SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
1.1 ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี (Technology) คือการประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มา
ใช้ให้เกิดประโยชน์ ที่เกี่ยวข้องการผลิต การสร้างวิธีการดาเนินงาน และรวมถึงอุปกรณ์
ต่างๆ ที่ไม่ได้มีในตามธรรมชาติโลกแห่งเทคโนโลยียุคนี้ ทาให้มนุษย์ได้รับสิ่งอานวยความ
สะดวกจากเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการดาเนินชีวิตประจาวันมากมายนับไม่ถ้วน
สารสนเทศ (Information) คือผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผล ข้อมูลดิบ ด้วยการ
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และนามาผ่านกระบวนการประเมินผล ไม่ว่าจะเป็นการจัด
กลุ่มข้อมูล การเรียงลาดับข้อมูล การคานวณและสรุปผล จากนั้นก็นามาเสนอในรูปแบบ
ของรายงานที่เหมาะสมต่อการใช้งานที่ก่อเกิดประโยชน์การดาเนินชีวิตของมนุษย์ ไม่ว่าจะ
เป็นด้านของชีวิตประจาวัน ข่าวสาร ความรู้ด้านวิชาการ ธุรกิจ
เมื่อนาคาว่า เทคโนโลยี และ สารสนเทศ รวมเข้าไว้ด้วยกันแล้ว จึงสรุป
ความหมายโดยรวมได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) คือการ
ประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาสาสตร์มาจัดการสารสนเทศที่ต้องการ โดยอาศัย
เครื่องมือทางเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีด้านเครือข่าย
โทรคมนาคมและการสื่อสาร ตลอดจนอาศัยความรู้ในกระบวนการดาเนินงาน
สารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่การแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ รวมถึงการ
จัดการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนสารสนเทศด้วย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถูกต้อง
แม่นยา และความรวดเร็วทันต่อการนามาใช้ประโยชน์ได้นั่นเอง
1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
1.2.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ
เช่น คีย์บอร์ด (keyboard) เมาส์ (mouse) จอภาพ (monitor) จอภาพสัมผัส (touch
screen) ปากกาแสง (light pen) เครื่องอ่านรหัสแท่ง (barcode reader) เครื่องพิมพ์
(printer) ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเสื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็น
เครือข่าย เช่น โมเด็ม (modem) และสายสัญญาณ
1.2.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่ใช้ควบคุมการทางาน
ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เพื่อให้ทางานตามคาสั่งของผู้ใช้ โดยทั่วไป
โปรแกรม หรือชุดคาสั่ง
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (system software)
ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ (application software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางาน
ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆและทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น
ระบบปฏิบัติการ(Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่หน้าที่ควบคุมการทางาน
ของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยจะทาหน้าที่ดูแลและจัดหา
ให้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งอยู่ทางานประสานกันอย่างเป็นระบบ ตัวอย่าง
ระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์ (windows) ลินุกซ์ (Linux) และแมคโอเอส (mac OS)
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utilities program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยเสริมการทางาน
ของคอมพิวเตอร์ หรือช่วยโปรแกรมใช้งานอื่นๆ ให้มีความสามารถใช้งานได้สะดวกและ
รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล (file manager) โปรแกรมที่ใช้งานได้
สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการบีบอัดแฟ้ มข้อมูล (file compression)
และโปรแกรมที่ใช้ในการจัดพื้นที่ของดิสก์ (disk defragmenter)
โปรแกรมขับอุปกรณ์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์(device driver) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการ
ติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อหรือใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ
โปรแกรมแปลภาษา เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้
ภาษา เช่น ตัวแปลภาษาจาวา ตัวแปลภาษาชี
ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง ซอร์ฟแวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (basic) ปาสคาล (pascal) โคบอล (cobol) ซี (C)
ซีพลัสพลัส (C ++) และวาจา (Java) ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้
1.2.3 บุคลากร (people) บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ
ในที่นี้หมายถึงบุคคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศบุคคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบ
สารสนเทศจะต้องมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพให้
สามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ง่ายและสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความ
เข้าใจ และมีความสามารถในการใช้งานระบบ สารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่าง
ถูกต้องจึงเกิดสารสนเทศที่เป็นประโยชน์
1.2.4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจนเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่ายและดาเนินงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล
ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย หรือเมื่อเครื่อง
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการ
รวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม ของคู่มือการใช้งาน
1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
1.3.1 ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เพื่ออานวยความ
สะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน
นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการ
เรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
1.3.2 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูก
นามาใช้เริ่มตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้การรักษาพยาบาลทั่วไปตลอดจนการวินิจฉัยและ
รักษาโรคต่างๆได้อย่ารวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลองการศึกษาและการ
วิจัยทางการแพทย์รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่านเครือข่ายการ
สื่อสารเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูก
นามาใช้ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง
1.3.4 ด้านการเงินการธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ในด้าน
การเงินและธนาคาร โดยใช้ช่วยงานด้นบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ
แลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารการธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินการธนาคารที่
รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝากถอนเงิน การโอนเงินแบบเล็กทรอนิกส์
1.3.5 ด้านความมั่นคง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกันอย่างแพร่หลาย
เช่น ใช้ในการควบคุมประสานงานวงจรสื่อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจารกรรมระหว่าง
ประเทศ การส่งดาวทียมและการคานวณวิถีการโคจรของจรวดไปสู่อวกาศ สานักงานตารวจ
แห่งชาติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวลข่าวสาร มีระบบมีระบบจัดทาระเบียนปืน ทะเบียน
ประวัติอาชญากร ทาให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสืบสวนคดี
ต่างๆ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก้านความมั่นคง
1.3.6 ด้านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในส่วนที่เกี่ยวกับ
การเดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีกรเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่นั่งไปยังทุกสถานีทาให้
สะดวกต่อผู้โดยสารการเช็คอินของสายการบิน ได้จัดทาเครื่องมือที่สะดวกต่อลูกค้าในรูปแบบ
ของการเช็คอินด้วยตนเอง
1.3.7 ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคาร
เมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง ตัวอย่าง
ซอฟแวร์การเกิดแผ่นดินไหว
1.3.8 ด้านการพาณิชย์ องค์กรในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารในการบริหารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับองค์กรในการทางาน ทาให้
การประสานงานหรือการทากิจกรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานในองค์กร หรือระหว่างองค์กร
เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารมาใช้ในด้านการพาณิชย์ เช่น การให้บริการชาระค่าสินค้าบริการ การสั่งซื้อสินค้าทาง
อินเทอร์เน็ต และการตรวจสอบราคาสินค้าผ่านเครื่องอ่านราคาสินค้า
1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร
1.4.1ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบันเห็น
ได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่ม
จากวิทยุเรียกตัว(pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็น
โทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถ
ใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดาโทรศัพท์เคลื่อนที่
รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงาน
สั้นๆโทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลซึ่ง
สามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทา
ให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์ สไตลัส
1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็น
ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียวต่อมามีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์
เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จน
เกิดเป็นระบบรับและให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ โดยมีเครื่องให้บริการ และ
เครื่องรับบริการ ปัจจุบันมีการใช้แลนไร้สาย ในสถาบันการศึกษา และองค์กรหลายแห่ง การ
ให้บริการแลนไร้สาย หรือ( Wi-Fi )ตามห้างสรรพสินค้า ร้านขายเครื่องดื่ม หรือห้องรับรอง
ของโรงแรมใหญ่ ภายใต้ความร่วมมือของผู้ให้บริการนอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้เทคโนโลยี
ติดตามตาแหน่งรถด้วยจีพีเอส ( Global Positioning System: GPS ) กับรถแท็กซี่เพื่อความ
ปลอดภัยทั้งผู้โดยสารและผู้ขับรถ
1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามาแทนที่
มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ
ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบทางานอัตโนมัติเช่นนี้อาจกลายเป็นระบบ
หลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดยเข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์ มีการ
เชื่อมต่อเครือข่ายอย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
ตัวอย่างระบบจอดรถอัตโนมัติ
1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร
1.5.1 ด้านสังคม สภาพเหมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ จน
เกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่ง
มีกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า และการบริการ การทางานผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง
พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง ห้องประชุมเสมือนจริง และที่ทางานเสมือนจริง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการ
เดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา
1.5.2 ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคม
โลกาภิวัฒน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่จะส่งกระจายผ่าน
ดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการ
ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจาย
เป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว้างขวางและ
รวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
1.5.3 ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประโยชน์ในด้าน
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม
หรือภาพถ่ายทางอากาศร่วมกับการจดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจาก
ระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อ
ป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
1.6.1 นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทาหน้าที่ในการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า
โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
1.6.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst) ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และ
พัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทา
การวิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของ
ผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย
1.6.3 ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator) ทาหน้าที่บริหารและ
จัดการฐานข้อมูล(Database)รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบ
ความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
1.6.4 ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการ
ระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้งและบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้ง
ฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและการปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้าง ออกแบบและบารุงรักษาบัญชีผู้ใช้
สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
1.6.5 ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network administrator) ทาหน้าที่บริหาร
และจัดการออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และดูแลรักษาความปลอดภัยของระบบ
เครือข่ายขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของพนักงานและติดตั้งโปรแกรม
ป้ องกันผู้บุกรุกเครือข่าย
1.6.6 ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (Webmaster) ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา
ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มีความทันสมัย โดยเฉพะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุง
ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
1.6.7 เจ้าหน้าที่เทคนิค (Technician) ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
ติดตั้งโปรแกรม หรือติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจากการ

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
devilp Nnop
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
Art Asn
 

Tendances (20)

1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
1
11
1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

En vedette

OConnorDescriptiveEssay
OConnorDescriptiveEssayOConnorDescriptiveEssay
OConnorDescriptiveEssay
Matt Thura
 
Internship Evaluation - Jorge Huerta
Internship Evaluation - Jorge HuertaInternship Evaluation - Jorge Huerta
Internship Evaluation - Jorge Huerta
Jorge Huerta III
 
Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...
Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...
Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...
Farhad B. Hashemi, PhD
 
Elegant Power Systems
Elegant Power SystemsElegant Power Systems
Elegant Power Systems
Chaya N
 

En vedette (20)

OConnorDescriptiveEssay
OConnorDescriptiveEssayOConnorDescriptiveEssay
OConnorDescriptiveEssay
 
Jash mehta rca
Jash mehta rcaJash mehta rca
Jash mehta rca
 
áLbum de-fotografías-audio-y-video - copia
áLbum de-fotografías-audio-y-video - copiaáLbum de-fotografías-audio-y-video - copia
áLbum de-fotografías-audio-y-video - copia
 
Eitc team 1 of v3 annotated bibliography
Eitc team 1 of v3  annotated bibliographyEitc team 1 of v3  annotated bibliography
Eitc team 1 of v3 annotated bibliography
 
EL UNIVERSO
EL UNIVERSOEL UNIVERSO
EL UNIVERSO
 
Web 2
Web 2Web 2
Web 2
 
Jof V 2016
Jof V 2016Jof V 2016
Jof V 2016
 
Clasificacion de flujos de fluidos power
Clasificacion de flujos de fluidos powerClasificacion de flujos de fluidos power
Clasificacion de flujos de fluidos power
 
UC and Prototyping
UC and PrototypingUC and Prototyping
UC and Prototyping
 
Jash mehta erd assignment
Jash mehta erd assignmentJash mehta erd assignment
Jash mehta erd assignment
 
Business Data Mapping assignment 9
Business Data Mapping assignment 9Business Data Mapping assignment 9
Business Data Mapping assignment 9
 
Jash mehta assignment 1Business Model
Jash mehta assignment 1Business ModelJash mehta assignment 1Business Model
Jash mehta assignment 1Business Model
 
Jash mehta process modelling
Jash mehta process modellingJash mehta process modelling
Jash mehta process modelling
 
Eitc team 2 tech talk-final
Eitc team 2  tech talk-finalEitc team 2  tech talk-final
Eitc team 2 tech talk-final
 
Internship Evaluation - Jorge Huerta
Internship Evaluation - Jorge HuertaInternship Evaluation - Jorge Huerta
Internship Evaluation - Jorge Huerta
 
Pawer de didactica
Pawer de didacticaPawer de didactica
Pawer de didactica
 
Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...
Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...
Activation-of-human-immunodeficiency-virus-type-1-expression-by-Gardnerella-v...
 
Elegant Power Systems
Elegant Power SystemsElegant Power Systems
Elegant Power Systems
 
Autoestima y rendimiento escolar.
Autoestima y rendimiento escolar.Autoestima y rendimiento escolar.
Autoestima y rendimiento escolar.
 
Pawer de didactica
Pawer de didacticaPawer de didactica
Pawer de didactica
 

Similaire à บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
phatrinn555
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
jongjang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
nattarikaii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
nattarikaii
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
nattarikaii
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
G'ad Smile
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
a35974185
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
G'ad Smile
 

Similaire à บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
3 เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวัน (ใบความรู้)
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
Kn technology
Kn technologyKn technology
Kn technology
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
สวัสดี
สวัสดีสวัสดี
สวัสดี
 
สวัสดี
สวัสดีสวัสดี
สวัสดี
 

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 1.
  • 2. 1.1 ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยี (Technology) คือการประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มา ใช้ให้เกิดประโยชน์ ที่เกี่ยวข้องการผลิต การสร้างวิธีการดาเนินงาน และรวมถึงอุปกรณ์ ต่างๆ ที่ไม่ได้มีในตามธรรมชาติโลกแห่งเทคโนโลยียุคนี้ ทาให้มนุษย์ได้รับสิ่งอานวยความ สะดวกจากเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับการดาเนินชีวิตประจาวันมากมายนับไม่ถ้วน สารสนเทศ (Information) คือผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผล ข้อมูลดิบ ด้วยการ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และนามาผ่านกระบวนการประเมินผล ไม่ว่าจะเป็นการจัด กลุ่มข้อมูล การเรียงลาดับข้อมูล การคานวณและสรุปผล จากนั้นก็นามาเสนอในรูปแบบ ของรายงานที่เหมาะสมต่อการใช้งานที่ก่อเกิดประโยชน์การดาเนินชีวิตของมนุษย์ ไม่ว่าจะ เป็นด้านของชีวิตประจาวัน ข่าวสาร ความรู้ด้านวิชาการ ธุรกิจ
  • 3. เมื่อนาคาว่า เทคโนโลยี และ สารสนเทศ รวมเข้าไว้ด้วยกันแล้ว จึงสรุป ความหมายโดยรวมได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) คือการ ประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาสาสตร์มาจัดการสารสนเทศที่ต้องการ โดยอาศัย เครื่องมือทางเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีด้านเครือข่าย โทรคมนาคมและการสื่อสาร ตลอดจนอาศัยความรู้ในกระบวนการดาเนินงาน สารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่การแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ รวมถึงการ จัดการเผยแพร่และแลกเปลี่ยนสารสนเทศด้วย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถูกต้อง แม่นยา และความรวดเร็วทันต่อการนามาใช้ประโยชน์ได้นั่นเอง
  • 4. 1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1.2.1 ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เช่น คีย์บอร์ด (keyboard) เมาส์ (mouse) จอภาพ (monitor) จอภาพสัมผัส (touch screen) ปากกาแสง (light pen) เครื่องอ่านรหัสแท่ง (barcode reader) เครื่องพิมพ์ (printer) ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเสื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็น เครือข่าย เช่น โมเด็ม (modem) และสายสัญญาณ
  • 5. 1.2.2 ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่ใช้ควบคุมการทางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ เพื่อให้ทางานตามคาสั่งของผู้ใช้ โดยทั่วไป โปรแกรม หรือชุดคาสั่ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ (application software)
  • 6. ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆและทาหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น ระบบปฏิบัติการ(Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่หน้าที่ควบคุมการทางาน ของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ทั้งหมดภายในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยจะทาหน้าที่ดูแลและจัดหา ให้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งอยู่ทางานประสานกันอย่างเป็นระบบ ตัวอย่าง ระบบปฏิบัติการ เช่น วินโดวส์ (windows) ลินุกซ์ (Linux) และแมคโอเอส (mac OS) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (utilities program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยเสริมการทางาน ของคอมพิวเตอร์ หรือช่วยโปรแกรมใช้งานอื่นๆ ให้มีความสามารถใช้งานได้สะดวกและ รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล (file manager) โปรแกรมที่ใช้งานได้ สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น โปรแกรมที่ใช้ในการบีบอัดแฟ้ มข้อมูล (file compression) และโปรแกรมที่ใช้ในการจัดพื้นที่ของดิสก์ (disk defragmenter)
  • 7. โปรแกรมขับอุปกรณ์หรือดีไวซ์ไดร์ฟเวอร์(device driver) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการ ติดตั้งระบบเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อหรือใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ โปรแกรมแปลภาษา เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นรหัสที่อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ ภาษา เช่น ตัวแปลภาษาจาวา ตัวแปลภาษาชี
  • 8. ซอร์ฟแวร์ประยุกต์ (application software) หมายถึง ชุดคาสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทางานตามวัตถุประสงค์เฉพาะอย่าง ซอร์ฟแวร์ประยุกต์อาจเขียนขึ้นโดยใช้ โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ เช่น เบสิก (basic) ปาสคาล (pascal) โคบอล (cobol) ซี (C) ซีพลัสพลัส (C ++) และวาจา (Java) ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งตามกลุ่มการใช้งานได้
  • 9. 1.2.3 บุคลากร (people) บุคลากรเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ ในที่นี้หมายถึงบุคคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศบุคคลากรที่เป็นผู้พัฒนาระบบ สารสนเทศจะต้องมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพให้ สามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ง่ายและสะดวก ส่วนผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความ เข้าใจ และมีความสามารถในการใช้งานระบบ สารสนเทศและการสื่อสารต่างๆ ได้อย่าง ถูกต้องจึงเกิดสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ 1.2.4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (procedure) ระบบสารสนเทศต้องมีขั้นตอนการ ปฏิบัติงานที่เป็นลาดับขั้นชัดเจนเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ง่ายและดาเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพทั้งในสถานการณ์ปกติและสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อข้อมูลได้รับความเสียหาย หรือเมื่อเครื่อง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ เกิดการชารุดเสียหาย ขั้นตอนต่างๆ เหล่านี้ควรได้รับการ รวบรวมและจัดทาให้เป็นรูปเล่ม ของคู่มือการใช้งาน
  • 10. 1.3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 1.3.1 ด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เพื่ออานวยความ สะดวกในการบริหารด้านการศึกษา เช่น ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัดตารางสอน นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มโอกาสทางด้านการศึกษาและเพิ่มประสิทธิภาพการ เรียนการสอนตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในด้านการศึกษา
  • 11. 1.3.2 ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูก นามาใช้เริ่มตั้งแต่การทาทะเบียนคนไข้การรักษาพยาบาลทั่วไปตลอดจนการวินิจฉัยและ รักษาโรคต่างๆได้อย่ารวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลองการศึกษาและการ วิจัยทางการแพทย์รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่านเครือข่ายการ สื่อสารเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูก นามาใช้ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง
  • 12. 1.3.4 ด้านการเงินการธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ในด้าน การเงินและธนาคาร โดยใช้ช่วยงานด้นบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ แลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารการธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงินการธนาคารที่ รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝากถอนเงิน การโอนเงินแบบเล็กทรอนิกส์ 1.3.5 ด้านความมั่นคง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกันอย่างแพร่หลาย เช่น ใช้ในการควบคุมประสานงานวงจรสื่อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจารกรรมระหว่าง ประเทศ การส่งดาวทียมและการคานวณวิถีการโคจรของจรวดไปสู่อวกาศ สานักงานตารวจ แห่งชาติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวลข่าวสาร มีระบบมีระบบจัดทาระเบียนปืน ทะเบียน ประวัติอาชญากร ทาให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสืบสวนคดี ต่างๆ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก้านความมั่นคง 1.3.6 ด้านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในส่วนที่เกี่ยวกับ การเดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีกรเชื่อมโยงข้อมูลการจองที่นั่งไปยังทุกสถานีทาให้ สะดวกต่อผู้โดยสารการเช็คอินของสายการบิน ได้จัดทาเครื่องมือที่สะดวกต่อลูกค้าในรูปแบบ ของการเช็คอินด้วยตนเอง
  • 13. 1.3.7 ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคาร เมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง ตัวอย่าง ซอฟแวร์การเกิดแผ่นดินไหว 1.3.8 ด้านการพาณิชย์ องค์กรในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในการบริหารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับองค์กรในการทางาน ทาให้ การประสานงานหรือการทากิจกรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานในองค์กร หรือระหว่างองค์กร เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอย่างของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารมาใช้ในด้านการพาณิชย์ เช่น การให้บริการชาระค่าสินค้าบริการ การสั่งซื้อสินค้าทาง อินเทอร์เน็ต และการตรวจสอบราคาสินค้าผ่านเครื่องอ่านราคาสินค้า
  • 14. 1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 1.4.1ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบันเห็น ได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่ม จากวิทยุเรียกตัว(pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็น โทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถ ใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดาโทรศัพท์เคลื่อนที่ รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงาน สั้นๆโทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลซึ่ง สามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทา ให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์ สไตลัส
  • 15. 1.4.2 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็น ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียวต่อมามีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จน เกิดเป็นระบบรับและให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ-ให้บริการ โดยมีเครื่องให้บริการ และ เครื่องรับบริการ ปัจจุบันมีการใช้แลนไร้สาย ในสถาบันการศึกษา และองค์กรหลายแห่ง การ ให้บริการแลนไร้สาย หรือ( Wi-Fi )ตามห้างสรรพสินค้า ร้านขายเครื่องดื่ม หรือห้องรับรอง ของโรงแรมใหญ่ ภายใต้ความร่วมมือของผู้ให้บริการนอกจากนี้ยังเริ่มมีการใช้เทคโนโลยี ติดตามตาแหน่งรถด้วยจีพีเอส ( Global Positioning System: GPS ) กับรถแท็กซี่เพื่อความ ปลอดภัยทั้งผู้โดยสารและผู้ขับรถ
  • 16. 1.4.3 ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอัตโนมัติที่สามารถตัดสินใจได้เองจะเข้ามาแทนที่ มากขึ้น เช่น ระบบแนะนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหน่งของวัตถุ ระบบควบคุมความปลอดภัยภายในอาคาร ระบบทางานอัตโนมัติเช่นนี้อาจกลายเป็นระบบ หลักในการดาเนินการของหน่วยงานต่างๆ โดยเข้ามาแทนที่การทางานของมนุษย์ มีการ เชื่อมต่อเครือข่ายอย่างกว้างขวางไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ตัวอย่างระบบจอดรถอัตโนมัติ
  • 17. 1.5 ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 1.5.1 ด้านสังคม สภาพเหมือนจริง การใช้อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงการทางานต่างๆ จน เกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไวเบอร์สเปซ (cyber space) ซึ่ง มีกิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า และการบริการ การทางานผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริง (virtual) เช่น เกมเสมือนจริง ห้องสมุดเสมือนจริง พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง ห้องประชุมเสมือนจริง และที่ทางานเสมือนจริง ซึ่งทาไห้ลดเวลาในการ เดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา 1.5.2 ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคม โลกาภิวัฒน์(globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่จะส่งกระจายผ่าน ดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการ ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจากัดภายในประเทศ ก็กระจาย เป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างกว้างขวางและ รวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
  • 18. 1.5.3 ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประโยชน์ในด้าน ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศร่วมกับการจดเก็บรักษาข้อมูลระดับน้าทะเล ความสูงของคลื่นจาก ระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนาข้อมูลมาวางแผนและสร้างระบบเพื่อ ป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
  • 19. 1.6 ตัวอย่างอาชีพทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 1.6.1 นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทาหน้าที่ในการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า โปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือโปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร 1.6.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst) ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และ พัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทา การวิเคราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของ ผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึงงานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย
  • 20. 1.6.3 ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator) ทาหน้าที่บริหารและ จัดการฐานข้อมูล(Database)รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบ ความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การกาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้ 1.6.4 ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการ ระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้งและบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้ง ฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและการปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้าง ออกแบบและบารุงรักษาบัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
  • 21. 1.6.5 ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (Network administrator) ทาหน้าที่บริหาร และจัดการออกแบบระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และดูแลรักษาความปลอดภัยของระบบ เครือข่ายขององค์กร เช่น ตรวจสอบการใช้งานเครือข่ายของพนักงานและติดตั้งโปรแกรม ป้ องกันผู้บุกรุกเครือข่าย 1.6.6 ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (Webmaster) ทาหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต์ให้มีความทันสมัย โดยเฉพะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ 1.6.7 เจ้าหน้าที่เทคนิค (Technician) ทาหน้าที่ซ่อมบารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ ติดตั้งโปรแกรม หรือติดตั้งฮาร์ดแวร์ต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดจากการ