SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
คูมือ
    การดําเนินงาน
กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี




         คํานํา
“กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี” เปนนโยบายที่สําคัญของรัฐบาล โดยกําหนดเปนวาระเรงดวน
ที่จะดําเนินการในป ๒๕๕๕ สําหรับเปนแหลงเงินทุนหมุนเวียนแบบดอกเบี้ยต่ําหรือปลอดดอกเบี้ย
ในการพัฒนาอาชีพ สรางงาน สรางรายได เพื่อการพัฒนาไปสูการสรางสวัสดิภาพ และสวัสดิการใหแกสตรี
รวมถึงการพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือขายสตรี การพัฒนาบทบาทสตรี การสรางภาวะผูนํา
และการคุมครองและพิทักษสิทธิ ทั้งนี้
รัฐบาลมุงเนนที่จะทํางานรวมกับองคกรสตรีตั้งแตระดับทองถิ่นจนถึงระดับประเทศ เพื่อใหโอกาสสตรีในทุกพื้นที่
ทุกชุมชน ไดมีสวนรวมในการรวมคิด รวมทํา รวมพัฒนา เพื่อสตรีทุกคน โดยความรวมมือของหนวยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และองคกรสตรีตาง ๆ ในการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
เพื่อใหสตรีไทยไดใชประโยชนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ในการมีสวนรวมสรางสรรคพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
                   ในชั้นนี้ นายกรัฐมนตรี ไดแตงตั้ง คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมี
รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (นางนลินี ทวีสิน) เปนประธานกรรมการ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ปฏิบัติหนาที่ดานอํานวยการ และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการฯ ดังกลาว
รวมกับหนวยงานในสังกัดของกระทรวงตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวง                      สาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงแรงงาน
และกระทรวงศึกษาธิการ เขามามีสวนรวมดําเนินการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเกิดประสิทธิภาพ
และเปนประโยชนแกสตรี                ทุกกลุมเปาหมาย
                   สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จึงไดจัดทํา “คูมือการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี”
เลมนี้ขึ้น                  โดยความเห็นชอบของ                    คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
เพื่อเปนคูมือสําหรับการดําเนินการ           ในเบื้องตน ประกอบดวย นโยบาย วิสัยทัศน วัตถุประสงค
คุณสมบัติของสมาชิกกองทุน                                และการรายงานผลการดําเนินการ                          ทั้งนี้
หวังเปนอยางยิ่งวาจะเกิดประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของไดใชประโยชนตอไป


                                                            สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
                                                                   กุมภาพันธ ๒๕๕๕




                                                     สารบัญ

                                                                                            หนา
คํานํา
คูมือการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
          นโยบาย                                                                        ๑
          วิสัยทัศน                                                                    ๑
          วัตถุประสงค                                                                  ๑
          การจัดสรรเงินกองทุน                                                           ๒
          สมาชิกกองทุน                                                                  ๒
          การลงทะเบียนสมาชิกกองทุน                                                      ๒
          องคประกอบของคณะกรรมการกองทุน                                                 ๓
          การคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน                                                   ๕
          การดํารงตําแหนงของคณะกรรมการกองทุน                                           ๖
          การบริหารเงินกองทุนและงบประมาณในการบริหาร	
  	
       	
      	
      	
      ๗
          การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุน                                                ๑๒
          การรายงานผลการใชจายเงินกองทุน                                              ๑๓
แผนภูมิการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี	
           	
      	
     	
      	
             ๑๔
คําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๔๐/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๕                       ๑๕
เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
สวนราชการที่รวมขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี                           ๑๘




	
  




                                                คูมือ
                                 การดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
                                                ------------------
       นโยบาย
                   จากปญหาที่เกิดขึ้นตอสตรีในวันนี้ ไมวาจะเปนปญหาการถูกกระทําความรุนแรงในครอบครัว
การขาดโอกาสในสังคม ปญหาการถูกเลือกปฏิบัติ และที่สําคัญโอกาสในการดึงศักยภาพของสตรีมีนอย
จึงตองสงเสริมและพัฒนาอีกมาก ดังนั้น “กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี” จึงถูกจัดเปนนโยบายของรัฐบาล
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับและเสริมศักยภาพสตรีในทุกมิติ เพื่อสรางสังคมเสมอภาค สรางสรรค และสันติสุข
โดยนําศักยภาพและความแตกตางระหวางหญิงชาย ซึ่งนับวาเปนพลังสังคมอยางหนึ่ง
ที่ยังไมไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบ ใหมีการนํามาใชอยางสรางสรรค รวมทั้ง
เพื่อพัฒนาและขยายศักยภาพบทบาทสตรีใหเปนพลังทางสังคมที่เขมแข็ง
สามารถชวยนําพาและรวมสรางสังคมไปสูความเสมอภาค อยางสรางสรรค
และมีสันติสุขอยางเคียงบาเคียงไหลกับผูชาย
                   สําหรับการดําเนินงานดังกลาว รัฐบาลจะทํางานรวมกับองคกรสตรี
ตั้งแตระดับทองถิ่นจนถึงระดับประเทศ เพื่อใหโอกาสสตรีในทุกพื้นที่ ทุกชุมชน ไดมีสวนรวมในการรวมคิด รวมทํา
                                                                                               
รวมพัฒนา เพื่อสตรีทุกคน โดยความรวมมือของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรสตรีตาง ๆ
ในการขับเคลื่อนกองทุน เพื่อใหสตรีทุกคนไดใชประโยชนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ในการมีสวนรวมสรางสรรคพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

   วิสัยทัศน
                 “สรางสรรคพลังสตรี ใหเปนพลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ”

  วัตถุประสงค
                 (๑) เปนแหลงเงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ําหรือปลอดดอกเบี้ย ในการสรางโอกาสใหสตรีเขาถึง
แหลงทุนสําหรับการลงทุน เพื่อพัฒนาอาชีพ สรางงาน สรางรายได
หรือสําหรับการสงเสริมและพัฒนาไปสูการสรางสวัสดิภาพ หรือสวัสดิการใหแกสตรี
                 (๒) เปนแหลงเงินทุนเพื่อการพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือขายสตรี การเฝาระวังและดูแลปญหา
ของสตรี ตลอดจนการชวยเหลือเยียวยาสตรีที่ประสบปญหาในทุกรูปแบบ การรณรงคใหสังคมเขาใจปญหาสตรี
ในทุกมิติ และการคุมครองและพิทักษสิทธิสตรี
                 (๓) เปนแหลงเงินทุนเพื่อการสงเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรี
และแกไขปญหาสตรีขององคกรตาง ๆ การสรางภาวะผูนํา การพัฒนาองคความรู คุณภาพชีวิต
รวมทั้งเสริมสรางความเขมแข็งทางดานเศรษฐกิจและสังคมของสตรี
                 (๔) เปนแหลงเงินทุนเพื่อการสนับสนุนโครงการอื่น ๆ ที่เปนการแกไขปญหาและพัฒนาสตรี
ตามที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติพิจารณาเห็นสมควร
                                                                                               /การจัดสรร...
                                                       -๒-

   การจัดสรรเงินกองทุน
              คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ จะไดพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนนี้ ใหกับ
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด โดยเฉลี่ยจังหวัดละ ๑๐๐ ลานบาท เพื่อดําเนินการตามวัตถุประสงค
และหลักเกณฑตามที่กําหนด
 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
                 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จะตองเปนสตรี
หรือองคกรสตรีที่มีการดําเนินงานและมีผลงานเกี่ยวกับการพัฒนา การคุมครองชวยเหลือสตรี
ซึ่งคุณสมบัติของสมาชิกกองทุน มี ๒ ประเภท ดังนี้
(๑) สมาชิกประเภทบุคคลธรรมดา ที่เปนสตรีผูมีสัญชาติไทย และมีอายุตั้งแตสิบหาปบริบูรณขึ้นไป
และมีภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยู หรือเปนผูมีชื่ออยูในทะเบียนบานหรืออาศัยอยูในหมูบานหรือชุมชนนั้น ไมนอยกวา
หกเดือน
                 (๒) สมาชิกประเภทองคกรสตรี ที่เปนองคกรสตรี มีความรับผิดชอบ เสียสละ มีสวนรวมในการ
ทําประโยชนแกสังคม และมีที่ตั้งอยูในทองที่ตําบล หรือจังหวัดที่ขอขึ้นทะเบียน

  การลงทะเบียนสมาชิกกองทุน
                   การรับลงทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ภายหลังจากนายกรัฐมนตรีประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดําเนินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในวันที่ ๑๘
กุมภาพันธ ๒๕๕๕ จะเริ่มเปดการรับลงทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกวัน
โดยไมมีการปดรับสมัครเปนสมาชิกกองทุนฯ
สําหรับในชวงแรกที่จะตองมีการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ
เพื่อใหการจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรเปนไปดวยความเรียบรอย
                                         ี
จึงไดมีการกําหนดระยะเวลาในการลงทะเบียนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ดังนี้
                   ในชวงแรกของการลงทะเบียนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
เพื่อดําเนินการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบาบาทสตรีระดับตําบล จังหวัด และกรุงเทพมหานคร
คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
กําหนดใหมีการรับลงทะเบียนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกจังหวัดในทั่วประเทศ ตั้งแตวันที่ ๑๘ – ๒๙
กุมภาพันธ ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. โดยกําหนดรูปแบบการดําเนินการ ดังนี้
                   กรุงเทพมหานคร
ใหสตรีที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในกรอบของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี แสดงบัตรประจําตัวประชาชน
    
หรือสําเนาทะเบียนบาน ที่มีชื่อ – สกุล ปรากฏอยูชัดเจน และยื่นคําขอจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนฯ ณ สํานักงาน
กศน. เขต ใน ๕๐ เขต กรุงเทพมหานคร โดย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กระทรวงศึกษาธิการ
ดําเนินการตามขอกําหนดของคณะอนุกรรมการดําเนินการเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดั
บตําบลและจังหวัด

                                                                                                    /สวนภูมิภาค...
                                                        -๓-

                  สวนภูมิภาค ใหสตรีที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในกรอบของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
                                
แสดงบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาทะเบียนบาน ที่มีชื่อ – สกุล ปรากฏอยูชัดเจน และยื่นคําขอจดทะเบียนเปน
สมาชิกกองทุนฯ ณ กศน.ตําบล /กศน.อําเภอ โดย สํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กระทรวงศึกษาธิการ
ดําเนินการตามขอกําหนดของคณะอนุกรรมการดําเนินการเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดั
บตําบลและระดับจังหวัด
                  สําหรับกรณีขององคกรสตรีที่มีการจดทะเบียนไวตามกฎหมายอื่น
ใหผูมีอํานาจทําการแทนองคกรหรือผูซึ่งไดรับมอบฉันทะจากองคกร แสดงหนังสือการมอบอํานาจ
และแสดงบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาทะเบียนบาน ที่มี ชื่อ – สกุล ปรากฏอยู
เพื่อยื่นคําขอจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนฯ ณ สํานักงาน กศน. เขต ใน ๕๐ เขต กรุงเทพมหานคร และ
กศน.ตําบล /กศน.อําเภอ ในสวนภูมิภาค
                 ในชวงภายหลังจากการดําเนินการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตําบล
จังหวัด และกรุงเทพมหานครแลว สตรี หรือองคกรสตรีที่ยังไมไดจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนฯ และสนใจสมัคร
สามารถติดตอจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบาบาทสตรี ไดโดยตรง ณ
ที่ทําการของสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
หรือสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
หรือสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ
หรือสมัครผานระบบออนไลนบนเว็บไซตกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่ http://womenfund.thaigov.go.th

 องคประกอบของคณะกรรมการกองทุนค
         ณะกรรมการกองทุนฯ นพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
           ๑. คณะกรรมการกองทุ
                       คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ประกอบดวย ผูแทนสมาชิกกองทุนฯ
ในแตละหมูบานหรือชุมชน เลือกกันเองหมูบานหรือชุมชนละหนึ่งคน เปนกรรมการ โดยจํานวนของคณะกรรมการฯ
ตําบล ขึ้นอยูกับจํานวนหมูบานในตําบลนั้น ซึ่งแตละตําบลอาจมีจํานวนคณะกรรมการไมเทากัน และใหเลือกกันเอง
                                                                                              
เปนประธานกรรมการ รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง คนที่สอง รวมทั้งเลือกกันเอง เปนกรรมการและเลขานุการ
และผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน ทั้งนี้ จะมีกรรมการผูทรงคุณวุฒอีกจํานวนหาคน
                                                                 ิ
ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดแตงตั้งขึ้นจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณที่เปนปร
ะโยชนตอการพัฒนาสตรี นอกจากนี้ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
อาจแตงตั้งที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ตามความเหมาะสมได
                    ๒. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
                        คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด ประกอบดวย
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบลในแตละอําเภอ เลือกกันเองใหเหลืออําเภอละหนึ่งคน เปนกรรมการ
โดยจํานวนของคณะกรรมการฯ จังหวัด ขึ้นอยูกับจํานวนอําเภอในจังหวัดนั้น
ซึ่งแตละจังหวัดอาจมีจํานวนคณะกรรมการไมเทากัน และใหเลือกกันเอง เปนประธานกรรมการ
                                                           
รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง คนที่สอง รวมทั้งเลือกกันเอง เปนกรรมการและเลขานุการ
                                                                                                     /และ...
                                                        -๔-

และผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน ทั้งนี้ จะมีกรรมการผูทรงคุณวุฒอีกจํานวนหาคน
                                                               ิ
ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติแตงตั้งขึ้นจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณที่เปน
ประโยชนตอการพัฒนาสตรี นอกจากนี้ ใหผูวาราชการจังหวัด นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
เปนที่ปรึกษาของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด โดยตําแหนง
                 ๓. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
                    คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย
ผูแทนสมาชิกกองทุนในกรุงเทพมหานคร สมัครเขาเปนกรรมการกองทุน และเลือกตั้งกันใหเหลือจํานวนสิบสองคน
เปนกรรมการ         ตอจากนั้น เลือกกันเอง เปนประธานกรรมการ รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง คนที่สอง
กรรมการและเลขานุการ และผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน รวมทั้ง มีกรรมการผูทรงคุณวุฒจํานวนหาคน
                                                                                    ิ
ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรแหงชาติ ี
แตงตั้งจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณที่เปนประโยชนตอการพัฒนาสตรี นอกจากนี้
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
อาจแตงตั้งที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ตามความเหมาะสมได
และใหผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
โดยตําแหนง
คุณสมบัติของกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
                   (๑) เปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
                     (๒) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู
หรือเปนผูมีชื่ออยูในทะเบียนบานหรืออาศัยอยูในหมูบานหรือชุมชนนั้นไมนอยกวาหกเดือน
                                                     
                     (๓) สมัครใจ มีเวลา มีความรับผิดชอบ
และพรอมที่จะเสียสละเพื่อสวนรวมในกิจกรรมของหมูบานหรือชุมชน
                     (๔) ไมเคยถูกใหออกจากคณะกรรมการกองทุน ดวยมติของคณะกรรมการหรือมติของสมาชิก
คุณสมบัติของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ
                     (๑) มีสัญชาติไทย
                     (๒)
ไมเคยตองคําพิพากษาถึงที่สุดวากระทําผิดอาญาในความผิดตามกฎหมายวาดวยการคุมครองผูถูกกระทําดวยความรุน
แรงในครอบครัว หรือตามกฎหมายอื่นที่มีผลกระทบตอสุขภาพและสวัสดิภาพของสตรี
                     (๓) ไมเปนบุคคลไรความสามารถหรือบุคคลเสมือนไรความสามารถ
                     (๔) ไมเปนบุคคลลมละลาย
                     (๕) ไมเคยถูกลงโทษไลออกหรือใหออกจากสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องคกรอิสระ
ตามรัฐธรรมนูญ
                     (๖) ไมเคยตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตไดพนโทษมาแลวไมนอยกวาสามป

                                                                                             /การคัดเลือก...

                                                    -๕-

  การคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน
      คณะกรรมการกองทุนฯ
             กรุงเทพมหานคร

             การคัดเลือกสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพม
หานคร ดําเนินการเมื่อศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ
ดําเนินการรับจดทะเบียนสมาชิกกองทุนในระดับชุมชนเรียบรอย และจัดทําทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ สงมอบให
สํานักคุมครองสวัสดิภาพชุมชน ของ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เพื่อดําเนินการประกาศรายชื่อสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ณ ศูนยคุมครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๑๒ เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือสามารถดูไดทางเว็บไซด
http://womenfund.thaigov.go.th ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๒.๐๐ น. เปนตนไป
และรับสมัครสมาชิกที่สนใจสมัครเขารับการคัดเลือกเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ณ
สถานสงเคราะหเด็กหญิงบานราชวิถี กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ในวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๐๐ น.
และตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครเปนกรรมการกองทุนฯ ตอจากนั้น กําหนดใหสมาชิกกองทุนฯ
ใชสิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง ในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ พื้นที่ที่กําหนดในกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้
กําหนดใหมีผูแทนของหนวยงานภาครัฐ ๗ กระทรวง ไดแก สํานักนายกรัฐมนตรี
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงแรงงาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ เขารวมเปนสักขีพยาน
โดยไมมีสิทธิในการออกเสียงหรือชักจูงใหมีการเลือกผูหนึ่งผูใดได
                  สวนภูมิภาค
การคัดเลือกสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
ดําเนินการเมื่อศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ
ดําเนินการรับจดทะเบียนสมาชิกกองทุนในระดับหมูบานเรียบรอย และจัดทําทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ สงมอบให
นายอําเภอทุกอําเภอ เพื่อประกาศรายนามสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ณ ที่ทําการคณะกรรมการหมูบาน
ทุกหมูบาน ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๕ หรือสามารถดูไดทางเว็บไซด http://womenfund.thaigov.go.th
เพื่อดําเนินการรวมกับคณะกรรมการหมูบานในทุกหมูบาน
ทําการจัดประชุมประชาคมเพื่อคัดเลือกกรรมการกองทุนระดับหมูบาน ๆ ละ ๑ คน
เขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ในวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ
ที่ทําการคณะกรรมการหมูบานทุกหมูบาน โดยผูที่ถูกเสนอชื่อใหเปนกรรมการ ตองมีความสมัครใจ
และตองเปนผูที่อยูใน ที่ประชุม ณ เวลานั้น

สวนการคัดเลือกสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
ในเขตพื้นที่ที่เปนเขตเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา
ใหดําเนินการเมื่อศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ
ดําเนินการรับจดทะเบียนสมาชิกกองทุนในระดับหมูบานเรียบรอย และจัดทําทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ สงมอบให
นายอําเภอทุกอําเภอ เพื่อประกาศรายนามสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ณ ที่ทําการของสํานักงานเทศบาลเมือง
เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ในวันที่ ๒ มีนาคม
                                                                                             /๒๕๕๕ ...
                                                  -๖-

๒๕๕๕ เวลา ๑๒.๐๐ น. เปนตนไป หรือสามารถดูไดทางเว็บไซด http://womenfund.thaigov.go.th
เพื่อดําเนินการรวมกับสํานักงานเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา
และรับสมัครสมาชิกที่สนใจสมัครเขารับการคัดเลือกเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในเขตเทศบาล
จํานวน ๑๐ คน ณ สํานักงานเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ในวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ เวลา
๐๘.๓๐ – ๑๕.๐๐ น. และตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครเปนกรรมการกองทุนฯ ตอจากนั้น
กําหนดใหสมาชิกกองทุนฯ ใชสิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง ในวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ สํานักงานเทศบาลเมือง
เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา โดยผูที่ถูกเสนอชื่อใหเปนกรรมการ ตองมีความสมัครใจ
และตองเปนผูที่อยูในที่ประชุม ณ เวลานั้น
                  สวนการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล รวมทั้งเขตเทศบาลเมือง
เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ขึ้นเปน คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด มอบใหนายอําเภอ
ดําเนินการจัดประชุมประชาคมเพื่อคัดเลือกกรรมการกองทุนในระดับอําเภอ ๆ ละ ๑ คน
จากคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล รวมทั้งเขตเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา
ในอําเภอนั้น เขาเปน คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด ในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ
พื้นที่ที่กําหนดในอําเภอ โดยผูที่ถูกเสนอชื่อใหเปนกรรมการ ตองมีความสมัครใจ และตองเปนผูที่อยูในที่ประชุม ณ
เวลานั้นดวย
                  ทั้งนี้ กําหนดใหมีผูแทนของหนวยงานภาครัฐ ๗ กระทรวง ที่ประจําอยูในจังหวัด ไดแก
                                  
สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ เขารวมเปนสักขีพยาน
โดยไมมีสิทธิในการออกเสียงหรือชักจูงใหมีการเลือกผูหนึ่งผูใดได
 การดํารงตําแหนงของคณะกรรมการกองทุนค
            ณะกรรมการกองทุนฯ
             ๑.                                             คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในแตละระดับ
ใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองปนับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง
                                                              กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได
แตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน                                        ในกรณีกรรมการพนจากตําแหนงกอนวาระ
ใหคณะกรรมการในระดับที่สูงกวาแตงตั้งกรรมการแทน
     
โดยใหมีวาระการดํารงตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการที่พนจากตําแหนง
                  เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง                                หากยังมิไดแตงตั้งกรรมการใหม
ใหกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระนั้นอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะไดแตงตั้งกรรมการ
ใหม ระยะเวลาไมเกิน ๓ เดือน
                 ๒.           การรับรองคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเปนรายบุคคล                 ในแตละระดับ
                          กําหนดใหมีการจัดประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณารับรองในทุกป
หากมีกรณีที่ไมไดรับการรับรองจากที่ประชุมในแตละป หรือลาออก หรือไมสามารถทํางานได หรือเสียชีวิต
ใหที่ประชุมพิจารณาเสนอชื่อ                                                 และเลือกคณะกรรมการใหมเพิ่มเติม
ตามจํานวนที่ขาดไป

                                                                                                   /๓. ผูที่ไดรับ...

                                                       -๗-

                  ๓. ผูที่ไดรับการคัดเลือก และแตงตั้งใหเปน คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในแตละระดับ
และผูที่ไดรับการแตงตั้งใหเปน คณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด มีขอกําหนด คือ ไมใหเปน
ผูขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ทั้งในนามบุคคลและองคกร จนกวาจะพนจากการดํารงตําแหนง
ในคณะกรรมการฯ กอน
                  ๔. กรรมการในคณะกรรมการทุกคณะ จะพนจากตําแหนงเมื่อ
                      (๑) ตาย
                     (๒) ลาออก
                     (๓) คณะกรรมการหรือสมาชิกมีมติใหออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย
บกพรองหรือไมสุจริตตอหนาที่ หรือหยอนความสามารถ
(๔)
ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ.๒๕๕๕

  การบริหารเงินกองทุนและงบประมาณในการบริหาร	
  
                  ๑. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                     (๑) บริหารกองทุน รวมทั้งตรวจสอบ กํากับ ดูแล
และจัดสรรรายไดหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุนในเขตทองที่ตําบล
                     (๒) จัดหาสถานที่ทํางานของบุคลากรและคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
                     (๓) จัดหาทุนหรือรายไดเขากองทุน
                     (๔) พิจารณาโครงการขององคกรสตรีที่ยื่นขอกูยืมเงิน หรือขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุน
ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
                     (๕) สํารวจและจัดทําขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนสมาชิก และองคกรสตรี ที่ขึ้นทะเบียน
รวมทั้งโครงการที่ไดยื่นคําขอกูยืมเงินจากกองทุนในเขตทองที่ตําบล เสนอตอคณะกรรมการกองทุนฯ จังหวัด
พิจารณาอนุมัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
รวมทั้งเพื่อรวบรวมรายงานตอคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะกรรมการประเมินผล
อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง
                     (๖) รายงานผลการดําเนินการ ปญหาและอุปสรรค ในเขตทองที่ตําบล เสนอตอคณะกรรมการ
กองทุนฯ จังหวัด อยางนอยปละหนึ่งครั้ง
                     (๗) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
                     โดยบริหารเงินในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตามกรอบนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด
                                                                                          /๒. คณะกรรมการ...
                                                       -๘-

                ๒. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                   (๑) บริหารกองทุน รวมทั้งตรวจสอบ กํากับ ดูแล
และจัดสรรรายไดหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุนในจังหวัด
                   (๒) จัดหาสถานที่ทํางานของบุคลากร และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
                   (๓) จัดหาทุนหรือรายไดเขากองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
                   (๔) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนใหคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
                   (๕) พิจารณาโครงการขององคกรสตรีที่ยื่นขอสนับสนุนเงินจากกองทุนในเขตพื้นที่จังหวัด
ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
                   (๖) จัดทําบัญชีของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด ตามหลักเกณฑ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
(๗) สํารวจและจัดทําขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนสมาชิกกองทุน และองคกรสตรี
ที่ขึ้นทะเบียน รวมทั้งโครงการที่ไดยื่นคําขอกูยืมเงินจากกองทุนในเขตทองที่จังหวัด
เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง
                      (๘) รายงานผลการดําเนินการ ปญหาและอุปสรรค
รวมทั้งฐานะการเงินของกองทุนในเขตทองที่จังหวัด
เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด อยางนอยปละหนึ่งครั้ง
                      (๙) ประสานและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
                      (๑๐) แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
                                                          ิ
และคณะทํางาน เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงานอยางหนึ่งอยางใดที่เกี่ยวของตามวัตถุประสงคของกองทุน
                      (๑๑) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และบริหารเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดับจังหวัด
เพื่อสนับสนุนโครงการตามที่ไดรับการเสนอจากองคกรตาง ๆ ที่เสนอโดยตรง ทั้งนี้
ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
และใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด
                  ๓. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                     (๑) บริหารกองทุน รวมทั้งตรวจสอบ กํากับ ดูแล
และจัดสรรรายไดหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุนฯ กรุงเทพมหานคร
                     (๒) จัดหาสถานที่ทํางานของบุคลากร
และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
                                                                                     /(๓) จัดหาทุน...

                                                   -๙-

                      (๓) จัดหาทุนหรือรายไดเขากองทุนพัฒนาบทบาทสตรกรุงเทพมหานคร
                                                                         ี
                      (๔) พิจารณาโครงการขององคกรสตรีที่ยื่นขอสนับสนุนเงินจากกองทุน ตามหลักเกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
                       (๕) จัดทําบัญชีของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ตามหลักเกณฑ และเงื่อนไข
ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
                      (๖) สํารวจและจัดทําขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนสมาชิกกองทุน และองคกรสตรี
ที่ขึ้นทะเบียน รวมทั้งโครงการที่ไดยื่นคําขอกูยืมเงินจากกองทุนในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร
เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด (ในกรณีของกรุงเทพมหานคร ตามระเบียบฯ ขอ
๒๔ (๕) มอบใหคณะกรรมการประเมินผล ทําหนาที่) อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง
                      (๗) รายงานผลการดําเนินการ ปญหาและอุปสรรค
รวมทั้งฐานะการเงินของกองทุนในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร
เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด (ในกรณีของกรุงเทพมหานคร ตามระเบียบฯ ขอ
๒๔ (๕) มอบใหคณะกรรมการประเมินผล ทําหนาที่) อยางนอยปละหนึ่งครั้ง
                      (๘) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
และบริหารเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในสวนของกรุงเทพมหานคร
เพื่อสนับสนุนโครงการตามที่ไดรับการเสนอจากองคกรตาง ๆ ที่เสนอโดยตรง ทั้งนี้
ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
และใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด
                  ๔. คณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                     (๑) เสนอแผนการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานในจังหวัดตอคณะกรรมการประเมินผล
                     (๒) กํากับ ดูแล
และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
                     (๓) รายงานผลการดําเนินงาน ปญหา อุปสรรค
รวมทั้งรายงานงบการเงินของกองทุนของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดและคณะกรรมการพัฒนาบ
ทบาทสตรีตําบล เสนอตอคณะกรรมการประเมินผล อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง
                     (๔) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามระเบียบ ประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย

โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตร
ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด

                                                                                     /๕. คณะกรรมการ...

                                                 -๑๐-

                  ๕. คณะกรรมการบริหารกองทุน
เปนคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นภายใตคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ จํานวนไมเกินสิบคน
มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                      (๑) เสนอความเห็นตอคณะกรรมการในการพิจารณาแผนการบริหารและการจัดการกองทุน
                      (๒) ใหการสนับสนุน และขอเสนอแนะแกคณะกรรมการเกี่ยวกับดานนโยบาย ประกาศ
ขอกําหนด หรือหลักเกณฑการดําเนินการกองทุน
                      (๓) บริหารงานกองทุน และพิจารณาอนุมัติการจายเงินเพื่อสนับสนุนกองทุนในระดับตาง ๆ
รวมถึงรายงานสถานะการเงินและบริหารกองทุนตอคณะกรรมการ
                      (๔) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
                      โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการบริหารกองทุน
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุน
พัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด
๖. คณะกรรมการประเมินผล
เปนคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นภายใตคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ จํานวนไมเกินสิบคน
มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                      (๑) เสนอความเห็นตอคณะกรรมการในการพิจารณาแผนการติดตามและประเมินผล
                      (๒) ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานของกองทุน
                      (๓)
รายงานผลการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
คณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด พรอมทั้งขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ
                      (๔)
เรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของกับกองทุนจากหนวยงานใดหรือบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจง
เพื่อประกอบการพิจารณาตรวจสอบและประเมินผล
                      (๕) กํากับ ดูแล
และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
รวมทั้งติดตามการใชจายเงินกองทุนในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร
                      (๖) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามระเบียบ ประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
                      (๗) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
                      โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการประเมินผล
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุน
พัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด
                  ๗. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
                      (๑) กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ แผนงาน
และแนวทางในการบริหารกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน
                                                                                             /(๒) จัดหาเงิน...

                                                    -๑๑-

                      (๒) จัดหาเงินทุนของกองทุน
และกําหนดแนวทางการจัดสรรเงินใหแกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
เพื่อใชจายใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน
                     (๓) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงกฎหมาย หรือกฎ ระเบียบ ตอคณะรัฐมนตรี เพื่อใหเปนไป
ตามวัตถุประสงคของกองทุน
                     (๔) รายงานผลเกี่ยวกับการใชจาย การบริหารกองทุน การดําเนินงาน
และรายงานการเงินกองทุนตอคณะรัฐมนตรี อยางนอยปละหนึ่งครั้ง
                     (๕) ออกระเบียบที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน
                     (๖) แตงตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะกรรมการประเมินผล
และคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด
(๗) แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิหรือที่ปรึกษาในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร
                  (๘)
พิจารณาอนุมัติโครงการที่อยูนอกเหนืออํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
คณะกรรมการพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด และคณะกรรมการพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้
โครงการดังกลาวตองอยูภายในวัตถุประสงคของกองทุน
                   (๙) วินิจฉัยชี้ขาดปญหาที่เกิดจากการปฏิบัติตามระเบียบนี้ คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหถือ
เปนที่สุด
                   (๑๐) แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบัติงานอยางหนึ่งอยางใดที่เกี่ยวของ
ตามวัตถุประสงคของกองทุน
                   (๑๑) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย

โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ
เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อกํากับการทํางาน
และติดตาม/ตรวจสอบการใชเงินใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่กําหนด
และบริหารเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในสวนที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ
เพื่อสนับสนุนโครงการตามที่ไดรับการเสนอจากองคกรตาง ๆ ที่เสนอโดยตรง ทั้งนี้
ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมี สํานักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ
ทําหนาที่เปนฝายเลขานุการคณะกรรมการ
                  ๘. สํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ
                     ใหสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ
อยูในสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักนายกรัฐมนตรี โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
                      (1) ทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
                                                                                   /(๒) ปฏิบัติงาน...

                                                   -๑๒-

                         (2) ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะกรรมการ
ประเมินผล ตลอดจนที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน
                         (3) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุน
                         (4) เปนศูนยกลางเผยแพรและประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงการจัดตั้งกองทุน นโยบาย
และแนวทางการดําเนินงานกองทุน
                         (5) ดําเนินการและประสานงานกับสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองคกรตาง ๆ
ที่เกี่ยวของ เพื่อเตรียมความพรอมในการจัดตั้งกองทุนและบริหารกองทุน
                        (6) จัดใหมีหรือสนับสนุนใหมีการประชุมชี้แจง
และฝกอบรมบุคลากรที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานกองทุน
                        (7) รวบรวมและจัดทําทะเบียนกลางเกี่ยวกับสมาชิกและโครงการที่ไดรับการสนับสนุนจากกองทุน
ในทุกจังหวัด เพื่อรายงานตอคณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรี
                         (8) ปฏิบัติหนาที่อื่นที่กรรมการมอบหมาย
 
	
         การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุน
	
  
	
  
                    สมาชิก และองคกรสตรีที่ขึ้นทะเบียนแลว และประสงคจะขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากกองทุน
พัฒนาบทบาทสตรี ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้
                    (๑) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู หรือสถานที่ทํางาน หรือสํานักงานใหญตั้งอยูในทองที่ที่จะยื่นคําขอ
ไมนอยกวาหกเดือน
                    (๒) มีบุคลากร หรืออาสาสมัครในการปฏิบัติงานประจํา
หรือมีที่ปรึกษาที่มีความรูเกี่ยวกับการชวยเหลือ คุมครองและพิทักษสิทธิสตรี
                   (๓) ดําเนินงานและมีผลงานเกี่ยวกับการทํางานหรือฝกอาชีพ การพัฒนา การชวยเหลือ
คุมครองและพิทักษสิทธิสตรี หรือมีผลงานที่เปนประโยชนตอสังคมหรือชุมชนที่เกี่ยวของกับสตรี
                   (๔) ไมดําเนินกิจการที่อาจกอใหเกิดความวุนวายหรือขัดตอความสงบเรียบรอยของประชาชน
                   สําหรับลักษณะโครงการที่จะไดรับการพิจารณา ตองเปนไปตามหลักเกณฑ ดังตอไปนี้
                   (๑) โครงการที่เปนการกูยืมเงิน จะตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายในการใชเงินอยางชัดเจน
ซึ่งมีผลตอการทํางานการพัฒนาอาชีพ การสรางงาน หรือการสรางรายไดเปนสําคัญ
                   (๒) โครงการที่สงเสริมการมีสวนรวมของสตรี องคกรสตรี หรือชุมชนในการพัฒนาศักยภาพสตรี
และเครือขายสตรี การเฝาระวังและดูแลปญหาของสตรี การชวยเหลือเยียวยาสตรีที่ประสบปญหาในทุกรูปแบบ
การคุมครองและพิทักษสิทธิสตรี ตลอดจนการรณรงคใหสังคมเขาใจปญหาสตรีในทุกมิติ

                                                                                                         /(๓) โครงการ...
                                                          -๑๓-

                   (๓)
โครงการที่สงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทและแกไขปญหาสตรีขององคกรตาง ๆ
การสรางภาวะผูนํา การพัฒนาองคความรู คุณภาพชีวิต การสรางสวัสดิภาพ หรือสวัสดิการใหแกสตรี
รวมทั้งเสริมสรางความเขมแข็งทางดานเศรษฐกิจและสังคมของสตรี
                   (๔) โครงการที่ขอรับการสนับสนุนตองไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการหรือ
แหลงทุนอื่น ๆ เวนแตกรณีไดรับแตไมเพียงพอ
                   การขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ใหผูมีอํานาจทําการแทนองคกรสตรี
หรือผูซึ่งไดรับมอบฉันทะจากองคกรสตรี ยื่นคําขอพรอมดวยเอกสารหลักฐาน
ตามแบบที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด โดย องคกรสตรีที่ตั้งอยูในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร
ใหยื่นคําขอตอคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร สวนองคกรสตรี ที่ตั้งอยูในพื้นที่จังหวัดอื่น
(นอกเหนือจากกรุงเทพมหานคร) ใหยื่น คําขอตอคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
หรือคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทตําบล แลวแตกรณี
                   ทั้งนี้ องคกรสตรีที่ไดรับเงินอุดหนุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตองดําเนินงานใหเปนไปตามแผนงาน โครงการที่ไดยื่นขอรับเงินอุดหนุน และจะนําเงินที่ไดรับจากกองทุนฯ
ไปใชจายในกิจกรรมนอกเหนือจากแผนงาน โครงการ หรือจะไปดําเนินงานนอกเขตพื้นที่ที่ตั้งขององคกรสตรีนั้นมิได
           การรายงานผลการใชจายเงินกองทุน
เมื่อองคกรสตรีดําเนินงานตามแผนงานโครงการเสร็จแลว หากมีเงินที่ไดรับการสนับสนุนเหลืออยู
ใหคืนเงินนั้นภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่โครงการแลวเสร็จหรือจะขอแกไขเพิ่มเติมแผนงานโครงการเพื่อดําเนินงานตามจํานวนเงินที่เหลืออยูนั้นก็ไ
ด เวนแตโครงการที่เปนการกูยืม ใหคืนเงินตน ตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขตามที่คณะกรรมการกําหนด
                  รวมทั้ง ใหองคกรสตรีรายงานผลการปฏิบัติงาน
และรายงานการใชจายเงินที่ไดรับอุดหนุนจากกองทุนฯ ตามแบบที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
ภายในสามสิบวัน นับแตวันสิ้นเดือนมีนาคม และวันสิ้นเดือนกันยายนของทุกป เวนแตแผนงานโครงการ
มีระยะเวลาดําเนินการไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน ใหรายงานภายในสามสิบวัน นับแตวันเสร็จสิ้นแผนงาน
โดยใหรายงานตอคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด
คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล
แลวแตกรณี โดยจัดสงรายงานดวยตนเอง หรือสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับก็ได
                          	
  
                                                          ------------------------------------



                                                                        -๑๔-

       แผนภูมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 	
  
             ิ
	
  	
  	
  	
  
                                        	
  
	
  

	
  
                                               คณะกรรมการ
	
                                    กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ
	
  

	
                 คณะกรรมการบริหารกองทุน                             คณะกรรมการประเมินผล
	
                                                                                                           คณะกรรมการ
                                                                                                         ติดตามและสนับสนุนก
	
  
                                                                                                         ารดําเนินงานกองทุนพั
	
                                                                                                       ฒนาบทบาทสตรระดับจั
                                                                                                                       ี
                คณะกรรมการ                         คณะกรรมการ                        คณะกรรมการ                 งหวัด
	
                                                                                กองทุนฯ ระดับจังหวัด
              กองทุนฯ ระดับตําบล                กองทุนฯ ระดับจังหวัด
	
  
                   เงินทุนหมุนเวียน            เงินสงเสริมการจัดกิจกรรม             เงินพัฒนาศักยภาพ      กํากับติดตามและสนับ
	
                                                   และแกไขปญหา                       และเครือขาย               สนุน
                                                                                                               การดําเนินงาน
	
  
                                                                                                              ในแตละจังหวัด
                    สมาชิกสมทบ                     เงินงบประมาณ                  เงินงบประมาณแผนดิน
                    ดวยการออม                      จากภาษีพิเศษ                        ประจําป
 

    	
  

    	
  

    	
                ติดตามแกไขปญหา
    	
  
สํานักงานกองทุน
     	
  
พัฒนาบทบาทสตรี    สงเสริมสนับสนุนการดําเนินการพัฒนา
     แหงชาติ
     	
  

    	
  

    	
                 เผยแพรประชาสัมพันธ



                                      -๑๕-
(สําเนา)
-๑๖-
-๑๗-
-๑๘-

สวนราชการที่รวมขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี


                สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

                สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
                สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
                กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ

                สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
                กรมการปกครอง
                กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น
                กรมการพัฒนาชุมชน


                             สํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


   สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน



                 สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ


                 สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

More Related Content

Similar to คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนการแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนnongruk
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุpyopyo
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์nachol_fsct
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนDinhin Rakpong-Asoke
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวPornpan Larbsib
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมPoramate Minsiri
 

Similar to คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (20)

88
8888
88
 
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนการแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
 
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
 
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
 
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
Basic concept and fundamental principal for safe and creative media fund prov...
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
 
แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์แนวทางการบริหารสหกรณ์
แนวทางการบริหารสหกรณ์
 
พัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชนพัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชน
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
Report
ReportReport
Report
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยวงานธุรกิจการท่องเที่ยว
งานธุรกิจการท่องเที่ยว
 
ธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยวธุรกิจการท่องเที่ยว
ธุรกิจการท่องเที่ยว
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
 

More from FishFly

ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53FishFly
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554FishFly
 
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์FishFly
 
Burma Thai relations
Burma   Thai relationsBurma   Thai relations
Burma Thai relationsFishFly
 
Siu new enviroment of economy and business (1)
Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)
Siu new enviroment of economy and business (1)FishFly
 
Trade and development report 2011
Trade and development report 2011Trade and development report 2011
Trade and development report 2011FishFly
 
Howard Schultz
Howard SchultzHoward Schultz
Howard SchultzFishFly
 
System theory
System theorySystem theory
System theoryFishFly
 

More from FishFly (8)

ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
ข้อเท็จจริงการเสียชีวิตและความรุนแรง พฤษภา 53
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553  กรกฏาคม 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ คอป กรกฏาคม 2553 กรกฏาคม 2554
 
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
ศูนย์วิจัย ม.กรุงเทพ โพลสำรวจประเมินผลงานรัฐบาลยิ่งลักษณ์
 
Burma Thai relations
Burma   Thai relationsBurma   Thai relations
Burma Thai relations
 
Siu new enviroment of economy and business (1)
Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)Siu new  enviroment  of  economy   and business (1)
Siu new enviroment of economy and business (1)
 
Trade and development report 2011
Trade and development report 2011Trade and development report 2011
Trade and development report 2011
 
Howard Schultz
Howard SchultzHoward Schultz
Howard Schultz
 
System theory
System theorySystem theory
System theory
 

คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

  • 1. คูมือ การดําเนินงาน กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี คํานํา
  • 2. “กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี” เปนนโยบายที่สําคัญของรัฐบาล โดยกําหนดเปนวาระเรงดวน ที่จะดําเนินการในป ๒๕๕๕ สําหรับเปนแหลงเงินทุนหมุนเวียนแบบดอกเบี้ยต่ําหรือปลอดดอกเบี้ย ในการพัฒนาอาชีพ สรางงาน สรางรายได เพื่อการพัฒนาไปสูการสรางสวัสดิภาพ และสวัสดิการใหแกสตรี รวมถึงการพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือขายสตรี การพัฒนาบทบาทสตรี การสรางภาวะผูนํา และการคุมครองและพิทักษสิทธิ ทั้งนี้ รัฐบาลมุงเนนที่จะทํางานรวมกับองคกรสตรีตั้งแตระดับทองถิ่นจนถึงระดับประเทศ เพื่อใหโอกาสสตรีในทุกพื้นที่ ทุกชุมชน ไดมีสวนรวมในการรวมคิด รวมทํา รวมพัฒนา เพื่อสตรีทุกคน โดยความรวมมือของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรสตรีตาง ๆ ในการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อใหสตรีไทยไดใชประโยชนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในการมีสวนรวมสรางสรรคพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในชั้นนี้ นายกรัฐมนตรี ไดแตงตั้ง คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมี รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี (นางนลินี ทวีสิน) เปนประธานกรรมการ สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหนาที่ดานอํานวยการ และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการฯ ดังกลาว รวมกับหนวยงานในสังกัดของกระทรวงตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงแรงงาน และกระทรวงศึกษาธิการ เขามามีสวนรวมดําเนินการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเกิดประสิทธิภาพ และเปนประโยชนแกสตรี ทุกกลุมเปาหมาย สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จึงไดจัดทํา “คูมือการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี” เลมนี้ขึ้น โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อเปนคูมือสําหรับการดําเนินการ ในเบื้องตน ประกอบดวย นโยบาย วิสัยทัศน วัตถุประสงค คุณสมบัติของสมาชิกกองทุน และการรายงานผลการดําเนินการ ทั้งนี้ หวังเปนอยางยิ่งวาจะเกิดประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของไดใชประโยชนตอไป สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กุมภาพันธ ๒๕๕๕ สารบัญ หนา คํานํา
  • 3. คูมือการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี นโยบาย ๑ วิสัยทัศน ๑ วัตถุประสงค ๑ การจัดสรรเงินกองทุน ๒ สมาชิกกองทุน ๒ การลงทะเบียนสมาชิกกองทุน ๒ องคประกอบของคณะกรรมการกองทุน ๓ การคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน ๕ การดํารงตําแหนงของคณะกรรมการกองทุน ๖ การบริหารเงินกองทุนและงบประมาณในการบริหาร           ๗ การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุน ๑๒ การรายงานผลการใชจายเงินกองทุน ๑๓ แผนภูมิการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี           ๑๔ คําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๔๐/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ๑๕ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สวนราชการที่รวมขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ๑๘   คูมือ การดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ------------------ นโยบาย จากปญหาที่เกิดขึ้นตอสตรีในวันนี้ ไมวาจะเปนปญหาการถูกกระทําความรุนแรงในครอบครัว การขาดโอกาสในสังคม ปญหาการถูกเลือกปฏิบัติ และที่สําคัญโอกาสในการดึงศักยภาพของสตรีมีนอย จึงตองสงเสริมและพัฒนาอีกมาก ดังนั้น “กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี” จึงถูกจัดเปนนโยบายของรัฐบาล โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับและเสริมศักยภาพสตรีในทุกมิติ เพื่อสรางสังคมเสมอภาค สรางสรรค และสันติสุข โดยนําศักยภาพและความแตกตางระหวางหญิงชาย ซึ่งนับวาเปนพลังสังคมอยางหนึ่ง ที่ยังไมไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบ ใหมีการนํามาใชอยางสรางสรรค รวมทั้ง
  • 4. เพื่อพัฒนาและขยายศักยภาพบทบาทสตรีใหเปนพลังทางสังคมที่เขมแข็ง สามารถชวยนําพาและรวมสรางสังคมไปสูความเสมอภาค อยางสรางสรรค และมีสันติสุขอยางเคียงบาเคียงไหลกับผูชาย สําหรับการดําเนินงานดังกลาว รัฐบาลจะทํางานรวมกับองคกรสตรี ตั้งแตระดับทองถิ่นจนถึงระดับประเทศ เพื่อใหโอกาสสตรีในทุกพื้นที่ ทุกชุมชน ไดมีสวนรวมในการรวมคิด รวมทํา  รวมพัฒนา เพื่อสตรีทุกคน โดยความรวมมือของหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกรสตรีตาง ๆ ในการขับเคลื่อนกองทุน เพื่อใหสตรีทุกคนไดใชประโยชนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในการมีสวนรวมสรางสรรคพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ วิสัยทัศน “สรางสรรคพลังสตรี ใหเปนพลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ” วัตถุประสงค (๑) เปนแหลงเงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ําหรือปลอดดอกเบี้ย ในการสรางโอกาสใหสตรีเขาถึง แหลงทุนสําหรับการลงทุน เพื่อพัฒนาอาชีพ สรางงาน สรางรายได หรือสําหรับการสงเสริมและพัฒนาไปสูการสรางสวัสดิภาพ หรือสวัสดิการใหแกสตรี (๒) เปนแหลงเงินทุนเพื่อการพัฒนาศักยภาพสตรีและเครือขายสตรี การเฝาระวังและดูแลปญหา ของสตรี ตลอดจนการชวยเหลือเยียวยาสตรีที่ประสบปญหาในทุกรูปแบบ การรณรงคใหสังคมเขาใจปญหาสตรี ในทุกมิติ และการคุมครองและพิทักษสิทธิสตรี (๓) เปนแหลงเงินทุนเพื่อการสงเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทสตรี และแกไขปญหาสตรีขององคกรตาง ๆ การสรางภาวะผูนํา การพัฒนาองคความรู คุณภาพชีวิต รวมทั้งเสริมสรางความเขมแข็งทางดานเศรษฐกิจและสังคมของสตรี (๔) เปนแหลงเงินทุนเพื่อการสนับสนุนโครงการอื่น ๆ ที่เปนการแกไขปญหาและพัฒนาสตรี ตามที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติพิจารณาเห็นสมควร /การจัดสรร... -๒- การจัดสรรเงินกองทุน คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ จะไดพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนนี้ ใหกับ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด โดยเฉลี่ยจังหวัดละ ๑๐๐ ลานบาท เพื่อดําเนินการตามวัตถุประสงค และหลักเกณฑตามที่กําหนด สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จะตองเปนสตรี หรือองคกรสตรีที่มีการดําเนินงานและมีผลงานเกี่ยวกับการพัฒนา การคุมครองชวยเหลือสตรี ซึ่งคุณสมบัติของสมาชิกกองทุน มี ๒ ประเภท ดังนี้
  • 5. (๑) สมาชิกประเภทบุคคลธรรมดา ที่เปนสตรีผูมีสัญชาติไทย และมีอายุตั้งแตสิบหาปบริบูรณขึ้นไป และมีภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยู หรือเปนผูมีชื่ออยูในทะเบียนบานหรืออาศัยอยูในหมูบานหรือชุมชนนั้น ไมนอยกวา หกเดือน (๒) สมาชิกประเภทองคกรสตรี ที่เปนองคกรสตรี มีความรับผิดชอบ เสียสละ มีสวนรวมในการ ทําประโยชนแกสังคม และมีที่ตั้งอยูในทองที่ตําบล หรือจังหวัดที่ขอขึ้นทะเบียน การลงทะเบียนสมาชิกกองทุน การรับลงทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ภายหลังจากนายกรัฐมนตรีประชุมชี้แจงนโยบายและแนวทางการดําเนินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ จะเริ่มเปดการรับลงทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกวัน โดยไมมีการปดรับสมัครเปนสมาชิกกองทุนฯ สําหรับในชวงแรกที่จะตองมีการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีฯ เพื่อใหการจัดตั้งกองทุนพัฒนาบทบาทสตรเปนไปดวยความเรียบรอย ี จึงไดมีการกําหนดระยะเวลาในการลงทะเบียนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ดังนี้ ในชวงแรกของการลงทะเบียนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อดําเนินการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบาบาทสตรีระดับตําบล จังหวัด และกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี กําหนดใหมีการรับลงทะเบียนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกจังหวัดในทั่วประเทศ ตั้งแตวันที่ ๑๘ – ๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. โดยกําหนดรูปแบบการดําเนินการ ดังนี้ กรุงเทพมหานคร ใหสตรีที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในกรอบของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี แสดงบัตรประจําตัวประชาชน  หรือสําเนาทะเบียนบาน ที่มีชื่อ – สกุล ปรากฏอยูชัดเจน และยื่นคําขอจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนฯ ณ สํานักงาน กศน. เขต ใน ๕๐ เขต กรุงเทพมหานคร โดย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการตามขอกําหนดของคณะอนุกรรมการดําเนินการเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดั บตําบลและจังหวัด /สวนภูมิภาค... -๓- สวนภูมิภาค ใหสตรีที่มีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในกรอบของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี  แสดงบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาทะเบียนบาน ที่มีชื่อ – สกุล ปรากฏอยูชัดเจน และยื่นคําขอจดทะเบียนเปน สมาชิกกองทุนฯ ณ กศน.ตําบล /กศน.อําเภอ โดย สํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการตามขอกําหนดของคณะอนุกรรมการดําเนินการเพื่อจัดตั้งคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดั บตําบลและระดับจังหวัด สําหรับกรณีขององคกรสตรีที่มีการจดทะเบียนไวตามกฎหมายอื่น ใหผูมีอํานาจทําการแทนองคกรหรือผูซึ่งไดรับมอบฉันทะจากองคกร แสดงหนังสือการมอบอํานาจ และแสดงบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาทะเบียนบาน ที่มี ชื่อ – สกุล ปรากฏอยู
  • 6. เพื่อยื่นคําขอจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนฯ ณ สํานักงาน กศน. เขต ใน ๕๐ เขต กรุงเทพมหานคร และ กศน.ตําบล /กศน.อําเภอ ในสวนภูมิภาค ในชวงภายหลังจากการดําเนินการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับตําบล จังหวัด และกรุงเทพมหานครแลว สตรี หรือองคกรสตรีที่ยังไมไดจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนฯ และสนใจสมัคร สามารถติดตอจดทะเบียนเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบาบาทสตรี ไดโดยตรง ณ ที่ทําการของสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด หรือสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร หรือสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ หรือสมัครผานระบบออนไลนบนเว็บไซตกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่ http://womenfund.thaigov.go.th องคประกอบของคณะกรรมการกองทุนค ณะกรรมการกองทุนฯ นพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ๑. คณะกรรมการกองทุ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ประกอบดวย ผูแทนสมาชิกกองทุนฯ ในแตละหมูบานหรือชุมชน เลือกกันเองหมูบานหรือชุมชนละหนึ่งคน เปนกรรมการ โดยจํานวนของคณะกรรมการฯ ตําบล ขึ้นอยูกับจํานวนหมูบานในตําบลนั้น ซึ่งแตละตําบลอาจมีจํานวนคณะกรรมการไมเทากัน และใหเลือกกันเอง  เปนประธานกรรมการ รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง คนที่สอง รวมทั้งเลือกกันเอง เปนกรรมการและเลขานุการ และผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน ทั้งนี้ จะมีกรรมการผูทรงคุณวุฒอีกจํานวนหาคน ิ ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดแตงตั้งขึ้นจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณที่เปนปร ะโยชนตอการพัฒนาสตรี นอกจากนี้ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด อาจแตงตั้งที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ตามความเหมาะสมได ๒. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด ประกอบดวย คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบลในแตละอําเภอ เลือกกันเองใหเหลืออําเภอละหนึ่งคน เปนกรรมการ โดยจํานวนของคณะกรรมการฯ จังหวัด ขึ้นอยูกับจํานวนอําเภอในจังหวัดนั้น ซึ่งแตละจังหวัดอาจมีจํานวนคณะกรรมการไมเทากัน และใหเลือกกันเอง เปนประธานกรรมการ  รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง คนที่สอง รวมทั้งเลือกกันเอง เปนกรรมการและเลขานุการ /และ... -๔- และผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน ทั้งนี้ จะมีกรรมการผูทรงคุณวุฒอีกจํานวนหาคน ิ ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติแตงตั้งขึ้นจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณที่เปน ประโยชนตอการพัฒนาสตรี นอกจากนี้ ใหผูวาราชการจังหวัด นายกองคการบริหารสวนจังหวัด เปนที่ปรึกษาของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด โดยตําแหนง ๓. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ประกอบดวย ผูแทนสมาชิกกองทุนในกรุงเทพมหานคร สมัครเขาเปนกรรมการกองทุน และเลือกตั้งกันใหเหลือจํานวนสิบสองคน เปนกรรมการ ตอจากนั้น เลือกกันเอง เปนประธานกรรมการ รองประธานกรรมการคนที่หนึ่ง คนที่สอง กรรมการและเลขานุการ และผูชวยเลขานุการไมเกินสองคน รวมทั้ง มีกรรมการผูทรงคุณวุฒจํานวนหาคน ิ ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรแหงชาติ ี
  • 7. แตงตั้งจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญและมีประสบการณที่เปนประโยชนตอการพัฒนาสตรี นอกจากนี้ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร อาจแตงตั้งที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ตามความเหมาะสมได และใหผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนที่ปรึกษาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร โดยตําแหนง คุณสมบัติของกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (๑) เปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (๒) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู หรือเปนผูมีชื่ออยูในทะเบียนบานหรืออาศัยอยูในหมูบานหรือชุมชนนั้นไมนอยกวาหกเดือน  (๓) สมัครใจ มีเวลา มีความรับผิดชอบ และพรอมที่จะเสียสละเพื่อสวนรวมในกิจกรรมของหมูบานหรือชุมชน (๔) ไมเคยถูกใหออกจากคณะกรรมการกองทุน ดวยมติของคณะกรรมการหรือมติของสมาชิก คุณสมบัติของกรรมการผูทรงคุณวุฒิ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) ไมเคยตองคําพิพากษาถึงที่สุดวากระทําผิดอาญาในความผิดตามกฎหมายวาดวยการคุมครองผูถูกกระทําดวยความรุน แรงในครอบครัว หรือตามกฎหมายอื่นที่มีผลกระทบตอสุขภาพและสวัสดิภาพของสตรี (๓) ไมเปนบุคคลไรความสามารถหรือบุคคลเสมือนไรความสามารถ (๔) ไมเปนบุคคลลมละลาย (๕) ไมเคยถูกลงโทษไลออกหรือใหออกจากสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ องคกรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ (๖) ไมเคยตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตไดพนโทษมาแลวไมนอยกวาสามป /การคัดเลือก... -๕- การคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน คณะกรรมการกองทุนฯ กรุงเทพมหานคร การคัดเลือกสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพม หานคร ดําเนินการเมื่อศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการรับจดทะเบียนสมาชิกกองทุนในระดับชุมชนเรียบรอย และจัดทําทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ สงมอบให สํานักคุมครองสวัสดิภาพชุมชน ของ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เพื่อดําเนินการประกาศรายชื่อสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ณ ศูนยคุมครองสวัสดิภาพชุมชนเขต ๑๒ เขต ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือสามารถดูไดทางเว็บไซด http://womenfund.thaigov.go.th ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๒.๐๐ น. เปนตนไป และรับสมัครสมาชิกที่สนใจสมัครเขารับการคัดเลือกเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ณ
  • 8. สถานสงเคราะหเด็กหญิงบานราชวิถี กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ในวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๐๐ น. และตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครเปนกรรมการกองทุนฯ ตอจากนั้น กําหนดใหสมาชิกกองทุนฯ ใชสิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง ในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ พื้นที่ที่กําหนดในกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ กําหนดใหมีผูแทนของหนวยงานภาครัฐ ๗ กระทรวง ไดแก สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ เขารวมเปนสักขีพยาน โดยไมมีสิทธิในการออกเสียงหรือชักจูงใหมีการเลือกผูหนึ่งผูใดได สวนภูมิภาค การคัดเลือกสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ดําเนินการเมื่อศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการรับจดทะเบียนสมาชิกกองทุนในระดับหมูบานเรียบรอย และจัดทําทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ สงมอบให นายอําเภอทุกอําเภอ เพื่อประกาศรายนามสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ณ ที่ทําการคณะกรรมการหมูบาน ทุกหมูบาน ในวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๕ หรือสามารถดูไดทางเว็บไซด http://womenfund.thaigov.go.th เพื่อดําเนินการรวมกับคณะกรรมการหมูบานในทุกหมูบาน ทําการจัดประชุมประชาคมเพื่อคัดเลือกกรรมการกองทุนระดับหมูบาน ๆ ละ ๑ คน เขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ในวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ ที่ทําการคณะกรรมการหมูบานทุกหมูบาน โดยผูที่ถูกเสนอชื่อใหเปนกรรมการ ตองมีความสมัครใจ และตองเปนผูที่อยูใน ที่ประชุม ณ เวลานั้น สวนการคัดเลือกสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเขาเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ในเขตพื้นที่ที่เปนเขตเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ใหดําเนินการเมื่อศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการรับจดทะเบียนสมาชิกกองทุนในระดับหมูบานเรียบรอย และจัดทําทะเบียนสมาชิกกองทุนฯ สงมอบให นายอําเภอทุกอําเภอ เพื่อประกาศรายนามสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ณ ที่ทําการของสํานักงานเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ในวันที่ ๒ มีนาคม /๒๕๕๕ ... -๖- ๒๕๕๕ เวลา ๑๒.๐๐ น. เปนตนไป หรือสามารถดูไดทางเว็บไซด http://womenfund.thaigov.go.th เพื่อดําเนินการรวมกับสํานักงานเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา และรับสมัครสมาชิกที่สนใจสมัครเขารับการคัดเลือกเปนคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในเขตเทศบาล จํานวน ๑๐ คน ณ สํานักงานเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ในวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๐๐ น. และตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัครเปนกรรมการกองทุนฯ ตอจากนั้น กําหนดใหสมาชิกกองทุนฯ ใชสิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง ในวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ สํานักงานเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา โดยผูที่ถูกเสนอชื่อใหเปนกรรมการ ตองมีความสมัครใจ และตองเปนผูที่อยูในที่ประชุม ณ เวลานั้น สวนการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล รวมทั้งเขตเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ขึ้นเปน คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด มอบใหนายอําเภอ
  • 9. ดําเนินการจัดประชุมประชาคมเพื่อคัดเลือกกรรมการกองทุนในระดับอําเภอ ๆ ละ ๑ คน จากคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล รวมทั้งเขตเทศบาลเมือง เทศบาลนคร และเทศบาลเมืองพัทยา ในอําเภอนั้น เขาเปน คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด ในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ พื้นที่ที่กําหนดในอําเภอ โดยผูที่ถูกเสนอชื่อใหเปนกรรมการ ตองมีความสมัครใจ และตองเปนผูที่อยูในที่ประชุม ณ เวลานั้นดวย ทั้งนี้ กําหนดใหมีผูแทนของหนวยงานภาครัฐ ๗ กระทรวง ที่ประจําอยูในจังหวัด ไดแก  สํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน และกระทรวงเกษตรและสหกรณ เขารวมเปนสักขีพยาน โดยไมมีสิทธิในการออกเสียงหรือชักจูงใหมีการเลือกผูหนึ่งผูใดได การดํารงตําแหนงของคณะกรรมการกองทุนค ณะกรรมการกองทุนฯ ๑. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในแตละระดับ ใหมีวาระอยูในตําแหนงคราวละสองปนับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง  กรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับแตงตั้งอีกได แตตองไมเกินสองวาระติดตอกัน ในกรณีกรรมการพนจากตําแหนงกอนวาระ ใหคณะกรรมการในระดับที่สูงกวาแตงตั้งกรรมการแทน  โดยใหมีวาระการดํารงตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการที่พนจากตําแหนง เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดแตงตั้งกรรมการใหม ใหกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระนั้นอยูในตําแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอนจนกวาจะไดแตงตั้งกรรมการ ใหม ระยะเวลาไมเกิน ๓ เดือน ๒. การรับรองคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเปนรายบุคคล ในแตละระดับ กําหนดใหมีการจัดประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณารับรองในทุกป หากมีกรณีที่ไมไดรับการรับรองจากที่ประชุมในแตละป หรือลาออก หรือไมสามารถทํางานได หรือเสียชีวิต ใหที่ประชุมพิจารณาเสนอชื่อ และเลือกคณะกรรมการใหมเพิ่มเติม ตามจํานวนที่ขาดไป /๓. ผูที่ไดรับ... -๗- ๓. ผูที่ไดรับการคัดเลือก และแตงตั้งใหเปน คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในแตละระดับ และผูที่ไดรับการแตงตั้งใหเปน คณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด มีขอกําหนด คือ ไมใหเปน ผูขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ทั้งในนามบุคคลและองคกร จนกวาจะพนจากการดํารงตําแหนง ในคณะกรรมการฯ กอน ๔. กรรมการในคณะกรรมการทุกคณะ จะพนจากตําแหนงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะกรรมการหรือสมาชิกมีมติใหออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพรองหรือไมสุจริตตอหนาที่ หรือหยอนความสามารถ
  • 10. (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ.๒๕๕๕ การบริหารเงินกองทุนและงบประมาณในการบริหาร   ๑. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) บริหารกองทุน รวมทั้งตรวจสอบ กํากับ ดูแล และจัดสรรรายไดหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุนในเขตทองที่ตําบล (๒) จัดหาสถานที่ทํางานของบุคลากรและคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล (๓) จัดหาทุนหรือรายไดเขากองทุน (๔) พิจารณาโครงการขององคกรสตรีที่ยื่นขอกูยืมเงิน หรือขอรับการสนับสนุนเงินจากกองทุน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด (๕) สํารวจและจัดทําขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนสมาชิก และองคกรสตรี ที่ขึ้นทะเบียน รวมทั้งโครงการที่ไดยื่นคําขอกูยืมเงินจากกองทุนในเขตทองที่ตําบล เสนอตอคณะกรรมการกองทุนฯ จังหวัด พิจารณาอนุมัติตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด รวมทั้งเพื่อรวบรวมรายงานตอคณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะกรรมการประเมินผล อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง (๖) รายงานผลการดําเนินการ ปญหาและอุปสรรค ในเขตทองที่ตําบล เสนอตอคณะกรรมการ กองทุนฯ จังหวัด อยางนอยปละหนึ่งครั้ง (๗) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย โดยบริหารเงินในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการพัฒนาบทบาทสตรีตําบล เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตามกรอบนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด /๒. คณะกรรมการ... -๘- ๒. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) บริหารกองทุน รวมทั้งตรวจสอบ กํากับ ดูแล และจัดสรรรายไดหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุนในจังหวัด (๒) จัดหาสถานที่ทํางานของบุคลากร และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด (๓) จัดหาทุนหรือรายไดเขากองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด (๔) พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนใหคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด (๕) พิจารณาโครงการขององคกรสตรีที่ยื่นขอสนับสนุนเงินจากกองทุนในเขตพื้นที่จังหวัด ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด (๖) จัดทําบัญชีของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด ตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด
  • 11. (๗) สํารวจและจัดทําขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนสมาชิกกองทุน และองคกรสตรี ที่ขึ้นทะเบียน รวมทั้งโครงการที่ไดยื่นคําขอกูยืมเงินจากกองทุนในเขตทองที่จังหวัด เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง (๘) รายงานผลการดําเนินการ ปญหาและอุปสรรค รวมทั้งฐานะการเงินของกองทุนในเขตทองที่จังหวัด เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด อยางนอยปละหนึ่งครั้ง (๙) ประสานและสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล (๑๐) แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล ิ และคณะทํางาน เพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติงานอยางหนึ่งอยางใดที่เกี่ยวของตามวัตถุประสงคของกองทุน (๑๑) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และบริหารเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนโครงการตามที่ไดรับการเสนอจากองคกรตาง ๆ ที่เสนอโดยตรง ทั้งนี้ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด ๓. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) บริหารกองทุน รวมทั้งตรวจสอบ กํากับ ดูแล และจัดสรรรายไดหรือผลประโยชนที่เกิดจากเงินหรือทรัพยสินของกองทุนฯ กรุงเทพมหานคร (๒) จัดหาสถานที่ทํางานของบุคลากร และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร /(๓) จัดหาทุน... -๙- (๓) จัดหาทุนหรือรายไดเขากองทุนพัฒนาบทบาทสตรกรุงเทพมหานคร ี (๔) พิจารณาโครงการขององคกรสตรีที่ยื่นขอสนับสนุนเงินจากกองทุน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด (๕) จัดทําบัญชีของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ตามหลักเกณฑ และเงื่อนไข ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด (๖) สํารวจและจัดทําขอมูลรายละเอียดเกี่ยวกับจํานวนสมาชิกกองทุน และองคกรสตรี ที่ขึ้นทะเบียน รวมทั้งโครงการที่ไดยื่นคําขอกูยืมเงินจากกองทุนในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด (ในกรณีของกรุงเทพมหานคร ตามระเบียบฯ ขอ ๒๔ (๕) มอบใหคณะกรรมการประเมินผล ทําหนาที่) อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง (๗) รายงานผลการดําเนินการ ปญหาและอุปสรรค รวมทั้งฐานะการเงินของกองทุนในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร เสนอตอคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด (ในกรณีของกรุงเทพมหานคร ตามระเบียบฯ ขอ ๒๔ (๕) มอบใหคณะกรรมการประเมินผล ทําหนาที่) อยางนอยปละหนึ่งครั้ง (๘) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
  • 12. โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และบริหารเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในสวนของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนโครงการตามที่ไดรับการเสนอจากองคกรตาง ๆ ที่เสนอโดยตรง ทั้งนี้ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด ๔. คณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) เสนอแผนการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานในจังหวัดตอคณะกรรมการประเมินผล (๒) กํากับ ดูแล และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล (๓) รายงานผลการดําเนินงาน ปญหา อุปสรรค รวมทั้งรายงานงบการเงินของกองทุนของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดและคณะกรรมการพัฒนาบ ทบาทสตรีตําบล เสนอตอคณะกรรมการประเมินผล อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง (๔) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามระเบียบ ประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตร ที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด /๕. คณะกรรมการ... -๑๐- ๕. คณะกรรมการบริหารกองทุน เปนคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นภายใตคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ จํานวนไมเกินสิบคน มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) เสนอความเห็นตอคณะกรรมการในการพิจารณาแผนการบริหารและการจัดการกองทุน (๒) ใหการสนับสนุน และขอเสนอแนะแกคณะกรรมการเกี่ยวกับดานนโยบาย ประกาศ ขอกําหนด หรือหลักเกณฑการดําเนินการกองทุน (๓) บริหารงานกองทุน และพิจารณาอนุมัติการจายเงินเพื่อสนับสนุนกองทุนในระดับตาง ๆ รวมถึงรายงานสถานะการเงินและบริหารกองทุนตอคณะกรรมการ (๔) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการบริหารกองทุน เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุน พัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด
  • 13. ๖. คณะกรรมการประเมินผล เปนคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นภายใตคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ จํานวนไมเกินสิบคน มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) เสนอความเห็นตอคณะกรรมการในการพิจารณาแผนการติดตามและประเมินผล (๒) ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานของกองทุน (๓) รายงานผลการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล คณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด พรอมทั้งขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ (๔) เรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวของกับกองทุนจากหนวยงานใดหรือบุคคลใดหรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจง เพื่อประกอบการพิจารณาตรวจสอบและประเมินผล (๕) กํากับ ดูแล และสนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร รวมทั้งติดตามการใชจายเงินกองทุนในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร (๖) ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามระเบียบ ประกาศ ขอกําหนด หรือตามที่คณะกรรมการมอบหมาย (๗) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการประเมินผล เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่คณะกรรมการกองทุน พัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติกําหนด ๗. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ แผนงาน และแนวทางในการบริหารกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน /(๒) จัดหาเงิน... -๑๑- (๒) จัดหาเงินทุนของกองทุน และกําหนดแนวทางการจัดสรรเงินใหแกคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล เพื่อใชจายใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน (๓) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงกฎหมาย หรือกฎ ระเบียบ ตอคณะรัฐมนตรี เพื่อใหเปนไป ตามวัตถุประสงคของกองทุน (๔) รายงานผลเกี่ยวกับการใชจาย การบริหารกองทุน การดําเนินงาน และรายงานการเงินกองทุนตอคณะรัฐมนตรี อยางนอยปละหนึ่งครั้ง (๕) ออกระเบียบที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการกองทุนใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน (๖) แตงตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน คณะกรรมการประเมินผล และคณะกรรมการติดตามและสนับสนุนการดําเนินงานจังหวัด
  • 14. (๗) แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิหรือที่ปรึกษาในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด และคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร (๘) พิจารณาอนุมัติโครงการที่อยูนอกเหนืออํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล คณะกรรมการพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด และคณะกรรมการพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ โครงการดังกลาวตองอยูภายในวัตถุประสงคของกองทุน (๙) วินิจฉัยชี้ขาดปญหาที่เกิดจากการปฏิบัติตามระเบียบนี้ คําวินิจฉัยของคณะกรรมการใหถือ เปนที่สุด (๑๐) แตงตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบัติงานอยางหนึ่งอยางใดที่เกี่ยวของ ตามวัตถุประสงคของกองทุน (๑๑) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย โดยบริหารงบประมาณในสวนของการบริหารงานในคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เพื่อกํากับการทํางาน และติดตาม/ตรวจสอบการใชเงินใหเปนไปตามนโยบายและยุทธศาสตรที่กําหนด และบริหารเงินกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีในสวนที่คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ เพื่อสนับสนุนโครงการตามที่ไดรับการเสนอจากองคกรตาง ๆ ที่เสนอโดยตรง ทั้งนี้ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี โดยมี สํานักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ ทําหนาที่เปนฝายเลขานุการคณะกรรมการ ๘. สํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ ใหสํานักงานคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ อยูในสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักนายกรัฐมนตรี โดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (1) ทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ /(๒) ปฏิบัติงาน... -๑๒- (2) ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารกองทุน และคณะกรรมการ ประเมินผล ตลอดจนที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการ และคณะทํางาน (3) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุน (4) เปนศูนยกลางเผยแพรและประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงการจัดตั้งกองทุน นโยบาย และแนวทางการดําเนินงานกองทุน (5) ดําเนินการและประสานงานกับสวนราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองคกรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อเตรียมความพรอมในการจัดตั้งกองทุนและบริหารกองทุน (6) จัดใหมีหรือสนับสนุนใหมีการประชุมชี้แจง และฝกอบรมบุคลากรที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานกองทุน (7) รวบรวมและจัดทําทะเบียนกลางเกี่ยวกับสมาชิกและโครงการที่ไดรับการสนับสนุนจากกองทุน ในทุกจังหวัด เพื่อรายงานตอคณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรี (8) ปฏิบัติหนาที่อื่นที่กรรมการมอบหมาย
  • 15.     การขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุน     สมาชิก และองคกรสตรีที่ขึ้นทะเบียนแลว และประสงคจะขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากกองทุน พัฒนาบทบาทสตรี ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (๑) มีภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู หรือสถานที่ทํางาน หรือสํานักงานใหญตั้งอยูในทองที่ที่จะยื่นคําขอ ไมนอยกวาหกเดือน (๒) มีบุคลากร หรืออาสาสมัครในการปฏิบัติงานประจํา หรือมีที่ปรึกษาที่มีความรูเกี่ยวกับการชวยเหลือ คุมครองและพิทักษสิทธิสตรี (๓) ดําเนินงานและมีผลงานเกี่ยวกับการทํางานหรือฝกอาชีพ การพัฒนา การชวยเหลือ คุมครองและพิทักษสิทธิสตรี หรือมีผลงานที่เปนประโยชนตอสังคมหรือชุมชนที่เกี่ยวของกับสตรี (๔) ไมดําเนินกิจการที่อาจกอใหเกิดความวุนวายหรือขัดตอความสงบเรียบรอยของประชาชน สําหรับลักษณะโครงการที่จะไดรับการพิจารณา ตองเปนไปตามหลักเกณฑ ดังตอไปนี้ (๑) โครงการที่เปนการกูยืมเงิน จะตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายในการใชเงินอยางชัดเจน ซึ่งมีผลตอการทํางานการพัฒนาอาชีพ การสรางงาน หรือการสรางรายไดเปนสําคัญ (๒) โครงการที่สงเสริมการมีสวนรวมของสตรี องคกรสตรี หรือชุมชนในการพัฒนาศักยภาพสตรี และเครือขายสตรี การเฝาระวังและดูแลปญหาของสตรี การชวยเหลือเยียวยาสตรีที่ประสบปญหาในทุกรูปแบบ การคุมครองและพิทักษสิทธิสตรี ตลอดจนการรณรงคใหสังคมเขาใจปญหาสตรีในทุกมิติ /(๓) โครงการ... -๑๓- (๓) โครงการที่สงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมในการพัฒนาบทบาทและแกไขปญหาสตรีขององคกรตาง ๆ การสรางภาวะผูนํา การพัฒนาองคความรู คุณภาพชีวิต การสรางสวัสดิภาพ หรือสวัสดิการใหแกสตรี รวมทั้งเสริมสรางความเขมแข็งทางดานเศรษฐกิจและสังคมของสตรี (๔) โครงการที่ขอรับการสนับสนุนตองไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการหรือ แหลงทุนอื่น ๆ เวนแตกรณีไดรับแตไมเพียงพอ การขอรับการสนับสนุนเงินทุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ใหผูมีอํานาจทําการแทนองคกรสตรี หรือผูซึ่งไดรับมอบฉันทะจากองคกรสตรี ยื่นคําขอพรอมดวยเอกสารหลักฐาน ตามแบบที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด โดย องคกรสตรีที่ตั้งอยูในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร ใหยื่นคําขอตอคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร สวนองคกรสตรี ที่ตั้งอยูในพื้นที่จังหวัดอื่น (นอกเหนือจากกรุงเทพมหานคร) ใหยื่น คําขอตอคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด หรือคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทตําบล แลวแตกรณี ทั้งนี้ องคกรสตรีที่ไดรับเงินอุดหนุนจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตองดําเนินงานใหเปนไปตามแผนงาน โครงการที่ไดยื่นขอรับเงินอุดหนุน และจะนําเงินที่ไดรับจากกองทุนฯ ไปใชจายในกิจกรรมนอกเหนือจากแผนงาน โครงการ หรือจะไปดําเนินงานนอกเขตพื้นที่ที่ตั้งขององคกรสตรีนั้นมิได การรายงานผลการใชจายเงินกองทุน
  • 16. เมื่อองคกรสตรีดําเนินงานตามแผนงานโครงการเสร็จแลว หากมีเงินที่ไดรับการสนับสนุนเหลืออยู ใหคืนเงินนั้นภายในสามสิบวัน นับแตวันที่โครงการแลวเสร็จหรือจะขอแกไขเพิ่มเติมแผนงานโครงการเพื่อดําเนินงานตามจํานวนเงินที่เหลืออยูนั้นก็ไ ด เวนแตโครงการที่เปนการกูยืม ใหคืนเงินตน ตามหลักเกณฑวิธีการ และเงื่อนไขตามที่คณะกรรมการกําหนด รวมทั้ง ใหองคกรสตรีรายงานผลการปฏิบัติงาน และรายงานการใชจายเงินที่ไดรับอุดหนุนจากกองทุนฯ ตามแบบที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกําหนด ภายในสามสิบวัน นับแตวันสิ้นเดือนมีนาคม และวันสิ้นเดือนกันยายนของทุกป เวนแตแผนงานโครงการ มีระยะเวลาดําเนินการไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน ใหรายงานภายในสามสิบวัน นับแตวันเสร็จสิ้นแผนงาน โดยใหรายงานตอคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตําบล แลวแตกรณี โดยจัดสงรายงานดวยตนเอง หรือสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับก็ได   ------------------------------------ -๑๔- แผนภูมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี   ิ               คณะกรรมการ   กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีแหงชาติ     คณะกรรมการบริหารกองทุน คณะกรรมการประเมินผล   คณะกรรมการ ติดตามและสนับสนุนก   ารดําเนินงานกองทุนพั   ฒนาบทบาทสตรระดับจั ี คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ งหวัด   กองทุนฯ ระดับจังหวัด กองทุนฯ ระดับตําบล กองทุนฯ ระดับจังหวัด   เงินทุนหมุนเวียน เงินสงเสริมการจัดกิจกรรม เงินพัฒนาศักยภาพ กํากับติดตามและสนับ   และแกไขปญหา และเครือขาย สนุน การดําเนินงาน   ในแตละจังหวัด สมาชิกสมทบ เงินงบประมาณ เงินงบประมาณแผนดิน ดวยการออม จากภาษีพิเศษ ประจําป
  • 17.         ติดตามแกไขปญหา   สํานักงานกองทุน   พัฒนาบทบาทสตรี สงเสริมสนับสนุนการดําเนินการพัฒนา แหงชาติ       เผยแพรประชาสัมพันธ -๑๕-
  • 21. -๑๘- สวนราชการที่รวมขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สํานักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น กรมการพัฒนาชุมชน สํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข