SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
คานา
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้
มีจานวน 6 เล่ม
เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี
เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
เล่มที่ 6 เรื่อง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน
สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้
7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป
ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป
ปรีช์ญภัทร เล่งระบา
ก
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง สมการเคมี 1
ใบความรู้ที่ 2.2 สมการเคมี 3
ใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 8
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง สมการเคมี 9
ภาคผนวก 11
 เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 12
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง สมการเคมี 13
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง สมการเคมี 14
บรรณานุกรม 15
ข
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง สมการเคมี
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. NaOH(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l)
ข้อใดกล่าวถึง NaCl ได้ถูกต้อง
ก. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของแข็ง
ข. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของเหลว
ค. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นสารละลาย
ง. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นของแข็ง
2. จากสมการเคมี Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + A
A คือสารในข้อใด
ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. แก๊สไฮโดรเจน
ค. แก๊สคลอรีน ง. แก๊สออกซิเจน
3. จากสมการเคมีต่อไปนี้ CH4(g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) ข้อใดถูกต้อง
ก. CH4 และ O2 เป็นสารตั้งต้น CO2 และ H2O เป็นผลิตภัณฑ์
ข. เป็นสมการเคมีที่ดุลแล้ว
ค. แสดงว่า CH4 1 โมเลกุล รวมตัวกับ O2 2 โมเลกุล ได้ CO2 1 โมเลกุลและ H2O 2 โมเลกุล
ง. ถูกทุกข้อ
4. สมการเคมีในข้อใดยังไม่ได้ดุล
ก. H2SO4 + NaCl → NaHSO4 + HCl
ข. NH4Cl + Ca(OH)2 → NH3 + 2H2O + CaCl2
ค. H2SO4 + 2NaOH → Na2SO4 + 2H2O
ง. 2H2 + O2 → 2H2O
5. ข้อใดเป็นสมการเคมีที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมกับน้า
ก. Ca + 2H2O → Ca(OH)2 + H2
ข. Ca + H2O → Ca(OH)2 + H2
ค. Ca + 2H2O → CaOH + H2
ง. Ca + H2O → CaOH + H2
1
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6. รูปแทนปฏิกิริยาระหว่างธาตุ 2 ชนิด
+ →
ก. H2 + Cl2 → 2HCl ข. N2 + O2 → 2NO
ค. 2H2 + O2 → 2H2O ง. 2Na + Cl2 → 2NaCl
7. ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
ข้อใดเขียนสมการของปฏิกิริยานี้ได้ถูกต้อง
ก. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq)
ข. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(aq) + KNO3(aq)
ค. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(l) + 2KNO3(aq)
ง. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq)
8. เมื่อสารตั้งต้น 2 ตัว ทาปฏิกิริยากัน ดังนี้
สารผลิตภัณฑ์คือข้อใด
ก.
ข.
ค.
ง.
9. 2H2O(l) ----> 2H2(g) + O2(g) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
10. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
**********************************************************************
A B + C D
A B + C D
A B + A C
A D + C D
A D + B C
2
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบความรู้ที่ 2.2 สมการเคมี
สมการเคมี
สมการเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนด้วยตัวอักษรและสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุใน
สารประกอบ เพื่อแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งบอกถึงปริมาณของสารตั้งต้นที่ใช้ทาปฏิกิริยากัน และปริมาณ
ของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดปฏิกิริยา
สมการเคมีประกอบด้วย
1. สารตั้งต้น(reactants) คือสารที่ทาปฏิกิริยากันตอนต้น ถ้ามีมากกว่า 1 สาร ให้เขียนเครื่องหมาย (+)
คั้นระหว่างสาร แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี
2. ผลิตภัณฑ์ (product) คือสารที่เกิดหลังจากปฏิกิริยากัน ถ้าหากเกิดมากกว่า 1 สาร ก็ให้เขียน
เครื่องหมาย (+) แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี
3. เงื่อนไข เป็นภาวะต่างๆที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น อุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยา เป็นต้น โดยเขียน
บอกไว้บนหรือล่างลูกศรที่คั่นอยู่ระหว่างสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ แต่หากอยู่ในภาวะปกติก็ไม่
จาเป็นต้องเขียนก็ได้
สารตั้งต้น + สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์
หลักการเขียนสมการเคมี
1. เขียนสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารตั้งต้นแต่ละชนิด
2. หาว่าในปฏิกิริยาเคมีนั้นเกิดสารผลิตภัณฑ์ใดขึ้นบ้างและเขียนสูตรเคมีของสารผลิตภัณฑ์
3. ให้ระบุสถานะของสารไว้หลังสูตร โดยเขียนไว้ในวงเล็บ
(s) = ของแข็ง (solid) เช่น โลหะ ,ลวด ,ตะกอน,ผลึก มีสถานะของแข็ง
(l) = ของเหลว (liquid) เช่น น้า ,มีสถานะของเหลว
(g) = แก๊ส (gas) เช่น ควัน ,แก๊สออกซิเจน ,แก๊ส ,ไอน้า มีสถานะแก๊ส
(aq) = สารละลาย (aqueous solution) เช่น น้าเกลือ , สารละลาย มีสถานะสารละลาย
ที่มีน้าเป็นตัวทาละลาย
เงื่อนไข
3
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
สมการเคมีที่สมบูรณ์จะต้องมีตัวเลขที่เหมาะสมมาเติมลงข้างหน้าสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารใน
สมการ เพื่อให้จานวนอะตอมของแต่ละธาตุในสารตั้งต้นเท่ากับจานวนอะตอมของแต่ละธาตุในผลิตภัณฑ์
ซึ่งเราเรียกว่า "การดุลสมการ"
หลักการดุลสมการ
1. ทาจานวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ในโมเลกุลใหญ่ที่สุดให้เท่ากันก่อน หลังจากนั้นจึงดุลอะตอมของ
ธาตุที่เล็กลงตามลาดับ
2. หากปฏิกิริยามีกลุ่มอะตอมหรือโมเลกุลให้ดุลเป็นกลุ่มก่อน จากนั้นค่อยดุลธาตุอิสระ (น้า (H2O)
และธาตุอิสระ เช่น O2 ,H2 ,Zn , Na ,Al ให้ดุลเป็นอันดับสุดท้าย)
3. วางสัมประสิทธิ์หน้าสมการเคมีหรือตัวเลขไว้หน้าอะตอมหรือโมเลกุล แล้วนับจานวนแต่ละข้างให้
เท่ากัน
4. บางกรณีอาจจะต้องทาจานวนอะตอมของธาตุทั้ง 2 ข้างของสมการให้เป็นเลขคู่ก่อน เพื่อจะได้ดุล
สมการได้สะดวก
5. ตรวจสอบความถูกต้อง
ตัวอย่างการเขียนสมการเคมีและการดุลสมการเคมี
1. แก๊สไฮโดรเจน (H2) ทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน (O2) ได้น้า (H2O) ซึ่งมีสถานะเป็นของเหลว เขียน
สมการได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 เขียนสมการเคมี ได้ดังนี้
H2(g) + O2(g) → H2O(l)
ขั้นที่ 2 ดุลสมการเคมีได้ดังนี้
H2(g) + O2(g) → 2H2O(l)
2. แก๊สมีเทน (CH4) เมื่อติดไฟรวมกับแก๊สออกซิเจน (O2) ในอากาศจะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และ
ไอน้า (H2O)
ขั้นที่ 1 เขียนสมการเคมี ได้ดังนี้
CH4 (g) + O2(g) → CO2(g) + H2O(g)
ขั้นที่ 2 ดุลสมการเคมีได้ดังนี้
CH4 (g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g)
4
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 1
C3H8 (g) + O2(g) → CO2 (g) + H2O (l)
วิธีคิด
1. ดุลที่ธาตุ C ใน C3H8 และ CO2 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 3 หน้า CO2 จะได้
C3H8 (g) + O2(g) → 3CO2 (g) + H2O (l)
2. ดุลจานวนอะตอม H ใน C3H8 และ H2O ให้เท่ากัน โดยการเติม 4 หน้า H2O จะได้
C3H8 (g) + O2(g) → 3CO2 (g) + 4H2O (l)
3. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ O ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการเติม 5 หน้า O2 จะได้สมการ
ที่ดุลแล้วเป็นดังนี้
C3H8 (g) + 5O2(g) → 3CO2 (g) + 4H2O (l)
ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 2
Zn(s) + HCl(g) → ZnCl(aq) + H2(g)
วิธีคิด
1. ดุลที่ธาตุ H ใน HCl และ H2 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า HCl จะได้
Zn(s) + 2HCl(g) → ZnCl(aq) + H2(g)
2. ดุลที่ธาตุ Cl ใน HCl และ ZnCl ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า ZnCl จะได้
Zn(s) + 2HCl(g) → 2ZnCl(aq) + H2(g)
3. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ Zn ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการเติม 2 หน้า Zn จะได้
สมการที่ดุลแล้วเป็นดังนี้
2Zn(s) + 2HCl(g) → 2ZnCl(aq) + H2(g)
http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31752
5
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 3
Fe(s) + O2(g) → Fe2O3(g)
วิธีคิด
1. ดุลที่ธาตุ Fe ใน Fe และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า Fe จะได้
2Fe(s) + O2(g) → Fe2O3(g)
2. ดุลที่ธาตุ O ใน O2 และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 3 หน้า O2 จะได้
2Fe(s) + 3O2(g) → Fe2O3(g)
3. ดุลที่ธาตุ O ใน O2 และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า Fe2O3 จะได้
2Fe(s) + 3O2(g)] → 2Fe2O3(g)
4. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ Fe ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการนา 2 มาคูณกับ 2Fe จะได้
สมการที่ดุลแล้วเป็นดังนี้
4Fe(s) + 3O2(g) → 2Fe2O3(g)
สรุปหลักในการเขียนสมการเคมี
1. ต้องทราบสูตรของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และสถานะของสารทั้ง 2 ชนิด
2. ในกรณีที่สารเริ่มต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ทิศทางเดียวให้เขียนสารเริ่มต้นไว้ทางด้านซ้ายส่วน
ผลิตภัณฑ์อยู่ทางด้านขวา โดยใช้ → คั่นกลาง และในกรณีที่สารเริ่มต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์และ
ผลิตภัณฑ์เปลี่ยนกลับมาเป็นสารเริ่มต้นได้ให้ใช้
3. สมการเคมีที่จานวนอะตอมของธาตุในสารเริ่มต้นไม่เท่ากับจานวนอะตอมของธาตุในผลิตภัณฑ์
ให้ดุลสมการเคมี โดยดุลจานวนอะตอมของสารในโมเลกุลที่มีจานวนอะตอมมากก่อนโมเลกุลที่มีจานวน
อะตอมน้อย
4. โมเลกุลของน้า (H2O) และธาตุอิสระ เช่น O2, Na, Cl และ H2 ให้ดุลจานวนอะตอมทีหลัง
6
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ประเภทของปฏิกิริยาเคมี
1.ปฏิกิริยาการรวมตัว (Combination)
ปฏิกิริยารวมตัวเกิดจากสารโมเลกุลเล็กกว่ารวมกันเป็นโมเลกุลใหญ่ หรือเกิดจากธาตุทาปฏิกิริยากับ
ธาตุได้สารประกอบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 2H2(g) + O2(g) → 2H2O(l)
ตัวอย่างที่ 2 2Al(s) + 3Cl2(g) → 2AlCl3(s)
2.ปฏิกิริยาการแยกสลาย (Decomposition)
ปฏิกิริยาการแยกสลายเกิดจากสารโมเลกุลใหญ่แยกสลายให้สารโมเลกุลเล็กๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 2H2O(l) → 2H2(g) + O2(g)
ตัวอย่างที่ 2 CaCO3(s) → CaO(s) + CO2(g)
3.ปฏิกิริยาการแทนที่ (Replacement)
ปฏิกิริยาการแทนที่เป็นปฏิกิริยาที่สารหนึ่งเข้าไปแทนที่สารในอีกสารหนึ่ง เช่น
Zn (s) + CuSO4 (aq) → ZnSO4 (aq) + Cu (s)
เผา
https://sites.google.com/a/wyckoffschools.org/ems-chemistry/activity-5/types-of-chemical-reactions
7
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2.2 สมการเคมี
1. จงเขียนและดุลสมการต่อไปนี้
ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จงดุลสมการต่อไปนี้
2.1. K(s) + O2(g) → K2O(s)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.2. Al(s) + O2(g) →Al2O3(s)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.3. H2SO4(aq) + NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + H2O(l)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.4. KClO3(s) → KCl(s) + O2(g)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ปฏิกิริยา ประเภทของปฏิกิริยา
1. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l)
2. 2HgO(s) 2Hg(l) + O2(g)
3. NH3(g) + HCl(aq)  NH4Cl(s)
4. C(s) + O2(g)  CO2(g)
5.Mg(s) + H2SO4(aq) MgSO4(aq)+H2(g)
8
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 2 เรื่อง สมการเคมี
คาชี้แจง
1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
**************************************************************************************************
1. จากสมการเคมีต่อไปนี้ CH4(g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) ข้อใดถูกต้อง
ก. CH4 และ O2 เป็นสารตั้งต้น CO2 และ H2O เป็นผลิตภัณฑ์
ข. เป็นสมการเคมีที่ดุลแล้ว
ค. แสดงว่า CH4 1 โมเลกุล รวมตัวกับ O2 2 โมเลกุล ได้ CO2 1 โมเลกุลและ H2O 2 โมเลกุล
ง. ถูกทุกข้อ
2. สมการเคมีในข้อใดยังไม่ได้ดุล
ก. H2SO4 + NaCl → NaHSO4 + HCl
ข. NH4Cl + Ca(OH)2 → NH3 + 2H2O + CaCl2
ค. H2SO4 + 2NaOH → Na2SO4 + 2H2O
ง. 2H2 + O2 → 2H2O
3. ข้อใดเป็นวาการเคมีที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมกับน้า
ก. Ca + 2H2O → Ca(OH)2 + H2
ข. Ca + H2O → Ca(OH)2 + H2
ค. Ca + 2H2O → CaOH + H2
ง. Ca + H2O → CaOH + H2
4. NaOH(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l)
ข้อใดกล่าวถึง NaCl ได้ถูกต้อง
ก. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของแข็ง
ข. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของเหลว
ค. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นสารละลาย
ง. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นของแข็ง
5. จากสมการเคมี Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + A
A คือสารในข้อใด
ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. แก๊สไฮโดรเจน
ค. แก๊สคลอรีน ง. แก๊สออกซิเจน
9
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
6. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
7. 2H2O(l) ----> 2H2(g) + O2(g) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย
ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน
8. เมื่อสารตั้งต้น 2 ตัว ทาปฏิกิริยากัน ดังนี้
สารผลิตภัณฑ์คือข้อใด
ก.
ข.
ค.
ง.
9. ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
ข้อใดเขียนสมการของปฏิกิริยานี้ได้ถูกต้อง
ก. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq)
ข. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(aq) + KNO3(aq)
ค. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(l) + 2KNO3(aq)
ง. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq)
10. รูปแทนปฏิกิริยาระหว่างธาตุ 2 ชนิด
+ →
ก. H2 + Cl2 → 2HCl ข. N2 + O2 → 2NO
ค. 2H2 + O2 → 2H2O ง. 2Na + Cl2 → 2NaCl
**********************************************************************
A B + C D
A B + C D
A B + A C
A D + C D
A D + B C
10
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
11
 เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี
 เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง สมการเคมี
 เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง สมการเคมี
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี
1. จงเขียนและสมการต่อไปนี้
ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI)
ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3)
ตอบ สมการเคมี : Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq)
ดุลสมการ : Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq)
2. จงดุลสมการต่อไปนี้
2.1. K(s) + O2(g) → K2O(s)
ดุลสมการ : 4K(s) + O2(g) → 2K2O(s)
2.2. Al(s) + O2(g) →Al2O3(s)
ดุลสมการ : 4Al(s) + 3O2(g) → 2Al2O3(s)
2.3. H2SO4(aq) + NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + H2O(l)
ดุลสมการ : 2H2SO4(aq) + 2NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + 3H2O(l)
2.4. KClO3(s) → KCl(s) + O2(g)
ดุลสมการ : 2KClO3(s) → 2KCl(s) + 3O2(g)
3. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทใด
ปฏิกิริยา ประเภทของปฏิกิริยา
1. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยาการแทนที่
2. 2HgO(s) 2Hg(l) + O2(g) ปฏิกิริยาการแยกสลาย
3. NH3(g) + HCl(aq)  NH4Cl(s) ปฏิกิริยาการรวมตัว
4. C(s) + O2(g)  CO2(g) ปฏิกิริยาการรวมตัว
5.Mg(s) + H2SO4(aq) MgSO4(aq)+H2(g) ปฏิกิริยาการแทนที่
12
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องสมการเคมี
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
13
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง สมการเคมี
ข้อ ก ข ค ง
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
14
เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
_____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์
พ.ศ. พัฒนา จากัด.
_____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด.
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด.
ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด.
รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด.
15

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 

Tendances (20)

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 

Similaire à เล่ม 2 สมการเคมี

Similaire à เล่ม 2 สมการเคมี (20)

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
Metal
MetalMetal
Metal
 
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลยเคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
เคมี กสพท ปี58 พร้อมเฉลย
 
Minboi
MinboiMinboi
Minboi
 
Chem electrochemistry
Chem electrochemistryChem electrochemistry
Chem electrochemistry
 
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมีทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

Plus de Preeyapat Lengrabam

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์Preeyapat Lengrabam
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...Preeyapat Lengrabam
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 

Plus de Preeyapat Lengrabam (13)

7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการสืบเสาะ...
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

เล่ม 2 สมการเคมี

  • 1.
  • 2. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี คานา เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” ซึ่งเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้นี้ มีจานวน 6 เล่ม เล่มที่ 1 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 2 เรื่อง สมการเคมี เล่มที่ 3 เรื่อง มวล พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 4 เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เล่มที่ 5 เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน เล่มที่ 6 เรื่อง การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้นี้จัดทาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้ครูและนักเรียน สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบไป ด้วยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน บันทึกกิจกรรมการทดลอง ใบงานและใบความรู้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอน นักเรียนหรือบุคคลที่สนใจทั่วไป ปรีช์ญภัทร เล่งระบา ก
  • 3. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง สมการเคมี 1 ใบความรู้ที่ 2.2 สมการเคมี 3 ใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 8 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง สมการเคมี 9 ภาคผนวก 11  เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 12  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง สมการเคมี 13  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง สมการเคมี 14 บรรณานุกรม 15 ข
  • 4. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่อง สมการเคมี คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. NaOH(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) ข้อใดกล่าวถึง NaCl ได้ถูกต้อง ก. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของแข็ง ข. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของเหลว ค. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นสารละลาย ง. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นของแข็ง 2. จากสมการเคมี Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + A A คือสารในข้อใด ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. แก๊สไฮโดรเจน ค. แก๊สคลอรีน ง. แก๊สออกซิเจน 3. จากสมการเคมีต่อไปนี้ CH4(g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) ข้อใดถูกต้อง ก. CH4 และ O2 เป็นสารตั้งต้น CO2 และ H2O เป็นผลิตภัณฑ์ ข. เป็นสมการเคมีที่ดุลแล้ว ค. แสดงว่า CH4 1 โมเลกุล รวมตัวกับ O2 2 โมเลกุล ได้ CO2 1 โมเลกุลและ H2O 2 โมเลกุล ง. ถูกทุกข้อ 4. สมการเคมีในข้อใดยังไม่ได้ดุล ก. H2SO4 + NaCl → NaHSO4 + HCl ข. NH4Cl + Ca(OH)2 → NH3 + 2H2O + CaCl2 ค. H2SO4 + 2NaOH → Na2SO4 + 2H2O ง. 2H2 + O2 → 2H2O 5. ข้อใดเป็นสมการเคมีที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมกับน้า ก. Ca + 2H2O → Ca(OH)2 + H2 ข. Ca + H2O → Ca(OH)2 + H2 ค. Ca + 2H2O → CaOH + H2 ง. Ca + H2O → CaOH + H2 1
  • 5. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6. รูปแทนปฏิกิริยาระหว่างธาตุ 2 ชนิด + → ก. H2 + Cl2 → 2HCl ข. N2 + O2 → 2NO ค. 2H2 + O2 → 2H2O ง. 2Na + Cl2 → 2NaCl 7. ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI) ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3) ข้อใดเขียนสมการของปฏิกิริยานี้ได้ถูกต้อง ก. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq) ข. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(aq) + KNO3(aq) ค. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(l) + 2KNO3(aq) ง. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq) 8. เมื่อสารตั้งต้น 2 ตัว ทาปฏิกิริยากัน ดังนี้ สารผลิตภัณฑ์คือข้อใด ก. ข. ค. ง. 9. 2H2O(l) ----> 2H2(g) + O2(g) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน 10. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน ********************************************************************** A B + C D A B + C D A B + A C A D + C D A D + B C 2
  • 6. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบความรู้ที่ 2.2 สมการเคมี สมการเคมี สมการเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่เขียนแทนด้วยตัวอักษรและสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุใน สารประกอบ เพื่อแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งบอกถึงปริมาณของสารตั้งต้นที่ใช้ทาปฏิกิริยากัน และปริมาณ ของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นหลังจากเกิดปฏิกิริยา สมการเคมีประกอบด้วย 1. สารตั้งต้น(reactants) คือสารที่ทาปฏิกิริยากันตอนต้น ถ้ามีมากกว่า 1 สาร ให้เขียนเครื่องหมาย (+) คั้นระหว่างสาร แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี 2. ผลิตภัณฑ์ (product) คือสารที่เกิดหลังจากปฏิกิริยากัน ถ้าหากเกิดมากกว่า 1 สาร ก็ให้เขียน เครื่องหมาย (+) แล้วเขียนแทนด้วยสูตรเคมี 3. เงื่อนไข เป็นภาวะต่างๆที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น อุณหภูมิ ตัวเร่งปฏิกิริยา เป็นต้น โดยเขียน บอกไว้บนหรือล่างลูกศรที่คั่นอยู่ระหว่างสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ แต่หากอยู่ในภาวะปกติก็ไม่ จาเป็นต้องเขียนก็ได้ สารตั้งต้น + สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ หลักการเขียนสมการเคมี 1. เขียนสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารตั้งต้นแต่ละชนิด 2. หาว่าในปฏิกิริยาเคมีนั้นเกิดสารผลิตภัณฑ์ใดขึ้นบ้างและเขียนสูตรเคมีของสารผลิตภัณฑ์ 3. ให้ระบุสถานะของสารไว้หลังสูตร โดยเขียนไว้ในวงเล็บ (s) = ของแข็ง (solid) เช่น โลหะ ,ลวด ,ตะกอน,ผลึก มีสถานะของแข็ง (l) = ของเหลว (liquid) เช่น น้า ,มีสถานะของเหลว (g) = แก๊ส (gas) เช่น ควัน ,แก๊สออกซิเจน ,แก๊ส ,ไอน้า มีสถานะแก๊ส (aq) = สารละลาย (aqueous solution) เช่น น้าเกลือ , สารละลาย มีสถานะสารละลาย ที่มีน้าเป็นตัวทาละลาย เงื่อนไข 3
  • 7. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมการเคมีที่สมบูรณ์จะต้องมีตัวเลขที่เหมาะสมมาเติมลงข้างหน้าสูตรเคมีหรือสัญลักษณ์ของสารใน สมการ เพื่อให้จานวนอะตอมของแต่ละธาตุในสารตั้งต้นเท่ากับจานวนอะตอมของแต่ละธาตุในผลิตภัณฑ์ ซึ่งเราเรียกว่า "การดุลสมการ" หลักการดุลสมการ 1. ทาจานวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ในโมเลกุลใหญ่ที่สุดให้เท่ากันก่อน หลังจากนั้นจึงดุลอะตอมของ ธาตุที่เล็กลงตามลาดับ 2. หากปฏิกิริยามีกลุ่มอะตอมหรือโมเลกุลให้ดุลเป็นกลุ่มก่อน จากนั้นค่อยดุลธาตุอิสระ (น้า (H2O) และธาตุอิสระ เช่น O2 ,H2 ,Zn , Na ,Al ให้ดุลเป็นอันดับสุดท้าย) 3. วางสัมประสิทธิ์หน้าสมการเคมีหรือตัวเลขไว้หน้าอะตอมหรือโมเลกุล แล้วนับจานวนแต่ละข้างให้ เท่ากัน 4. บางกรณีอาจจะต้องทาจานวนอะตอมของธาตุทั้ง 2 ข้างของสมการให้เป็นเลขคู่ก่อน เพื่อจะได้ดุล สมการได้สะดวก 5. ตรวจสอบความถูกต้อง ตัวอย่างการเขียนสมการเคมีและการดุลสมการเคมี 1. แก๊สไฮโดรเจน (H2) ทาปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน (O2) ได้น้า (H2O) ซึ่งมีสถานะเป็นของเหลว เขียน สมการได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 เขียนสมการเคมี ได้ดังนี้ H2(g) + O2(g) → H2O(l) ขั้นที่ 2 ดุลสมการเคมีได้ดังนี้ H2(g) + O2(g) → 2H2O(l) 2. แก๊สมีเทน (CH4) เมื่อติดไฟรวมกับแก๊สออกซิเจน (O2) ในอากาศจะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และ ไอน้า (H2O) ขั้นที่ 1 เขียนสมการเคมี ได้ดังนี้ CH4 (g) + O2(g) → CO2(g) + H2O(g) ขั้นที่ 2 ดุลสมการเคมีได้ดังนี้ CH4 (g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) 4
  • 8. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 1 C3H8 (g) + O2(g) → CO2 (g) + H2O (l) วิธีคิด 1. ดุลที่ธาตุ C ใน C3H8 และ CO2 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 3 หน้า CO2 จะได้ C3H8 (g) + O2(g) → 3CO2 (g) + H2O (l) 2. ดุลจานวนอะตอม H ใน C3H8 และ H2O ให้เท่ากัน โดยการเติม 4 หน้า H2O จะได้ C3H8 (g) + O2(g) → 3CO2 (g) + 4H2O (l) 3. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ O ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการเติม 5 หน้า O2 จะได้สมการ ที่ดุลแล้วเป็นดังนี้ C3H8 (g) + 5O2(g) → 3CO2 (g) + 4H2O (l) ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 2 Zn(s) + HCl(g) → ZnCl(aq) + H2(g) วิธีคิด 1. ดุลที่ธาตุ H ใน HCl และ H2 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า HCl จะได้ Zn(s) + 2HCl(g) → ZnCl(aq) + H2(g) 2. ดุลที่ธาตุ Cl ใน HCl และ ZnCl ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า ZnCl จะได้ Zn(s) + 2HCl(g) → 2ZnCl(aq) + H2(g) 3. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ Zn ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการเติม 2 หน้า Zn จะได้ สมการที่ดุลแล้วเป็นดังนี้ 2Zn(s) + 2HCl(g) → 2ZnCl(aq) + H2(g) http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31752 5
  • 9. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างการดุลสมการเคมี 3 Fe(s) + O2(g) → Fe2O3(g) วิธีคิด 1. ดุลที่ธาตุ Fe ใน Fe และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า Fe จะได้ 2Fe(s) + O2(g) → Fe2O3(g) 2. ดุลที่ธาตุ O ใน O2 และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 3 หน้า O2 จะได้ 2Fe(s) + 3O2(g) → Fe2O3(g) 3. ดุลที่ธาตุ O ใน O2 และ Fe2O3 ให้เท่ากันก่อนโดยการเติม 2 หน้า Fe2O3 จะได้ 2Fe(s) + 3O2(g)] → 2Fe2O3(g) 4. อันดับสุดท้ายดุลจานวนอะตอมของ Fe ทั้งสองข้างให้เท่ากันโดยการนา 2 มาคูณกับ 2Fe จะได้ สมการที่ดุลแล้วเป็นดังนี้ 4Fe(s) + 3O2(g) → 2Fe2O3(g) สรุปหลักในการเขียนสมการเคมี 1. ต้องทราบสูตรของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ และสถานะของสารทั้ง 2 ชนิด 2. ในกรณีที่สารเริ่มต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์ทิศทางเดียวให้เขียนสารเริ่มต้นไว้ทางด้านซ้ายส่วน ผลิตภัณฑ์อยู่ทางด้านขวา โดยใช้ → คั่นกลาง และในกรณีที่สารเริ่มต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์และ ผลิตภัณฑ์เปลี่ยนกลับมาเป็นสารเริ่มต้นได้ให้ใช้ 3. สมการเคมีที่จานวนอะตอมของธาตุในสารเริ่มต้นไม่เท่ากับจานวนอะตอมของธาตุในผลิตภัณฑ์ ให้ดุลสมการเคมี โดยดุลจานวนอะตอมของสารในโมเลกุลที่มีจานวนอะตอมมากก่อนโมเลกุลที่มีจานวน อะตอมน้อย 4. โมเลกุลของน้า (H2O) และธาตุอิสระ เช่น O2, Na, Cl และ H2 ให้ดุลจานวนอะตอมทีหลัง 6
  • 10. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ประเภทของปฏิกิริยาเคมี 1.ปฏิกิริยาการรวมตัว (Combination) ปฏิกิริยารวมตัวเกิดจากสารโมเลกุลเล็กกว่ารวมกันเป็นโมเลกุลใหญ่ หรือเกิดจากธาตุทาปฏิกิริยากับ ธาตุได้สารประกอบ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 2H2(g) + O2(g) → 2H2O(l) ตัวอย่างที่ 2 2Al(s) + 3Cl2(g) → 2AlCl3(s) 2.ปฏิกิริยาการแยกสลาย (Decomposition) ปฏิกิริยาการแยกสลายเกิดจากสารโมเลกุลใหญ่แยกสลายให้สารโมเลกุลเล็กๆ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 2H2O(l) → 2H2(g) + O2(g) ตัวอย่างที่ 2 CaCO3(s) → CaO(s) + CO2(g) 3.ปฏิกิริยาการแทนที่ (Replacement) ปฏิกิริยาการแทนที่เป็นปฏิกิริยาที่สารหนึ่งเข้าไปแทนที่สารในอีกสารหนึ่ง เช่น Zn (s) + CuSO4 (aq) → ZnSO4 (aq) + Cu (s) เผา https://sites.google.com/a/wyckoffschools.org/ems-chemistry/activity-5/types-of-chemical-reactions 7
  • 11. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี ใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 1. จงเขียนและดุลสมการต่อไปนี้ ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI) ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงดุลสมการต่อไปนี้ 2.1. K(s) + O2(g) → K2O(s) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2. Al(s) + O2(g) →Al2O3(s) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.3. H2SO4(aq) + NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + H2O(l) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.4. KClO3(s) → KCl(s) + O2(g) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทใด ปฏิกิริยา ประเภทของปฏิกิริยา 1. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) 2. 2HgO(s) 2Hg(l) + O2(g) 3. NH3(g) + HCl(aq)  NH4Cl(s) 4. C(s) + O2(g)  CO2(g) 5.Mg(s) + H2SO4(aq) MgSO4(aq)+H2(g) 8
  • 12. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบบทดสอบหลังเรียนชุดที่ 2 เรื่อง สมการเคมี คาชี้แจง 1. แบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ************************************************************************************************** 1. จากสมการเคมีต่อไปนี้ CH4(g) + 2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(g) ข้อใดถูกต้อง ก. CH4 และ O2 เป็นสารตั้งต้น CO2 และ H2O เป็นผลิตภัณฑ์ ข. เป็นสมการเคมีที่ดุลแล้ว ค. แสดงว่า CH4 1 โมเลกุล รวมตัวกับ O2 2 โมเลกุล ได้ CO2 1 โมเลกุลและ H2O 2 โมเลกุล ง. ถูกทุกข้อ 2. สมการเคมีในข้อใดยังไม่ได้ดุล ก. H2SO4 + NaCl → NaHSO4 + HCl ข. NH4Cl + Ca(OH)2 → NH3 + 2H2O + CaCl2 ค. H2SO4 + 2NaOH → Na2SO4 + 2H2O ง. 2H2 + O2 → 2H2O 3. ข้อใดเป็นวาการเคมีที่ดุลแล้วของปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมกับน้า ก. Ca + 2H2O → Ca(OH)2 + H2 ข. Ca + H2O → Ca(OH)2 + H2 ค. Ca + 2H2O → CaOH + H2 ง. Ca + H2O → CaOH + H2 4. NaOH(aq) + HCl(aq) → NaCl(aq) + H2O(l) ข้อใดกล่าวถึง NaCl ได้ถูกต้อง ก. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของแข็ง ข. เป็นสารตั้งต้น,มีสถานะเป็นของเหลว ค. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นสารละลาย ง. เป็นสารผลิตภัณฑ์,มีสถานะเป็นของแข็ง 5. จากสมการเคมี Mg(s) + 2HCl(aq) → MgCl2(aq) + A A คือสารในข้อใด ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. แก๊สไฮโดรเจน ค. แก๊สคลอรีน ง. แก๊สออกซิเจน 9
  • 13. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน 7. 2H2O(l) ----> 2H2(g) + O2(g) ปฏิกิริยานี้ เป็นปฏิกิริยาประเภทใด ก. การรวมตัว ข. การแยกสลาย ค. การแทนที่ ง. การสะเทิน 8. เมื่อสารตั้งต้น 2 ตัว ทาปฏิกิริยากัน ดังนี้ สารผลิตภัณฑ์คือข้อใด ก. ข. ค. ง. 9. ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI) ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3) ข้อใดเขียนสมการของปฏิกิริยานี้ได้ถูกต้อง ก. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq) ข. Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(aq) + KNO3(aq) ค. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(l) + 2KNO3(aq) ง. Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq) 10. รูปแทนปฏิกิริยาระหว่างธาตุ 2 ชนิด + → ก. H2 + Cl2 → 2HCl ข. N2 + O2 → 2NO ค. 2H2 + O2 → 2H2O ง. 2Na + Cl2 → 2NaCl ********************************************************************** A B + C D A B + C D A B + A C A D + C D A D + B C 10
  • 14. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 11  เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี  เฉลยข้อสอบก่อนเรียน เรื่อง สมการเคมี  เฉลยข้อสอบหลังเรียน เรื่อง สมการเคมี
  • 15. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยใบงานที่ 2.2 สมการเคมี 1. จงเขียนและสมการต่อไปนี้ ผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต (Pb(NO3)2) กับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์(KI) ได้ตะกอนสีเหลืองของเลด (II) ไอโอไดด์(PbI2)และสารละลายโพแทสเซียมไนเตรต(KNO3) ตอบ สมการเคมี : Pb(NO3)2(aq) + KI(aq) → PbI2(s) + KNO3(aq) ดุลสมการ : Pb(NO3)2(aq) + 2KI(aq) → PbI2(s) + 2KNO3(aq) 2. จงดุลสมการต่อไปนี้ 2.1. K(s) + O2(g) → K2O(s) ดุลสมการ : 4K(s) + O2(g) → 2K2O(s) 2.2. Al(s) + O2(g) →Al2O3(s) ดุลสมการ : 4Al(s) + 3O2(g) → 2Al2O3(s) 2.3. H2SO4(aq) + NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + H2O(l) ดุลสมการ : 2H2SO4(aq) + 2NaOH(aq) → Na2SO4(aq) + 3H2O(l) 2.4. KClO3(s) → KCl(s) + O2(g) ดุลสมการ : 2KClO3(s) → 2KCl(s) + 3O2(g) 3. ปฏิกิริยาต่อไปนี้เป็นปฏิกิริยาประเภทใด ปฏิกิริยา ประเภทของปฏิกิริยา 1. HCl(aq) + NaOH(aq)  NaCl(aq)+H2O(l) ปฏิกิริยาการแทนที่ 2. 2HgO(s) 2Hg(l) + O2(g) ปฏิกิริยาการแยกสลาย 3. NH3(g) + HCl(aq)  NH4Cl(s) ปฏิกิริยาการรวมตัว 4. C(s) + O2(g)  CO2(g) ปฏิกิริยาการรวมตัว 5.Mg(s) + H2SO4(aq) MgSO4(aq)+H2(g) ปฏิกิริยาการแทนที่ 12
  • 16. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องสมการเคมี ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  13
  • 17. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง สมการเคมี ข้อ ก ข ค ง 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  14
  • 18. เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่อง การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. _____.(2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. _____. เทคโนโลยี. (2554). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. เสียง เชษฐศิริพงศ์. (2556). MINI วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. _____. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จากัด. ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์ภูมิบัณฑิต. (ม.ป.ป.). คู่มือ-เตรียมสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร 51. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ภูมิบัณฑิตการพิมพ์ จากัด. ประดับ นาคแก้ว และดาวัลย์ เสริมสุขบุญ. (2555). วิทยาศาสตร์ ม.2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สานักพิมพ์แม็ค จากัด. รศ. ดร. ยุพา วรยศ และคนอื่น ๆ. (ม.ป.ป.). วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด. 15