SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
อ่าวเปอร์เซีย
แม่น้ายูเฟทีส
แม่น้าไทกริส
สังคมของสุเมเรียนยกย่อง เกรงกลัว
เทพเจ้า นิยมก่อสร้างศาสนสถาน
เรียกว่า “ซิกกูแรต” สร้างด้วยอิฐตากแห้ง
ชาวสุเมเรียน เป็นกลุ่มแรกที่ประดิษฐ์
อักษร ได้แก่ อักษรลิ่ม หรือ “คูนิฟอร์ม”
cuneiform นักประวัติศาสตร์จึงนับเอาเป็นเกณฑ์
ในการแบ่งยุคประวัติศาสตร์
“กิลกาเมซ” Epic of Gilgamesh
เป็นมหากาพย์ ที่ถูกแต่งขึ้น เป็นเรื่องเกี่ยวกับ
น้าท่วมโลก
มีความเจริญทางด้านคณิตศาสตร์
ปฏิทิน และการชั่ง ตวง วัด
ชาวอามอไรต์ Amorite ได้
ตั้ง อาณาจักรบาบิโลเนีย ขึ้นมา การ
ปกครองแบบรวมศูนย์ มีการจัดเก็บภาษี
การเกณฑ์ทหาร โดยมีผู้นาสาคัญคือกษัติรย์
ฮัมมูราบี ซึ่งได้สร้างความเข้มแข็งให้แก่
จักรวรรดิบาบิโลน
สมัยพระเจ้าฮัมมูราบี ได้มี
“ประมวลกฎหมายฮัมมุราบี” เป็น
ประมวลกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่
เก่าแก่ที่สุดในโลก จารึกแผ่นศิลา
ยึดถือหลัก ตาต่อตา ฟันต่อฟัน ในการ
ลงโทษ
เผ่าเซมิติกมาจากทะเลทรายอาหรับได้เข้า
ยึดครองกรุงบาบิโลน มีศูนย์กลางที่นิเนเวห์ ตั้ง
จักรวรรดิอัสซีเรีย Assyrian
สามารถในการรบและการค้า ขยายอานาจถึงฟินิเชีย
ปาเลสไตน์ อียิปต์และเปอร์เซีย มีกองทัพแข็งแกร่ง
มีระเบียบวินัยสูง
สวนลอยฟ้ าบาบิโลน ได้รับยกย่องว่า
เป็น “หนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก” สร้าง
ในสมัยพระเจ้าเนบูชัดเนสซาร์ มีระบบ
ชลประทานชักน้าจากแม่น้าไทกิสไปทา
เป็นน้าตกและนาไปเลี้ยงต้นไม้ตลอดปี
ชาวคาลเดียน เป็นชาติแรกที่นาเอา
ความรู้ด้านดาราศาสตร์มาพยากรณ์
โชคชะตามนุษย์ และยังสามารถคานวณด้าน
ดาราศาสตร์ได้อย่างแม่นยา ทาแผนที่ดวงดาว
คานวณการเกิดสุริยุปราคา จันทรุปราคา
แบ่งสัปดาห์เป็น 7 วัน
อารยธรรมลุ่มแม่น้าไนล์ หรือ อารยธรรมอียิปต์
โบราณก่อกาเนิดขึ้นในบริเวณดินแดนสองฝั่ง
แม่น้าไนล์ ยาวตั้งแต่ปากแม่น้าไนล์ไปจนถึง
ตอนเหนือของประเทศซูดานในปัจจุบัน
สภาพภูมิประเทศของอียิปต์แบ่งออกเป็น
อียิปต์ล่าง ตั้งอยู่บริเวณที่ราบปากแม่น้าไนล์
อารยธรรมของอียิปต์เจริญขึ้นบริเวณแถบนี้
และอียิปต์บน ได้แก่ บริเวณที่แม่น้าไนล์ไหล
ผ่านหุบเขา เป็นที่ราบแคบๆขนาบด้วยหน้าผา
และทะเลทราย
บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าไนล์เปรียบเหมือน
โอเอซีสท่ามกลางทะเลทราย เพราะเป็น
ดินแดนที่ล้อมรอบด้วยทะเลทราย จึงเป็น
ปราการทางธรรมชาติป้ องกันการรุกรานจาก
ภายนอก ชาวอียิปต์จึงอยู่อย่างสันโดษ
สามารถพัฒนาอารยธรรมให้มีความต่อเนื่อง
และมั่นคงได้เป็นเวลานาน
ลักษณะภูมิอากาศของอียิปต์เป็น
ทะเลทราย มีอุณหภูมิเฉลี่ยประจาปีสูง
และปริมาณฝนน้อย
เฮโรโดตัส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก
โบราณได้กล่าวถึงอียิปต์ว่า “อียิปต์เป็น
ของขวัญของแม่น้าไนล์” เพราะถ้าขาด
แม่น้าไนล์เสียแล้ว อียิปต์ก็จะกลายเป็น
ทะเลทรายไป
ชุมชนหินเก่าที่อาศัยอยู่ในดินแดน
อียิปต์บนเป็นพวกเร่ร่อน พักอาศัยตาม
ชะง่อนหิน ล่าสัตว์และตกปลาเป็น
อาหาร
ในยุคหินใหม่ชาวอียิปต์รู้จักการ
เพาะปลูกข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ฝึกสัตว์
ให้เชื่องเพื่อทามาใช้แรงงาน ทา
เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆที่มีประสิทธิภาพ
ดีขึ้น
พัฒนาการของอียิปต์โบราณ
มีปัจจัยจากภูมิประเทศ คือ
อียิปต์มีพรมแดนธรรมชาติ
อันได้แก่ ทะเลเมดิเตอร์เร
เนียนและทะเลทรายสะฮารา
ป้ องกันการรุกรานของศัตรู
ชาวอียิปต์นับถือเทพเจ้าหลาย
องค์ โดยมีสุริยเทพหรือ
เทพเจ้ารา เป็นเทพเจ้าสูงสุด
มีไอซิส เป็นเทพีแห่งแม่น้าไนล์
ไอโซริส เทพเจ้าแห่งความตาย
ชาวอียิปต์ยกย่องเทพเจ้าว่ามีเมตตาต่ออียิปต์
และยกฟาโรห์องค์ประมุขสูงสุดให้เป็นเทพเจ้า
องค์หนึ่ง คาสั่งของพระองค์ถือเป็นประกาศิต
ชาวอียิปต์นิยมสร้างสุสานฝังพระศพฟาโรห์ เรียกว่า พีระมิด พระศพจะ
ถูกนาไปชาระให้สะอาด และผ่านกรรมวิธีซับซ้อน แล้วพันหรือห่อด้วยผ้า
ขาว สภาพศพจะแห้งและไม่เน่าเปื่อย เรียกว่า มัมมี่
พีระมิดขั้นบันไดแห่งซักคารา เป็นพีระมิด
แห่งแรกของอียิปต์
พีระมิดที่ใหญ่ที่สุด คือ พีระมิดที่เป็นสุสานของ
ฟาโรห์ คีออปส์ หรือ คูฟู ข้างหน้าพีระมิดมี
สฟิงซ์ มีลักษณะตัวเป็นสิงโต หน้าเป็นคน
การสร้างพีระมิดแต่ละแห่งต้องใช้แรงงานอียิปต์
และค่าใช้จ่ายเป็นจานวนมหาศาล ระยะเวลา
ก่อสร้างมากกว่า 20-30 ปี ซึ่งเป็นการบั่นทอน
เศรษฐกิจและแรงงานของอียิปต์ อันนาความ
เสื่อมมาสู่ราชวงศ์อียิปต์ในที่สุด
ชาวอียิปต์ได้ประดิษฐ์
อักษรภาพที่เรียกว่า
อักษรไฮโรกลิฟิก ต่อมา
ได้รับการดัดแปลงให้เขียน
เข้าใจมากขึ้น เป็นอักษรตัว
หวัด เรียกว่า อักษรไฮแร
ติก และได้วิวัฒนาการเป็น
อักษรอัลฟาเบตการเขียนหนังสือแรกๆ ทาโดยการแกะบนหิน เขียนบนไม้
หรือดินเผา ต่อมาเริ่มเขียนตัวหนังสือประเภทอักษรภาพลง
บนกระดาษปาปิรัส ซึ่งทาจากต้นปาปิรัส และใช้ปล้อง
หญ้ามาตัดเป็นปากกาจิ้มหมึก ส่วนหมึกทาด้วยถ่านป่น
ผสมยางไม้
อักษรไฮโรกลิฟิก ไม่มีใครอ่านออก
จนกระทั่ง ชอง ฟรังซัว ชองโปลิยอง
นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส สามารถ
อ่านไฮโรกลิฟิกในจารึกโรเซตตา ได้
ในคริสต์ศตวรรษที่ 19
การอ่านจารึกโรเซตตาช่วยเปิดเผยให้
โลกได้ทราบถึงประวัติศาสตร์และ
เรื่องราวลี้ลับเกี่ยวกับอียิปต์โบราณ
เป็นอันมาก
ในงานประพันธ์ของอียิปต์ไม่ว่าจะ
เป็นวรรณกรรมหรือบทเพลง จะเน้น
ความสุข ความรักในภพนี้ตลอดจน
สั่งสอนให้ดาเนินชีวิตด้วยความสุจริต
อยู่ในศีลธรรมความดีงาม
ชาวอียิปต์จึงนิยมเขียนเรื่องราวที่
แสดงความดีและความบริสุทธิ์ของ
ตน เพื่อนาไปแสดงต่อเทพโอไซริส
เมื่อถึงแก่ความตาย เรียกบันทึกนี้ว่า
บันทึกของผู้ตาย
นอกจากนี้อียิปต์ยังถ่ายทอดความรู้วิชาการ
ให้ชนรุ่นหลังอีกมากมาย เช่น วิชาดารา
ศาสตร์ ปฏิทินแบบสุริยคติแบ่งออกเป็น
365 วัน วิชาแพทย์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และดนตรี
ในช่วงแห่งการเป็นผู้นาด้านอารยธรรมดังกล่าวนี้อียิปต์ได้ผ่านทั้งความเจริญสูงสุดและ
ความเสื่อม ในสมัยอาณาจักรใหม่ เรียกว่ายุคทองแห่งอียิปต์ มีความเจริญรุ่งเรืองมาก ในสมัยปลาย
ราชวงศ์อานาจฟาโรห์น้อยลง ฟาโรห์จึงพยายามกอบกู้ศักดิ์ศรีกลับคืน โดยการเปลี่ยนแปลงการนับถือ
เทพเจ้าหลายพระองค์ ให้เป็นพระองค์เดียว คือ สุริยเทพอะตัน โดยเชื้อพระวงศ์เท่านั้นที่เคารพเทพ
เจ้า ส่วนประชาชนต้องเคารพบูชาเทพเจ้าฟาโรห์แต่ปรากฏว่าไม่เป็นที่นิยม ก่อให้เกิดความเกลียดชัง
โกรธแค้นแก่ผู้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ ทาให้อียิปต์ทรุดโทรมลงไปอีก
ต่อมาในช่วง 620 ปีก่อนคริสต์ศักราช อียิปต์สูญเสียอานาจให้พวกอัสซีเรียยึดครองได้
ท้ายที่สุด อียิปต์เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม ดังนั้นอียิปต์จึงไม่สามารถรวมอยู่ในกลุ่มโลกตะวันตก
ได้อีกต่อไป เพราะความสัมพันธ์ทั้งศาสนา การเมือง ศิลปวัฒนธรรมใกล้ชิดกันตะวันออกมากกว่า แต่
ถ้ากล่าวถึงอียิปต์โบราณแล้ว ก็ถือว่าเป็นต้นกาเนิดของอารยธรรมตะวันตกควบคู่กับอารยธรรมของ
เมโสโปเตเมีย โดยถ่ายทอดต่อไปให้กรีกและโรมัน ถือว่าเป็นต้นกาเนิดอารยธรรมตะวันตก

Contenu connexe

Tendances

อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
6091429
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
Pannaray Kaewmarueang
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
Nattha Namm
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
Phonlawat Wichaya
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
sompriaw aums
 

Tendances (20)

อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
ชุดการเรียนรู้ เรื่อง-ทวิปอเมริกาเหนือ-ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่-3-โดยครูบุญฤท...
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
 
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
แผนการสอนอาเซียน ม.1-3
 

เลขที่1,19 ม.6.7 เรื่องอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ