เท่า ทาให้รายได้รวมของเทศบาลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ในอีกทางหนึ่ง เทศบาลนครที่มีอัตราการเพิ่มของรายได้เฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556
ต่าสุด 5 อันดับ (ตารางที่ 8) ได้แก่ เทศบาลนครยะลา (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 2.09 ต่อปี) เทศบาลนคร
สมุทรปราการ (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.68 ต่อปี) เทศบาลนครลาปาง (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.4 ต่อปี) เทศบาล
นครนครราชสีมา (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.87 ต่อปี) และเทศบาลนครสงขลา (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.99 ต่อปี)
ตารางที่ 7 อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลนคร เฉลี่ย พ.ศ. 2552-2556 สูงสุด 5 อันดับ
ลาดับ เทศบาล
อัตราการเจริญเติบโตของ
รายได้เทศบาลเฉลี่ยต่อปี
1 เทศบาลนครเกาะสมุย 44.40%
2 เทศบาลนครอุดรธานี 22.47%
3 เทศบาลนครอุบลราชธานี 21.98%
4 เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 20.73%
5 เทศบาลนครปากเกร็ด 18.17%
ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน
ตารางที่ 8 อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลนคร เฉลี่ย พ.ศ. 2552-2556 ต่าสุด 5 อันดับ
ลาดับ เทศบาล
อัตราการเจริญเติบโตของ
รายได้เทศบาลเฉลี่ยต่อปี
1 เทศบาลนครยะลา 2.09%
2 เทศบาลนครสมุทรปราการ 3.68%
3 เทศบาลนครลาปาง 6.99%
4 เทศบาลนครนครราชสีมา 7.68%
5 เทศบาลนครสงขลา 8.87%
ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน
 ระดับเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
หากพิจารณาเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนแล้วจะพบว่า เทศบาลเมืองที่ติดชายแดนที่ได้รับรายได้
เฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556 มากที่สุด (ตารางที่ 9) ได้แก่ เทศบาลเมืองหนองคายได้รับรายได้เฉลี่ย
335.85 ล้านบาทต่อปี อันดับรองลงมาคือเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกได้รับรายได้เฉลี่ย 332.37 ล้านบาทต่อปี
และเทศบาลเมืองกาญจนบุรีได้รับรายได้เฉลี่ย 317.06 ล้านบาทต่อปี ตามลาดับ สังเกตได้ว่าเทศบาลเมืองที่
ติดชายแดนได้รับรายได้เฉลี่ยค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับเทศบาลนคร แม้แต่เทศบาลนครแม่สอดที่เป็นทั้ง
เทศบาลนครและเทศบาลที่ชายแดนก็ตาม
ตารางที่ 9 รายได้เฉลี่ยของเทศบาลเมืองชายแดน พ.ศ. 2552-2556 จานวน 12 แห่ง (หน่วย: ล้านบาท)
ลาดับ เทศบาล 2552 2553 2554 2555 2556 เฉลี่ยต่อปี
1 เทศบาลเมืองหนองคาย 280.94 282.56 317.71 365.59 432.46 335.85
2 เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก 285.16 319.58 319.38 339.1 398.63 332.37
3 เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 259.52 263.45 318.62 345.75 397.96 317.06
4 เทศบาลนครแม่สอด 346.18 239.7 190.01 337.99 409.66 304.71
5 เทศบาลเมืองเบตง 266.48 273.93 287.43 316.46 366.07 302.07
6 เทศบาลเมืองนครพนม 215.22 230.04 263.97 287.96 356.4 270.72
7 เทศบาลเมืองมุกดาหาร 161.23 170.33 200.31 213.06 259.42 200.87
8 เทศบาลเมืองระนอง 154.89 159.82 178.75 199.22 226.48 183.83
9 เทศบาลเมืองอรัญญประเทศ 137.43 149.53 169.81 192.96 195.94 169.13
10 เทศบาลเมืองท่าบ่อ 88.75 112.48 120.18 92.92 139.85 110.84
11 เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน 83.16 86.14 101.43 99.58 128.15 99.69
12 เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ 79.94 84.04 95.53 107.31 116.17 96.60
ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2557
หากพิจารณาแนวโน้มรายได้ของเทศบาลที่ติดชายแดนจะพบว่า รายได้ของเทศบาลทุกแห่งที่
พิจารณานั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเทศบาลเมืองชายแดนที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้เฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2552 - 2556 สูงสุด 5 อันดับแรก (ตารางที่ 10) ได้แก่ เทศบาลเมืองท่าบ่อ (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 15.35
ต่อปี) เทศบาลเมืองนครพนม (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 13.62 ต่อปี) เทศบาลเมืองมุกดาหาร (เติบโตเฉลี่ยร้อย
ละ 12.84 ต่อปี) เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 12.05 ต่อปี) และเทศบาลนครแม่สอด
(เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 11.90 ต่อปี) จะเห็นได้ว่า อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก โดยอยู่ในระดับร้อยละ 8-15 ต่อปี
ตารางที่ 10 อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลเมืองชายแดน เฉลี่ยปี พ.ศ. 2552-2556
ลาดับ เทศบาล
อัตราการเจริญเติบโต
ของรายได้
1 เทศบาลเมืองท่าบ่อ 15.35%
2 เทศบาลเมืองนครพนม 13.62%
3 เทศบาลเมืองมุกดาหาร 12.84%
4 เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน 12.05%
5 เทศบาลนครแม่สอด 11.90%
6 เทศบาลเมืองหนองคาย 11.59%
7 เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 11.52%
8 เทศบาลเมืองระนอง 10.04%
9 เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ 9.85%
10 เทศบาลเมืองอรัญญประเทศ 9.39%
11 เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก 8.93%
12 เทศบาลเมืองเบตง 8.38%
ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน
5. สรุป
ขณะนี้ประเทศไทยกาลังอยู่ในกระบวนการกระจายตัวสู่ความเป็นเมือง สังเกตได้จากสัดส่วนจานวน
ประชากรในเขตเทศบาลในประเทศไทยที่มีมากถึงร้อยละ 43.79 และถึงแม้จานวนประชากรของเทศบาล
โดยรวมในช่วง พ.ศ. 2546-2556 จะมีแนวโน้มไม่เปลี่ยนแปลงไปมากนัก แต่อัตราการเพิ่มขึ้นโดยรวม
รายได้เทศบาลในช่วง พ.ศ. 2552-2556 กลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 12.44 ต่อปี และอัตราการ
เจริญเติบโตของรายได้เทศบาลแต่ละแห่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี (แผนภาพที่ 1) ข้อมูลเหล่านี้เป็นหลักฐาน
ที่แสดงถึงการขยายตัวของประชากรในเขตเมืองได้ในระดับหนึ่ง
แผนภาพที่ 1 จานวนประชากรและรายได้เทศบาลโดยรวมของเทศบาลนคร
และเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน พ.ศ. 2552-2556
ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน
ในมิติประชากรดังที่กล่าวไว้แล้ว จะเห็นได้ว่าเทศบาลนครที่มีแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นมีเพียง
จานวน 9 แห่ง แต่เทศบาลนครที่มีแนวโน้มประชากรที่ลดลงมีจานวน 13 แห่ง นอกเหนือจากนี้เป็นเทศบาล
ที่มีแนวโน้มประชากรที่ไม่ชัดเจน ชี้ให้เห็นว่าทิศทางการพัฒนาสู่ความเป็นเมืองในประเทศไทยนั้น นอกจาก
จะจะเกิดในทิศทางที่ผู้อยู่อาศัยในชนบทอพยพเข้าสู่เมืองแล้ว ยังสามารถเกิดได้ในทิศทางที่ประชากรในเขต
เทศบาลนครย้ายถิ่นฐานออกจากเมืองศูนย์กลาง (central city) ส่งผลให้ประชากรกระจายตัวสู่เขตเทศบาล
โดยรอบ ทาให้ความเป็นเมืองเกิดการขยายตัวขึ้น3
ซึ่งจะทาการศึกษาและวิเคราะห์ความหนาแน่นประชากร
ของเทศบาลต่าง ๆ ในแต่ละจังหวัดเพื่อสนับสนุนข้อสรุปนี้ต่อไป
ทั้งนี้ สิ่งที่ควรตระหนักในการพัฒนาเมืองคือ ระดับการกระจุกตัวของประชากรกับรายได้ของ
เทศบาลแต่ละแห่ง เนื่องจากการพัฒนาเมืองเป็นเสมือนหัวใจของการสร้างความเป็นธรรมและยกระดับ
คุณภาพชีวิตให้แก่ผู้คนในสังคม หากการพัฒนาเมืองมุ่งส่งเสริมเฉพาะบางพื้นที่และเป็นไปอย่างไร้แบบแผน
อาจจะก่อให้เกิดความเหลื่อมล้าทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมในเวลาต่อมา เห็นได้ชัดจากกรณี
กรุงเทพมหานครที่เป็นแหล่งรวมกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สาคัญ แต่การพัฒนาเมืองส่วนใหญ่ เช่น การสร้าง
คอนโดมิเนียม การสร้างห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ที่เน้นรองรับผู้มีรายได้ปานกลางถึงสูงเป็นหลัก ทาให้ผู้มี
รายได้น้อยซึ่งส่วนใหญ่ย้ายถิ่นฐานมาจากชนบทขาดโอกาสในการเข้าถึงการใช้ทรัพยากรในเมือง ด้วยเหตุ
นี้ เมืองในประเทศไทยจึงยังคงมีลักษณะเป็นเมืองโตเดี่ยว (primate city) และมีการขยายตัวของเมืองแบบ
ไร้ทิศทาง (urban sprawl) เฉกเช่นทุกวันนี้
3
Peter Mieszkowski and Edwin S. Mills. 1993. “The Causes of Metropolitan Suburbanization.”
0.00
5,000.00
10,000.00
15,000.00
20,000.00
25,000.00
30,000.00
35,000.00
0
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
2552 2553 2554 2555 2556
รายได้เทศบาลโดยรวม (ล้านบาท) จานวนประชากรโดยรวม (คน)
ภาคผนวก
ที่มา: ฮาพีฟี สะมะแอ, 2558.
ตาราง ก. แสดงความเป็นเมืองของแต่ละจังหวัดประเทศไทย เรียงจากมากไปน้อย
ลาดับ จังหวัด
จานวนประชากรใน
จังหวัด (คน)
จานวนประชากรในเขต
เทศบาล (คน)
ความเป็นเมือง
(ร้อยละ)
1 กรุงเทพมหานคร 5,692,284 5,692,284 100.00%
2 ชลบุรี 1,421,425 1,063,252 74.80%
3 ชัยนาท 332,283 245,159 73.78%
4 ลาพูน 405,468 273,442 67.44%
5 เชียงใหม่ 1,678,284 1,023,553 60.99%
6 ภูเก็ต 378,364 229,535 60.67%
7 จันทบุรี 527,350 316,325 59.98%
8 นนทบุรี 1,173,870 694,458 59.16%
9 พัทลุง 520,419 307,374 59.06%
10 กาฬสินธุ์ 984,907 557,497 56.60%
11 พะเยา 484,454 271,517 56.05%
12 ลาปาง 753,013 412,161 54.73%
13 สงขลา 1,401,303 745,059 53.17%
14 เชียงราย 1,207,699 624,255 51.69%
15 ปทุมธานี 1,074,058 550,256 51.23%
16 สมุทรปราการ 1,261,530 632,240 50.12%
17 มุกดาหาร 346,016 168,083 48.58%
18 สกลนคร 1,138,609 551,323 48.42%
19 ระนอง 177,089 85,663 48.37%
20 อุดรธานี 1,570,300 742,335 47.27%
21 สระบุรี 633,460 294,901 46.55%
22 สมุทรสาคร 531,887 247,235 46.48%
23 ขอนแก่น 1,790,049 828,309 46.27%
24 ระยอง 674,393 303,024 44.93%
25 อ่างทอง 283,568 120,394 42.46%
26 หนองบัวลาภู 508,864 208,678 41.01%
27 อุตรดิตถ์ 460,400 188,608 40.97%
ลาดับ จังหวัด
จานวนประชากรใน
จังหวัด (คน)
จานวนประชากรในเขต
เทศบาล (คน)
ความเป็นเมือง
(ร้อยละ)
28 ร้อยเอ็ด 1,308,318 529,822 40.50%
29 แพร่ 454,083 181,762 40.03%
30 ราชบุรี 853,217 335,398 39.31%
31 อานาจเจริญ 375,380 145,256 38.70%
32 เพชรบุรี 474,192 183,441 38.68%
33 สุราษฎร์ธานี 1,040,230 398,434 38.30%
34 ยะลา 511,911 184,895 36.12%
35 พระนครศรีอยุธยา 803,599 286,817 35.69%
36 กาญจนบุรี 848,198 301,204 35.51%
37 หนองคาย 517,260 179,417 34.69%
38 ยโสธร 540,211 183,968 34.05%
39 เลย 634,513 214,519 33.81%
40 ชุมพร 500,575 167,867 33.53%
41 พิษณุโลก 858,988 288,004 33.53%
42 นครราชสีมา 2,620,517 876,115 33.43%
43 บุรีรัมย์ 1,579,248 517,828 32.79%
44 สุพรรณบุรี 849,053 277,819 32.72%
45 นครศรีธรรมราช 1,548,028 504,661 32.60%
46 สิงห์บุรี 212,158 69,071 32.56%
47 ตาก 539,553 175,625 32.55%
48 อุบลราชธานี 1,844,669 598,974 32.47%
49 ตราด 224,730 72,786 32.39%
50 กาแพงเพชร 729,522 235,116 32.23%
51 สมุทรสงคราม 194,189 62,468 32.17%
52 พิจิตร 547,543 175,241 32.00%
53 นครปฐม 891,071 284,592 31.94%
54 สุโขทัย 602,460 190,005 31.54%
55 ประจวบคีรีขันธ์ 525,107 164,215 31.27%
ลาดับ จังหวัด
จานวนประชากรใน
จังหวัด (คน)
จานวนประชากรในเขต
เทศบาล (คน)
ความเป็นเมือง
(ร้อยละ)ห
56 ลพบุรี 758,406 226,800 29.90%
57 บึงกาฬ 418,566 123,360 29.47%
58 ฉะเชิงเทรา 695,478 194,383 27.95%
59 ชัยภูมิ 1,137,049 306,049 26.92%
60 ตรัง 638,746 165,470 25.91%
61 น่าน 478,264 123,070 25.73%
62 สระแก้ว 552,187 140,756 25.49%
63 พังงา 261,370 66,581 25.47%
64 นราธิวาส 774,799 196,731 25.39%
65 นครพนม 713,341 180,523 25.31%
66 นครสวรรค์ 1,072,756 246,829 23.01%
67 เพชรบูรณ์ 995,807 220,526 22.15%
68 ปัตตานี 686,186 151,528 22.08%
69 กระบี่ 456,811 96,968 21.23%
70 อุทัยธานี 330,179 65,666 19.89%
71 ศรีสะเกษ 1,465,213 282,164 19.26%
72 สตูล 312,673 55,765 17.83%
73 สุรินทร์ 1,391,636 223,298 16.05%
74 ปราจีนบุรี 479,314 75,247 15.70%
75 มหาสารคาม 960,588 144,051 15.00%
76 แม่ฮ่องสอน 248,178 35,485 14.30%
77 นครนายก 257,300 34,743 13.50%
รวม 65,124,716 28,518,233 43.79%
ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน ข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, 2557.
ตาราง ข. แสดงจานวนประชากรของเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน ปี พ.ศ. 2556 กับ
พ.ศ. 2557 เรียงจากมากไปน้อย (หน่วย: คน)
เทศบาล 2556 2557 เทศบาล 2556 2557
เทศบาลนครนนทบุรี 256,618 256,190 เทศบาลนครภูเก็ต 76,632 77,610
เทศบาลนครปากเกร็ด 182,230 184,501 เทศบาลนครพิษณุโลก 71,569 70,871
เทศบาลนครหาดใหญ่ 158,443 159,130 เทศบาลนครเชียงราย 70,382 70,610
เทศบาลนครนครราชสีมา 136,153 134,440 เทศบาลนครสงขลา 67,947 67,154
เทศบาลนครอุดรธานี 134,455 133,429 เทศบาลนครเกาะสมุย 62,506 63,592
เทศบาลนครเชียงใหม่ 134,471 132,634 เทศบาลนครระยอง 61,077 61,902
เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 127,282 128,622 เทศบาลนครยะลา 61,507 61,250
เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 114,506 119,007 เทศบาลนครตรัง 60,541 60,591
เทศบาลนครขอนแก่น 112,329 115,928 เทศบาลนครสมุทรสาคร 57,281 60,103
เทศบาลนครนครศรีธรรมราช 106,777 106,322 เทศบาลนครลาปาง 55,318 55,044
เทศบาลนครนครสวรรค์ 86,836 86,439 เทศบาลนครสกลนคร 53,763 53,618
เทศบาลนครรังสิต 78,942 79,319 เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา 52,994 52,952
เทศบาลนครอุบลราชธานี 79,797 79,023 เทศบาลนครอ้อมน้อย 52,177 52,457
เทศบาลนครนครปฐม 78,734 78,780 เทศบาลนครสมุทรปราการ 51,295 51,309
เทศบาลนครแหลมฉบัง 75,586 77,798 เทศบาลนครแม่สอด 31,266 31,530
ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2558
บรรณานุกรม
Peter Mieszkowski and Edwin S. Mills. 1993. “The Causes of Metropolitan Suburbanization.”
The Journal of Economic Perspectives, 7(3): 135-147.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. 2557. ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. ออนไลน์.
สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2558, แหล่งที่มา:http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp
นิธินันท์ วิศเวศวร. 2552. “เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ว่าด้วยเมืองและภูมิภาค.” กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2557. ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด.
ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2558, แหล่งที่มา: http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?
tabid=96
สานักทะเบียนกลาง. 2557. สถิติการบริการด้านการทะเบียนราษฎร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม
2558, แหล่งที่มา: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/

Contenu connexe

Tendances

โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลThipwaree Tobangpa
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.peter dontoom
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPathitta Satethakit
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตFURD_RSU
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
อาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายอาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายManow Butnow
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต FURD_RSU
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 

Tendances (20)

โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
โครงการบริจาคโลหิต
โครงการบริจาคโลหิตโครงการบริจาคโลหิต
โครงการบริจาคโลหิต
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงานเอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
เอกสารแสดงวิสัยทัศน์และผลงาน
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
แนวทางสอบสัมภาษณ์
แนวทางสอบสัมภาษณ์แนวทางสอบสัมภาษณ์
แนวทางสอบสัมภาษณ์
 
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.Ebook  การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
Ebook การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กศน.
 
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตโครงงานคอม   การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
โครงงานคอม การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคตUrbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
อาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายอาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้าย
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 

Similaire à การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน

สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ FURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015Thana Chirapiwat
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาFURD_RSU
 
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมืองระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมืองFURD_RSU
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์Sarit Tiyawongsuwan
 
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561 รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561 ETDAofficialRegist
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561ETDAofficialRegist
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015Thana Chirapiwat
 

Similaire à การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน (18)

สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
สถานการณ์เมืองในภาคต่างๆ
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลตำบลท่ายาง 08092015
 
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special IssueFURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
FURD Cities Monitor 1st Urban Think Tank Special Issue
 
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดาการพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
การพัฒนาเมืองภายใต้นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ: ชุมชนชายแดนด่านสะเดา
 
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมืองระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
ระบบ BRT กับสุขภาวะคนเมือง
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
กระบวนการเป็นเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ ประเด็นขยะเหลือศูนย์
 
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561 รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
 
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.12 (NOVEMBER 2018)
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
 
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
รายงานประจำปีไทยเซิร์ต 2560-2561
 
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนพัฒนาท้องถิ่นสี่ปี (พ.ศ.2561 - 2564) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.4 (JULY 2017)
 
R2_05.Pensri
R2_05.PensriR2_05.Pensri
R2_05.Pensri
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
การประชุมระดมความคิดเห็น Focus Group เทศบาลเมืองหัวหิน 07092015
 

Plus de FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)FURD_RSU
 

Plus de FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
เมืองปราจีนบุรี สร้างเมืองสมุนไพร ด้วยแนวคิดธุรกิจเพื่อสังคม (Social Business)
 

การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน

  • 3. ผู้เขียน : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร บรรณาธิการบริหาร : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ : นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล กองบรรณาธิการ : นายฮากีม ผูหาดา, นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง, นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร ปก : นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร รูปเล่ม : นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ : พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ผู้เผยแพร่ : ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้ แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน : สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส)
  • 4. การกระจายตัวของความเป็นเมือง: เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน การกระจายความเป็นเมือง1 (suburbanization) เป็นกระบวนการที่ชนบทเปลี่ยนสภาพกลายเป็น ชานเมือง (suburbs) ซึ่งอยู่บริเวณรอบ ๆ เมือง (urban) โดยเราสามารถวัดความเป็นเมืองได้จากจานวน ประชากรหรือรายได้อันเป็นตัวแปรสาคัญที่สามารถบ่งบอกสภาพความเป็นเมืองของพื้นที่นั้นในเบื้องต้นได้ สาหรับประเทศไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอยู่มากมายหลายแห่งทั่วทุกจังหวัด ทั้งในระดับ เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล โดยในที่นี้กาหนดให้พื้นที่ในเขตเทศบาลเป็นเมือง (urban) และนอก เขตเทศบาลเป็นชนบท (rural) ตามนิยามของสานักงานสถิติแห่งชาติ ทั้งนี้ หากลองสังเกตจานวนประชากร และรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแล้วจะพบว่าเมืองที่ความเจริญมากจะมีจานวนประชากรมาก และรายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็จะมากตามไปด้วย ในที่นี้เราสนใจความเป็นเมืองในประเทศไทยตามเขตการปกครอง โดยแบ่งเป็นเทศบาลนครจานวน 30 แห่ง ซึ่งถือเป็นเทศบาลที่มีความเป็นเมืองมากที่สุดในบรรดาเทศบาลประเภทต่าง ๆ และเทศบาลเมืองที่ ติดชายแดน จานวน 11 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี เทศบาลเมืองนครพนม เทศบาลเมืองสุไหงโก -ลก เทศบาลเมืองเบตง เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ เทศบาลเมืองมุกดาหาร เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน เทศบาลเมืองอรัญประเทศ เทศบาลเมืองหนองคาย เทศบาลเมืองท่าบ่อ และเทศบาลเมืองระนอง ภายใต้ข้อ สมมติฐานที่ว่าเทศบาลที่ติดชายแดนน่าจะมีความเจริญทางเศรษฐกิจสูง ทั้งนี้ เทศบาลนครแม่สอดจะถูก วิเคราะห์ทั้งในกลุ่มเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนด้วย ฉะนั้นแล้วเราจึงมุ่งเน้นพิจารณาและ วิเคราะห์แนวโน้มความเป็นเมืองของพื้นที่ดังกล่าว โดยใช้ปัจจัยชี้วัดความเป็นเมือง 2 มิติ คือ มิติประชากร และมิติรายได้เทศบาล เพื่อศึกษาแนวโน้มความเป็นเมืองและนาไปสู่การสร้างนโยบายการพัฒนาอนาคต ของเมืองต่อไป 1. มิติประชากร จานวนประชากรนับเป็นตัวชี้วัดความเป็นเมืองที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย เพราะคนกับเมืองมี ความสัมพันธ์กันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นั่นคือ หากเมืองใดมีความเจริญเติบโตสูง เมืองนั้นก็จะสามารถสร้าง งานสร้างรายได้ให้คนในเมืองได้สูง จึงส่งผลให้คนที่อยู่ภายนอกเมืองอพยพเข้าหาเมืองที่มีความเจริญ เนื่องจากต้องการมีรายได้ที่สูงขึ้น ด้วยเหตุนี้อาจกล่าวได้ว่าเมืองที่มีความเจริญเติบโตสูงจะทาให้จานวน ประชากรสูงขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น จานวนประชากรจึงเป็นตัวบ่งบอกถึงความเป็นเมืองได้ดีในระดับหนึ่ง 1 นิธินันท์ วิศเวศวร. 2552. “เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ว่าด้วยเมืองและภูมิภาค.”
  • 5.  ระดับภาพรวมของจังหวัด เมื่อพิจารณาสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาลต่อจานวนประชากรทั้งหมดของจังหวัดในประเทศไทย ณ ปี พ.ศ. 2557 ซึ่งแสดงถึงความเป็นเมืองในแต่ละจังหวัด จะพบว่า จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรในเขต เทศบาลมากที่สุด 10 อันดับแรก ไม่รวมกรุงเทพฯ (ตารางที่ 1) ได้แก่ ชลบุรี (ร้อยละ 74.80) ชัยนาท (ร้อย ละ 73.78) ลาพูน (ร้อยละ 67.44) เชียงใหม่ (ร้อยละ 60.99) ภูเก็ต (ร้อยละ 60.67) จันทบุรี (ร้อยละ 59.98) นนทบุรี (ร้อยละ 59.16) พัทลุง (ร้อยละ 59.06) กาฬสินธุ์ (ร้อยละ 56.60) และพะเยา (ร้อยละ 56.05) ซึ่ง เป็นที่น่าสนใจว่าใน พ.ศ. 2557 มีจังหวัดที่มีความเป็นเมืองสูงกว่าร้อยละ 70 หรือเกือบเต็มพื้นที่ทั้งจังหวัด เป็นจานวน 2 จังหวัดแล้วด้วยกัน ได้แก่ ชลบุรีและชัยนาท ตารางที่ 1 จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาล ปี พ.ศ. 2556 มากที่สุด 10 อันดับ ลาดับ จังหวัด ประชากรใน จังหวัด (คน) ประชากรในเขต เทศบาล(คน) ความเป็นเมือง 1 ชลบุรี 1,421,425 1,063,252 74.80% 2 ชัยนาท 332,283 245,159 73.78% 3 ลาพูน 405,468 273,442 67.44% 4 เชียงใหม่ 1,678,284 1,023,553 60.99% 5 ภูเก็ต 378,364 229,535 60.67% 6 จันทบุรี 527,350 316,325 59.98% 7 นนทบุรี 1,173,870 694,458 59.16% 8 พัทลุง 520,419 307,374 59.06% 9 กาฬสินธุ์ 984,907 557,497 56.60% 10 พะเยา 484,454 271,517 56.05% ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2557 ทั้งนี้ เราอาจแบ่งจังหวัด (ไม่รวมกรุงเทพฯ) ตามร้อยละของความเป็นเมืองออกเป็น 5 ระดับ (ตารางที่ 2) ได้แก่ (1) จังหวัดที่มีความเป็นเมืองน้อยกว่าร้อยละ 20.00 มีจานวนทั้งหมด 8 จังหวัด (2) จังหวัดที่มีความเป็นเมืองตั้งแต่ร้อยละ 20.01 ถึงร้อยละ 30.00 มีจานวนทั้งหมด 14 จังหวัด (3) จังหวัดที่มี ความเป็นเมืองตั้งแต่ร้อยละ 30.01 ถึงร้อยละ 40.00 มีจานวนทั้งหมด 27 จังหวัด (4) จังหวัดที่มีความเป็น เมืองตั้งแต่ร้อยละ 40.01 ถึงร้อยละ 50.00 มีจานวนทั้งหมด 13 จังหวัด และ (5) จังหวัดที่มีความเป็นเมือง มากกว่าร้อยละ 50.00 มีจานวนทั้งหมด 15 จังหวัด เมื่อใช้หลักเกณฑ์ดังข้างต้นแล้วจะเห็นได้ว่าในประเทศไทย ณ พ.ศ. 2557 มีจังหวัดที่มีความเป็น เมืองมากกว่าร้อยละ 50 ซึ่งถือว่าเป็นจังหวัดที่มีความเป็นเมืองสูง เป็นจานวน 15 จังหวัด คิดเป็นประมาณ ร้อยละ 21 ของจังหวัดทั้งหมดในประเทศ หากมองในระดับภูมิภาคแล้ว กลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมือง
  • 6. มากกว่าร้อยละ 50.00 ส่วนใหญ่อยู่บริเวณภาคเหนือ มีจานวน 5 จังหวัด ส่วนกลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมือง น้อยกว่าร้อยละ 20.01 ส่วนใหญ่อยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีจานวน 3 จังหวัด โดยส่วนใหญ่แล้วจังหวัดที่มีเทศบาลนครจะอยู่ในกลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมืองมากกว่าร้อยละ 50.00 และกลุ่มจังหวัดที่มีความเป็นเมืองอยู่ระหว่างร้อยละ 30.01 ถึง 40.00 เป็นจานวนเท่ากัน คือ 9 จังหวัด โดยจังหวัดที่มีเทศบาลนครที่มีความเป็นเมืองมากที่สุดคือ จังหวัดชลบุรีมีความเป็นเมืองร้อยละ 74.80 รองลงมาคือ จังหวัดเชียงใหม่มีความเป็นเมืองร้อยละ 73.78 ส่วนจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติด ชายแดนส่วนใหญ่มีร้อยละของความเป็นเมืองอยู่ระหว่างร้อยละ 30.01 ถึง 40.00 และอยู่ระหว่างร้อยละ 20.01 ถึง 30.00 เป็นจานวนเท่ากัน คือ 4 จังหวัด โดยจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนที่มีความเป็น เมืองมากที่สุดคือ จังหวัดมุกดาหารมีความเป็นเมืองร้อยละ 48.58 รองลงมาคือ จังหวัดระนองมีความเป็น เมืองร้อยละ 48.37 จากข้อมูลข้างต้น สังเกตได้ว่าจังหวัดที่มีเทศบาลนครไม่ได้มีความเป็นเมืองมากไปกว่าจังหวัดที่ไม่ มีเทศบาลนครเสียทีเดียว ส่วนจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนส่วนใหญ่มีความเป็นเมืองอยู่ในระดับ ปานกลาง นอกจากนี้ จังหวัดที่มีเทศบาลนครบางจังหวัดกลับมีความเป็นเมืองค่อนข้างต่า ยกตัวอย่างเช่น จังหวัดนครสวรรค์มีความเป็นเมืองเพียงร้อยละ 23.01 เท่านั้น ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าจังหวัดนครสวรรค์ เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาลต่อจานวนประชากรทั้งหมด ระหว่างปี พ.ศ. 2546 กับปี พ.ศ. 2557 ของจังหวัดที่มีเทศบาลนครและจังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติด ชายแดนแล้วจะพบว่า จังหวัดที่มีการเพิ่มขึ้นของสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาล มากที่สุด 5 อันดับแรก (ตารางที่ 3) ได้แก่ เชียงใหม่ (ร้อยละ 36.67) สกลนคร (ร้อยละ 35.80) เชียงราย (เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.61) มุกดาหาร (ร้อยละ 34.43) และระนอง (ร้อยละ 32.36)
  • 7. ตารางที่ 2 ร้อยละของความเป็นเมืองในมิติประชากรของจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ร้อยละของความ เป็นเมือง (1) น้อยกว่า 20.01 (2) 20.01-30.00 (3) 30.01-40.00 (4) 40.01-50.00 (5) มากกว่า 50.00 จังหวัด แม่ฮ่องสอน ตรัง สุราษฎร์ธานี ขอนแก่น ชลบุรี นครนายก นครสวรรค์ ยะลา ระยอง เชียงใหม่ อุทัยธานี นราธิวาส พระนครศรีอยุธยา สกลนคร ภูเก็ต ศรีสะเกษ นครพนม นครศรีธรรมราช อุดรธานี นนทบุรี สตูล สระแก้ว อุบลราชธานี สมุทรสาคร ลาปาง สุรินทร์ ปัตตานี นครปฐม ระนอง สงขลา ปราจีนบุรี น่าน นครราชสีมา มุกดาหาร เชียงราย มหาสารคาม พังงา ตาก สระบุรี ปทุมธานี เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี อ่างทอง สมุทรปราการ กระบี่ พิษณุโลก หนองบัวลาภู ชัยนาท ลพบุรี หนองคาย อุตรดิตถ์ ลาพูน บึงกาฬ ยโสธร ร้อยเอ็ด จันทบุรี ฉะเชิงเทรา เลย แพร่ พัทลุง ชัยภูมิ บุรีรัมย์ กาฬสินธุ์ สุพรรณบุรี พะเยา ชุมพร สิงห์บุรี ราชบุรี อานาจเจริญ เพชรบุรี กาแพงเพชร สมุทรสงคราม พิจิตร ตราด สุโขทัย ประจวบคีรีขันธ์ ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน *ตัวหนา=จังหวัดที่มีเทศบาลนคร *ตัวเอียง=จังหวัดที่มีเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
  • 8. ตารางที่ 3 จังหวัดที่มีสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาลเพิ่มขึ้นมากที่สุด 10 อันดับ ลาดับ จังหวัด 2546* 2557** เปลี่ยนแปลง 1 เชียงใหม่ 24.32% 60.99% 36.67% 2 สกลนคร 12.62% 48.42% 35.80% 3 เชียงราย 17.08% 51.69% 34.61% 4 มุกดาหาร 14.15% 48.58% 34.43% 5 ระนอง 16.02% 48.37% 32.36% 6 ชลบุรี 42.60% 74.80% 32.20% 7 ลาปาง 26.74% 54.73% 27.99% 8 ขอนแก่น 20.66% 46.27% 25.62% 9 สงขลา 30.62% 53.17% 22.55% 10 อุดรธานี 26.66% 47.27% 20.62% ที่มา: *สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2557 **กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2557  ระดับเทศบาลนคร เมื่อวิเคราะห์แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลนคร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557 (ตารางที่ 4) แล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) เทศบาลนครที่มีแนวโน้มประชากรสูงขึ้น หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมี แนวโน้มเป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวกติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวน ประชากรที่สูงขึ้นมีจานวน 9 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครรังสิต เทศบาลนครระยอง เทศบาลนครอ้อมน้อย เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์เทศบาลนครแม่สอด เทศบาลนครเกาะสมุย เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาล นครแหลมฉบัง และเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 2) เทศบาลที่มีแนวโน้มประชากรลดลง หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรลดลงเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมีแนวโน้ม เป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรที่ ลดลงมีจานวน 14 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาล พระนครศรีอยุธยา เทศบาลนครนครปฐม เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครยะลา เทศบาลนครลาปาง เทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครอุบลราชธานี และเทศบาล นครสมุทรปราการ
  • 9. ตารางที่ 4 แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลนคร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557 ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2558  ระดับเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน เมื่อวิเคราะห์แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557 (ตารางที่ 5) แล้วสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบด้วยกัน ดังนี้ 1) เทศบาลที่มีแนวโน้มประชากรสูงขึ้น หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมี แนวโน้มเป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวกติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวน ประชากรที่สูงขึ้นมีจานวน 3 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองเบตง เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์และเทศบาลเมืองสุ ไหงโก-ลก 2) เทศบาลที่มีแนวโน้มประชากรลดลง หากนับเทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรลดลงเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 1 ต่อปี หรือมีแนวโน้ม เป็นเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบติดต่อกันมากกว่า 5 ปี จะได้เทศบาลที่มีแนวโน้มของจานวนประชากรที่ ลดลงมีจานวน 4 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี เทศบาลเมืองนครพนม เทศบาลเมืองมุกดาหาร และ เทศบาลเมืองท่าบ่อ เทศบาล แนวโน้มประชากร เทศบาลนครแหลมฉบัง เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ เทศบาลนครเกาะสมุย เทศบาลนครรังสิต เทศบาลนครอ้อมน้อย เทศบาลนครปากเกร็ด เทศบาลนครแม่สอด เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาลนครระยอง เทศบาล แนวโน้มประชากร เทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา เทศบาลนครนครปฐม เทศบาลนครพิษณุโลก เทศบาลนครเชียงใหม่ เทศบาลนครยะลา เทศบาลนครลาปาง เทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครนครราชสีมา เทศบาลนครอุบลราชธานี เทศบาลนครสมุทรปราการ
  • 10. ตารางที่ 5 แนวโน้มจานวนประชากรของเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546-2557 ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2558 2. มิติรายได้เทศบาล ในมิติรายได้เทศบาลจะวิเคราะห์เฉพาะในระดับเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนเท่านั้น โดยเทศบาลแต่ละแห่งนั้นมีรายได้จากการจัดเก็บเอง เงินอุดหนุน และงบประมาณจากภาครัฐ หากเทศบาล มีรายได้มากก็จะทาให้เทศบาลสามารถนาเงินจานวนนั้นไปลงทุนและสร้างนโยบายได้มากเช่นกัน อย่างไรก็ ตาม การวิเคราะห์รายได้เทศบาลในที่นี้เป็นเพียงการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงปริมาณเท่านั้น แต่มิได้สะท้อนถึง ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในการใช้จ่ายและการลงทุนของเทศบาล  ระดับเทศบาลนคร จากการพิจารณาในรูปของจานวนเงินแล้วจะพบว่า เทศบาลนครที่ได้รับรายได้เฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556 มากที่สุด (ตารางที่ 6) คือ เทศบาลนครนนทบุรีได้รับรายได้เฉลี่ย 1,817.22 ล้านบาทต่อปี รองลงมาคือ เทศบาลนครหาดใหญ่ได้รับรายได้เฉลี่ย 1,406.62 ล้านบาทต่อปี และเทศบาลนครเชียงใหม่ ได้รับรายได้เฉลี่ย 1,217.63 ล้านบาทต่อปี ตามลาดับ จะเห็นได้ว่าเทศบาลนครนนทบุรีได้รับรายได้เฉลี่ยต่อ ปีค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับอันดับรองลงมา สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะเทศบาลนครนนทบุรีนั้นเป็นเทศบาลนครที่ มีจานวนประชากรสูงที่สุดในประเทศไทย2 อย่างไรก็ตาม ในบรรดาเทศบาลนครที่มีรายได้เฉลี่ยสูงสุด 10 อันดับแรกนั้นมีเทศบาลนครที่อยู่ในภาคใต้มากที่สุดเป็นจานวน 4 เทศบาล 2 ดูเพิ่มเติมได้ที่ภาคผนวก ตาราง ข. เทศบาล แนวโน้มประชากร เทศบาลเมืองสุไหง-โกลก เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ เทศบาลเมืองเบตง เทศบาลเมืองนครพนม เทศบาลเมืองท่าบ่อ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี เทศบาลเมืองมุกดาหาร
  • 11. ตารางที่ 6 รายได้เฉลี่ยของเทศบาลนคร พ.ศ. 2552-2556 สูงสุด 10 อันดับ (หน่วย: ล้านบาท) ลาดับ เทศบาล 2552 2553 2554 2555 2556 เฉลี่ยต่อปี 1 เทศบาลนครนนทบุรี 1,395.05 1,683.80 1,777.14 2,014.7 2,215.39 1,817.22 2 เทศบาลนครหาดใหญ่ 1,096.53 1,253.63 1,506.49 1,489.22 1,687.23 1,406.62 3 เทศบาลนครเชียงใหม่ 804.42 1,075.23 1,203.86 1,483.23 1,521.43 1,217.63 4 เทศบาลนครปากเกร็ด 872.26 973.55 1,198.56 1,331.00 1,689.36 1,212.95 5 เทศบาลนครนครราชสีมา 1,004.68 1,065.76 1,162.58 1,194.54 1,347.32 1,154.98 6 เทศบาลนครอุดรธานี 940.51 605.46 1,404.73 1,119.67 1,273.91 1,068.86 7 เทศบาลนครขอนแก่น 879.21 932.43 976.12 1,168.00 1,369.05 1,064.96 8 เทศบาลนครนครศรีธรรมราช 681.56 737.15 1,075.03 938.20 1,027.26 891.84 9 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 724.27 806.03 817.17 912.14 1,101.98 872.32 10 เทศบาลนครภูเก็ต 696.45 696.91 853.03 940.19 1,098.22 856.96 ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2557 หากลองพิจารณาแนวโน้มรายได้ของเทศบาลนครจะพบว่า รายได้ของเทศบาลทุกแห่งที่พิจารณา นั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเทศบาลนครที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้เฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556 สูงสุด (ตารางที่ 7) ได้แก่ เทศบาลนครเกาะสมุยมีอัตราเติบโตของรายได้เฉลี่ยร้อยละ 44.4 ต่อปี รองลงมา เป็นเทศบาลนครอุดรธานีมีอัตราของรายได้เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 22.47 ต่อปี และเทศบาลนครอุบลราชธานีมี อัตราเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 21.98 ต่อปี ตามลาดับ ทั้งนี้ สาเหตุที่เทศบาลนครเกาะสมุยมีอัตราเติบโตของ รายได้ที่สูงมากนั้นอาจจะเกิดจากการที่เทศบาลได้รับเงินอุดหนุนจากเหตุการณ์น้าท่วมครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2554 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนมากกว่า 9 เท่า ทาให้รายได้รวมของเทศบาลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในอีกทางหนึ่ง เทศบาลนครที่มีอัตราการเพิ่มของรายได้เฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556 ต่าสุด 5 อันดับ (ตารางที่ 8) ได้แก่ เทศบาลนครยะลา (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 2.09 ต่อปี) เทศบาลนคร สมุทรปราการ (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 3.68 ต่อปี) เทศบาลนครลาปาง (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.4 ต่อปี) เทศบาล นครนครราชสีมา (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.87 ต่อปี) และเทศบาลนครสงขลา (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 6.99 ต่อปี) ตารางที่ 7 อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลนคร เฉลี่ย พ.ศ. 2552-2556 สูงสุด 5 อันดับ ลาดับ เทศบาล อัตราการเจริญเติบโตของ รายได้เทศบาลเฉลี่ยต่อปี 1 เทศบาลนครเกาะสมุย 44.40% 2 เทศบาลนครอุดรธานี 22.47% 3 เทศบาลนครอุบลราชธานี 21.98% 4 เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 20.73% 5 เทศบาลนครปากเกร็ด 18.17% ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน
  • 12. ตารางที่ 8 อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลนคร เฉลี่ย พ.ศ. 2552-2556 ต่าสุด 5 อันดับ ลาดับ เทศบาล อัตราการเจริญเติบโตของ รายได้เทศบาลเฉลี่ยต่อปี 1 เทศบาลนครยะลา 2.09% 2 เทศบาลนครสมุทรปราการ 3.68% 3 เทศบาลนครลาปาง 6.99% 4 เทศบาลนครนครราชสีมา 7.68% 5 เทศบาลนครสงขลา 8.87% ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน  ระดับเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน หากพิจารณาเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนแล้วจะพบว่า เทศบาลเมืองที่ติดชายแดนที่ได้รับรายได้ เฉลี่ยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556 มากที่สุด (ตารางที่ 9) ได้แก่ เทศบาลเมืองหนองคายได้รับรายได้เฉลี่ย 335.85 ล้านบาทต่อปี อันดับรองลงมาคือเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกได้รับรายได้เฉลี่ย 332.37 ล้านบาทต่อปี และเทศบาลเมืองกาญจนบุรีได้รับรายได้เฉลี่ย 317.06 ล้านบาทต่อปี ตามลาดับ สังเกตได้ว่าเทศบาลเมืองที่ ติดชายแดนได้รับรายได้เฉลี่ยค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับเทศบาลนคร แม้แต่เทศบาลนครแม่สอดที่เป็นทั้ง เทศบาลนครและเทศบาลที่ชายแดนก็ตาม ตารางที่ 9 รายได้เฉลี่ยของเทศบาลเมืองชายแดน พ.ศ. 2552-2556 จานวน 12 แห่ง (หน่วย: ล้านบาท) ลาดับ เทศบาล 2552 2553 2554 2555 2556 เฉลี่ยต่อปี 1 เทศบาลเมืองหนองคาย 280.94 282.56 317.71 365.59 432.46 335.85 2 เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก 285.16 319.58 319.38 339.1 398.63 332.37 3 เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 259.52 263.45 318.62 345.75 397.96 317.06 4 เทศบาลนครแม่สอด 346.18 239.7 190.01 337.99 409.66 304.71 5 เทศบาลเมืองเบตง 266.48 273.93 287.43 316.46 366.07 302.07 6 เทศบาลเมืองนครพนม 215.22 230.04 263.97 287.96 356.4 270.72 7 เทศบาลเมืองมุกดาหาร 161.23 170.33 200.31 213.06 259.42 200.87 8 เทศบาลเมืองระนอง 154.89 159.82 178.75 199.22 226.48 183.83 9 เทศบาลเมืองอรัญญประเทศ 137.43 149.53 169.81 192.96 195.94 169.13 10 เทศบาลเมืองท่าบ่อ 88.75 112.48 120.18 92.92 139.85 110.84 11 เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน 83.16 86.14 101.43 99.58 128.15 99.69 12 เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ 79.94 84.04 95.53 107.31 116.17 96.60 ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, 2557
  • 13. หากพิจารณาแนวโน้มรายได้ของเทศบาลที่ติดชายแดนจะพบว่า รายได้ของเทศบาลทุกแห่งที่ พิจารณานั้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเทศบาลเมืองชายแดนที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้เฉลี่ยต่อปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2556 สูงสุด 5 อันดับแรก (ตารางที่ 10) ได้แก่ เทศบาลเมืองท่าบ่อ (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 15.35 ต่อปี) เทศบาลเมืองนครพนม (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 13.62 ต่อปี) เทศบาลเมืองมุกดาหาร (เติบโตเฉลี่ยร้อย ละ 12.84 ต่อปี) เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 12.05 ต่อปี) และเทศบาลนครแม่สอด (เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 11.90 ต่อปี) จะเห็นได้ว่า อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลเมืองที่ติดชายแดน ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก โดยอยู่ในระดับร้อยละ 8-15 ต่อปี ตารางที่ 10 อัตราการเจริญเติบโตของรายได้เทศบาลเมืองชายแดน เฉลี่ยปี พ.ศ. 2552-2556 ลาดับ เทศบาล อัตราการเจริญเติบโต ของรายได้ 1 เทศบาลเมืองท่าบ่อ 15.35% 2 เทศบาลเมืองนครพนม 13.62% 3 เทศบาลเมืองมุกดาหาร 12.84% 4 เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน 12.05% 5 เทศบาลนครแม่สอด 11.90% 6 เทศบาลเมืองหนองคาย 11.59% 7 เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 11.52% 8 เทศบาลเมืองระนอง 10.04% 9 เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์ 9.85% 10 เทศบาลเมืองอรัญญประเทศ 9.39% 11 เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก 8.93% 12 เทศบาลเมืองเบตง 8.38% ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน 5. สรุป ขณะนี้ประเทศไทยกาลังอยู่ในกระบวนการกระจายตัวสู่ความเป็นเมือง สังเกตได้จากสัดส่วนจานวน ประชากรในเขตเทศบาลในประเทศไทยที่มีมากถึงร้อยละ 43.79 และถึงแม้จานวนประชากรของเทศบาล โดยรวมในช่วง พ.ศ. 2546-2556 จะมีแนวโน้มไม่เปลี่ยนแปลงไปมากนัก แต่อัตราการเพิ่มขึ้นโดยรวม รายได้เทศบาลในช่วง พ.ศ. 2552-2556 กลับมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 12.44 ต่อปี และอัตราการ เจริญเติบโตของรายได้เทศบาลแต่ละแห่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี (แผนภาพที่ 1) ข้อมูลเหล่านี้เป็นหลักฐาน ที่แสดงถึงการขยายตัวของประชากรในเขตเมืองได้ในระดับหนึ่ง
  • 14. แผนภาพที่ 1 จานวนประชากรและรายได้เทศบาลโดยรวมของเทศบาลนคร และเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน พ.ศ. 2552-2556 ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน ในมิติประชากรดังที่กล่าวไว้แล้ว จะเห็นได้ว่าเทศบาลนครที่มีแนวโน้มประชากรที่เพิ่มขึ้นมีเพียง จานวน 9 แห่ง แต่เทศบาลนครที่มีแนวโน้มประชากรที่ลดลงมีจานวน 13 แห่ง นอกเหนือจากนี้เป็นเทศบาล ที่มีแนวโน้มประชากรที่ไม่ชัดเจน ชี้ให้เห็นว่าทิศทางการพัฒนาสู่ความเป็นเมืองในประเทศไทยนั้น นอกจาก จะจะเกิดในทิศทางที่ผู้อยู่อาศัยในชนบทอพยพเข้าสู่เมืองแล้ว ยังสามารถเกิดได้ในทิศทางที่ประชากรในเขต เทศบาลนครย้ายถิ่นฐานออกจากเมืองศูนย์กลาง (central city) ส่งผลให้ประชากรกระจายตัวสู่เขตเทศบาล โดยรอบ ทาให้ความเป็นเมืองเกิดการขยายตัวขึ้น3 ซึ่งจะทาการศึกษาและวิเคราะห์ความหนาแน่นประชากร ของเทศบาลต่าง ๆ ในแต่ละจังหวัดเพื่อสนับสนุนข้อสรุปนี้ต่อไป ทั้งนี้ สิ่งที่ควรตระหนักในการพัฒนาเมืองคือ ระดับการกระจุกตัวของประชากรกับรายได้ของ เทศบาลแต่ละแห่ง เนื่องจากการพัฒนาเมืองเป็นเสมือนหัวใจของการสร้างความเป็นธรรมและยกระดับ คุณภาพชีวิตให้แก่ผู้คนในสังคม หากการพัฒนาเมืองมุ่งส่งเสริมเฉพาะบางพื้นที่และเป็นไปอย่างไร้แบบแผน อาจจะก่อให้เกิดความเหลื่อมล้าทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมในเวลาต่อมา เห็นได้ชัดจากกรณี กรุงเทพมหานครที่เป็นแหล่งรวมกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สาคัญ แต่การพัฒนาเมืองส่วนใหญ่ เช่น การสร้าง คอนโดมิเนียม การสร้างห้างสรรพสินค้า เป็นต้น ที่เน้นรองรับผู้มีรายได้ปานกลางถึงสูงเป็นหลัก ทาให้ผู้มี รายได้น้อยซึ่งส่วนใหญ่ย้ายถิ่นฐานมาจากชนบทขาดโอกาสในการเข้าถึงการใช้ทรัพยากรในเมือง ด้วยเหตุ นี้ เมืองในประเทศไทยจึงยังคงมีลักษณะเป็นเมืองโตเดี่ยว (primate city) และมีการขยายตัวของเมืองแบบ ไร้ทิศทาง (urban sprawl) เฉกเช่นทุกวันนี้ 3 Peter Mieszkowski and Edwin S. Mills. 1993. “The Causes of Metropolitan Suburbanization.” 0.00 5,000.00 10,000.00 15,000.00 20,000.00 25,000.00 30,000.00 35,000.00 0 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 2552 2553 2554 2555 2556 รายได้เทศบาลโดยรวม (ล้านบาท) จานวนประชากรโดยรวม (คน)
  • 16. ตาราง ก. แสดงความเป็นเมืองของแต่ละจังหวัดประเทศไทย เรียงจากมากไปน้อย ลาดับ จังหวัด จานวนประชากรใน จังหวัด (คน) จานวนประชากรในเขต เทศบาล (คน) ความเป็นเมือง (ร้อยละ) 1 กรุงเทพมหานคร 5,692,284 5,692,284 100.00% 2 ชลบุรี 1,421,425 1,063,252 74.80% 3 ชัยนาท 332,283 245,159 73.78% 4 ลาพูน 405,468 273,442 67.44% 5 เชียงใหม่ 1,678,284 1,023,553 60.99% 6 ภูเก็ต 378,364 229,535 60.67% 7 จันทบุรี 527,350 316,325 59.98% 8 นนทบุรี 1,173,870 694,458 59.16% 9 พัทลุง 520,419 307,374 59.06% 10 กาฬสินธุ์ 984,907 557,497 56.60% 11 พะเยา 484,454 271,517 56.05% 12 ลาปาง 753,013 412,161 54.73% 13 สงขลา 1,401,303 745,059 53.17% 14 เชียงราย 1,207,699 624,255 51.69% 15 ปทุมธานี 1,074,058 550,256 51.23% 16 สมุทรปราการ 1,261,530 632,240 50.12% 17 มุกดาหาร 346,016 168,083 48.58% 18 สกลนคร 1,138,609 551,323 48.42% 19 ระนอง 177,089 85,663 48.37% 20 อุดรธานี 1,570,300 742,335 47.27% 21 สระบุรี 633,460 294,901 46.55% 22 สมุทรสาคร 531,887 247,235 46.48% 23 ขอนแก่น 1,790,049 828,309 46.27% 24 ระยอง 674,393 303,024 44.93% 25 อ่างทอง 283,568 120,394 42.46% 26 หนองบัวลาภู 508,864 208,678 41.01% 27 อุตรดิตถ์ 460,400 188,608 40.97%
  • 17. ลาดับ จังหวัด จานวนประชากรใน จังหวัด (คน) จานวนประชากรในเขต เทศบาล (คน) ความเป็นเมือง (ร้อยละ) 28 ร้อยเอ็ด 1,308,318 529,822 40.50% 29 แพร่ 454,083 181,762 40.03% 30 ราชบุรี 853,217 335,398 39.31% 31 อานาจเจริญ 375,380 145,256 38.70% 32 เพชรบุรี 474,192 183,441 38.68% 33 สุราษฎร์ธานี 1,040,230 398,434 38.30% 34 ยะลา 511,911 184,895 36.12% 35 พระนครศรีอยุธยา 803,599 286,817 35.69% 36 กาญจนบุรี 848,198 301,204 35.51% 37 หนองคาย 517,260 179,417 34.69% 38 ยโสธร 540,211 183,968 34.05% 39 เลย 634,513 214,519 33.81% 40 ชุมพร 500,575 167,867 33.53% 41 พิษณุโลก 858,988 288,004 33.53% 42 นครราชสีมา 2,620,517 876,115 33.43% 43 บุรีรัมย์ 1,579,248 517,828 32.79% 44 สุพรรณบุรี 849,053 277,819 32.72% 45 นครศรีธรรมราช 1,548,028 504,661 32.60% 46 สิงห์บุรี 212,158 69,071 32.56% 47 ตาก 539,553 175,625 32.55% 48 อุบลราชธานี 1,844,669 598,974 32.47% 49 ตราด 224,730 72,786 32.39% 50 กาแพงเพชร 729,522 235,116 32.23% 51 สมุทรสงคราม 194,189 62,468 32.17% 52 พิจิตร 547,543 175,241 32.00% 53 นครปฐม 891,071 284,592 31.94% 54 สุโขทัย 602,460 190,005 31.54% 55 ประจวบคีรีขันธ์ 525,107 164,215 31.27%
  • 18. ลาดับ จังหวัด จานวนประชากรใน จังหวัด (คน) จานวนประชากรในเขต เทศบาล (คน) ความเป็นเมือง (ร้อยละ)ห 56 ลพบุรี 758,406 226,800 29.90% 57 บึงกาฬ 418,566 123,360 29.47% 58 ฉะเชิงเทรา 695,478 194,383 27.95% 59 ชัยภูมิ 1,137,049 306,049 26.92% 60 ตรัง 638,746 165,470 25.91% 61 น่าน 478,264 123,070 25.73% 62 สระแก้ว 552,187 140,756 25.49% 63 พังงา 261,370 66,581 25.47% 64 นราธิวาส 774,799 196,731 25.39% 65 นครพนม 713,341 180,523 25.31% 66 นครสวรรค์ 1,072,756 246,829 23.01% 67 เพชรบูรณ์ 995,807 220,526 22.15% 68 ปัตตานี 686,186 151,528 22.08% 69 กระบี่ 456,811 96,968 21.23% 70 อุทัยธานี 330,179 65,666 19.89% 71 ศรีสะเกษ 1,465,213 282,164 19.26% 72 สตูล 312,673 55,765 17.83% 73 สุรินทร์ 1,391,636 223,298 16.05% 74 ปราจีนบุรี 479,314 75,247 15.70% 75 มหาสารคาม 960,588 144,051 15.00% 76 แม่ฮ่องสอน 248,178 35,485 14.30% 77 นครนายก 257,300 34,743 13.50% รวม 65,124,716 28,518,233 43.79% ที่มา: คานวณโดยผู้เขียน ข้อมูลจากกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, 2557.
  • 19. ตาราง ข. แสดงจานวนประชากรของเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน ปี พ.ศ. 2556 กับ พ.ศ. 2557 เรียงจากมากไปน้อย (หน่วย: คน) เทศบาล 2556 2557 เทศบาล 2556 2557 เทศบาลนครนนทบุรี 256,618 256,190 เทศบาลนครภูเก็ต 76,632 77,610 เทศบาลนครปากเกร็ด 182,230 184,501 เทศบาลนครพิษณุโลก 71,569 70,871 เทศบาลนครหาดใหญ่ 158,443 159,130 เทศบาลนครเชียงราย 70,382 70,610 เทศบาลนครนครราชสีมา 136,153 134,440 เทศบาลนครสงขลา 67,947 67,154 เทศบาลนครอุดรธานี 134,455 133,429 เทศบาลนครเกาะสมุย 62,506 63,592 เทศบาลนครเชียงใหม่ 134,471 132,634 เทศบาลนครระยอง 61,077 61,902 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 127,282 128,622 เทศบาลนครยะลา 61,507 61,250 เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ 114,506 119,007 เทศบาลนครตรัง 60,541 60,591 เทศบาลนครขอนแก่น 112,329 115,928 เทศบาลนครสมุทรสาคร 57,281 60,103 เทศบาลนครนครศรีธรรมราช 106,777 106,322 เทศบาลนครลาปาง 55,318 55,044 เทศบาลนครนครสวรรค์ 86,836 86,439 เทศบาลนครสกลนคร 53,763 53,618 เทศบาลนครรังสิต 78,942 79,319 เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา 52,994 52,952 เทศบาลนครอุบลราชธานี 79,797 79,023 เทศบาลนครอ้อมน้อย 52,177 52,457 เทศบาลนครนครปฐม 78,734 78,780 เทศบาลนครสมุทรปราการ 51,295 51,309 เทศบาลนครแหลมฉบัง 75,586 77,798 เทศบาลนครแม่สอด 31,266 31,530 ที่มา: สานักทะเบียนกลาง กระทรวงมหาดไทย, 2558
  • 20. บรรณานุกรม Peter Mieszkowski and Edwin S. Mills. 1993. “The Causes of Metropolitan Suburbanization.” The Journal of Economic Perspectives, 7(3): 135-147. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. 2557. ข้อมูลรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2558, แหล่งที่มา:http://www.dla.go.th/work/money/index.jsp นิธินันท์ วิศเวศวร. 2552. “เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ว่าด้วยเมืองและภูมิภาค.” กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2557. ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2558, แหล่งที่มา: http://www.nesdb.go.th/Default.aspx? tabid=96 สานักทะเบียนกลาง. 2557. สถิติการบริการด้านการทะเบียนราษฎร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2558, แหล่งที่มา: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/