SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1
(มิถุนายน)
เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน:
บทเรียนจาก ASEANTOM
เสกสรร อานันทศิริเกียรติ
นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
บทนา
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนมาโดยตลอดตั้งแต่
การก่อตั้งอาเซียนในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1967 และได้มีบทบาทในการขับเคลื่อนความก้าวหน้าของ
ประชาคมอาเซียนในอีกหลายวาระ เช่น การผลักดันข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free
Trade Area: AFTA) การผลักดันแผนความเชื่อมโยงอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity:
MPAC) ค.ศ. 2019 เป็นปีที่ไทยได้รับมอบหมายให้เป็นประธานอาเซียน พร้อมกับเป็นประธานเครือข่าย
กากับความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสีในอาเซียน (ASEAN Network of Regulatory Bodies on
Atomic Energy: ASEANTOM) บทความนี้เป็นการประมวลพัฒนาการของอาเซียนเกี่ยวกับนิวเคลียร์
และบทบาทของประเทศไทยในการสร้างและขับเคลื่อนเครือข่ายดังกล่าว
พัฒนาการเชิงสถาบันของอาเซียนที่ปลอดนิวเคลียร์
ในระดับภูมิภาค กลุ่มประเทศอาเซียนได้ลงนามสนธิสัญญาเขตปลอดนิวเคลียร์ในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone: SEANWFZ Treaty) ใน ค.ศ. 1995
สนธิสัญญาดังกล่าวลงนามครบถ้วนใน ค.ศ. 1997 หลังจากปัญหากัมพูชาคลี่คลายและอาเซียนได้รับ
สมาชิกใหม่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสมาคม ประเด็นหลักของสนธิสัญญานี้คือ "ไม่ให้รัฐภาคีพัฒนา ผลิต
ครอบครอง หรือทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ภายในเขตอาณา เขตเศรษฐกิจจาเพาะ และไหล่ทวีป" แน่นอนว่า
สนธิสัญญานี้จะไม่มีความหมาย หากประเทศผู้ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์หลักทั้งห้าประเทศ ได้แก่
สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส รัสเซีย และจีน ไม่ลงนาม ในบรรดาห้าประเทศนี้ มีเพียงจีน
ฉบับที่ 2 / 2562
Policy Brief
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2
เท่านั้นที่พร้อมลงนาม อย่างไรก็ดี อาเซียนประสงค์ให้ทุกประเทศลงนามพร้อมกัน1
จนถึงปัจจุบัน ก็ยังไม่
มีประเทศใดลงนามสนธิสัญญาดังกล่าว
หลังจากสนธิสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ใน ค.ศ. 1997 การประชุมอาเซียนว่าด้วยการเมืองและ
ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum: ARF) ได้สานต่อประเด็นดังกล่าว
อย่างต่อเนื่องดังที่ปรากฏในแถลงการณ์แต่ละปี ใน ค.ศ. 2004 ARF ได้ออกแถลงการณ์ว่าด้วยการลด
อาวุธนิวเคลียร์ (ARF Statement on Nuclear Non-Proliferation) มาโดยเฉพาะ แถลงการณ์ดังกล่าว
แสดงความตระหนักถึงภัยคุกคามของการสะสมและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ พร้อมกับรับรองข้อมติของ
คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1540 ที่กาหนดมาตรการควบคุมการขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี
ระหว่างประเทศ และกาหนดให้กิจกรรมสะสมอาวุธนิวเคลียร์โดยตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐเป็นภัยคุกคาม ARF
ยังได้กาหนดให้มีเวทีเพื่ออภิปรายและแสดงจุดยืนในประเด็นนิวเคลียร์ระดับภูมิภาคอื่น ๆ เช่น เกาหลี
เหนือ อิหร่าน ด้วย
ค.ศ. 2007 ถือว่าเป็นปีที่สาคัญของอาเซียน ประเทศอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรอาเซียน (ASEAN
Charter) ซึ่งเป็นธรรมนูญของประชาคมที่ทุกประเทศต้องยึดถือ กฎบัตรดังกล่าวระบุถึงเป้าประสงค์ของ
อาเซียนในมาตรา 1 ข้อ 3 ไว้ว่า วัตถุประสงค์ของอาเซียนคือ "เพื่อธารงรักษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้
เป็นเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์และปราศจากอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูงอื่น ๆ ทุกชนิด"2
นอกจาก
ประเด็นการลดอาวุธนิวเคลียร์แล้ว อาเซียนยังได้หารือความร่วมมือด้านพลังงานนิวเคลียร์ในอาเซียน
ด้วย ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นพ้องให้จัดตั้งเครือข่ายย่อยด้านความร่วมมือด้านพลังงานนิวเคลียร์
(Nuclear Energy Cooperation Sub-Sector Network: NEC-SSN) ใน ค.ศ. 2008 เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ช่วยเหลือด้านเทคนิค สร้างเครือข่าย ฝึกอบรมด้านนิวเคลียร์เพื่อการผลิตพลังงานไฟฟ้า
บทบาทนาของประเทศไทยในการสร้าง ASEANTOM
อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ของโรงไฟฟ้าฟุกุฌิมะ (Fukushima Nuclear Accident) ในเดือนมีนาคม
2011 ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของประชาชนเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์อย่างยิ่ง หลายประเทศเลื่อน
แผนการสร้างโรงไฟฟ้าออกไปแม้จะมีความต้องการทางพลังงานอย่างสูงมาก อุบัติเหตุครั้งนั้นทาให้เห็น
ว่าหากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ระเบิดย่อมส่งผลข้ามพรมแดนได้ แม้แต่ญี่ปุ่นซึ่งเป็นผู้นาด้านเทคโนโลยี
นิวเคลียร์ และเป็นตัวแบบสาหรับอาเซียนเองยังมีความเสี่ยง และรับผลกระทบสาหัสเมื่อโรงไฟฟ้าระเบิด
บริบทเช่นนี้ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเกิดความตระหนักในปัญหาความปลอดภัยและความมั่นคงของ
1
"สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ)
Treaty," กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, เข้าถึงได้จาก
http://planning.nida.ac.th/main/images/Planning%20Division/ASEAN/Southeast_Asia_Nuclear_Weapon-Free_Zone_-
_SEANWFZ.pdf (วันที่ค้นข้อมูล 13 มิถุนายน 2562).
2
"กฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้," กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, เข้าถึงได้จาก
http://www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121203-180519-958411.pdf (วันที่ค้นข้อมูล 13 มิถุนายน 2562).
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์อย่างยิ่งยวด หลายประเทศ เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย เวียดนาม เลื่อนแผนการ
สร้างโรงไฟฟ้าออกไปอย่างไม่มีกาหนด
สาหรับประเทศไทย สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) เป็นหน่วยงานหลักที่ผลักดันข้อริเริ่มว่า
ด้วยการจัดตั้ง ASEANTOM โดยเริ่มจากการเชิญผู้แทนจากหน่วยงานกากับดูแลการใช้พลังงานปรมาณู
ในทางสันติจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดมาเข้าร่วมการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยความ
ปลอดภัย ความมั่นคงและการพิทักษ์ในการใช้พลังงานปรมาณูทางสันติที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 1-2
กันยายน 2011 ปส. ได้เสนอความเห็นในการจัดตั้งเครือข่ายในที่ประชุม และได้รับการตอบรับอย่างดี
จากผู้เข้าร่วม และดาเนินการตั้งคณะทางานโดยมีผู้แทนจากส่วนราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรม
อาเซียน กรมองค์การระหว่างประเทศ สานักศึกษาและประสานพลังงานนิวเคลียร์ กระทรวงพลังงาน
สานักความร่วมมือระหว่างประเทศและวิเทศสัมพันธ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3
ส่วนที่ผู้เขียนเห็นว่า มีความสาคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งคือ ความพยายามของการผลักดัน
ประเทศดังกล่าวร่วมกันในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ส่งผู้แทนเป็นคณะทางาน เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีนาเสนอผ่านการประชุมคณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ASEAN
Committee on Science and Technology: ASEAN-COST) ที่ประเทศเวียดนามใน ค.ศ. 2012 ส่วน
กระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้นาในการนาเสนอกรอบแนวความคิดของเครือข่ายต่อที่ประชุมเจ้าหน้าที่
อาวุโสอาเซียน (Senior Officials’ Meeting: SOM) และที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ที่
ประเทศกัมพูชา ในปีเดียวกัน และกระทรวงการต่างประเทศยังมีบทบาทในการผลักดันให้ ASEANTOM
เป็นองค์กรที่ได้รับการรับรองในฐานะส่วนหนึ่งของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนด้วย4
ภารกิจหลักของ ASEANTOM ได้แก่ "การสร้างความร่วมมือ ช่วยเหลือ แลกเปลี่ยนข้อมูล และ
พัฒนาบุคลากร"5
ที่เกี่ยวข้องกับการกากับดูแลด้านความปลอดภัย (Safety) ความมั่นคงปลอดภัย
(Security) และการพิทักษ์ (Safeguards) ตามที่ทบวงพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International
Atomic Energy Agency: IAEA) กาหนด และสนับสนุนสนธิสัญญา SEANWFZ การดาเนินงานของ
ASEANTOM นั้นสอดคล้องกับ "วิถีอาเซียน (ASEAN Way)" ในหลายแง่มุม เช่น เป็นเครือข่ายที่เปิด
กว้างรับความร่วมมือจากทุกฝ่าย เช่น ความร่วมมือจาก IAEA คณะกรรมาธิการยุโรป (European
Commission: EC) ข้อสรุปและข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากการประชุมหารือจะไม่มีผลผูกมัดในทางกฎหมาย
การแบ่งงานกันทาเป็นไปตามความสมัครใจ เช่น สิงคโปร์รับอาสาเป็นผู้ทบทวนแผนปฏิบัติงานห้าปีและ
แนวทางการบริหารงานของเครือข่าย6
ที่สาคัญ สมาชิก ASEANTOM ยังกาหนดการดารงตาแหน่ง
ประธานให้เป็นวาระเดียวกันกับประธานอาเซียนด้วย
3
"การดาเนินการจัดตั้งเครือข่ายความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสีในอาเซียน (ASEAN Network of Regulatory Bodies on Atomic
Energy: ASEANTOM)," สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ, [เอกสารไม่เผยแพร่], 2-3.
4
อ้างแล้ว.
5
อ้างแล้ว.
6
พิภัทร พฤกษาโรจนกุล, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 13 มิถุนายน 2562.
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4
ประเทศไทยในฐานะประธาน ASEANTOM จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมประจาปีของเครือข่าย
ระหว่างวันที่ 1-4 กรกฎาคม และมีหัวข้ออภิปรายเชิงเทคนิคเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยนิวเคลียร์ใน
อาเซียนร่วมกันกับ IAEA และกระทรวงพลังงานของสหรัฐอเมริกา การประชุมดังกล่าวมีวาระสาคัญคือ
นาเสนอข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับโครงการความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ความคืบหน้าของกิจกรรมต่าง ๆ ที่
ประเทศสมาชิกได้เห็นพ้องที่จะดาเนินการตามแผนงานของ ASEANTOM การลงนามความร่วมมือ
ระหว่าง IAEA กับปส. ในด้านนิติวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ (Nuclear Forensics) แนวทางการจัดบูธนิทรรศ
การของ ASEANTOM ที่การประชุมสามัญของ IAEA และประเด็นอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเด็น
เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมและการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน และการตรวจวัดรังสี ซึ่งเป็นประเด็น
ร่วมที่ประเทศสมาชิกทุกประเทศให้ความสาคัญ7
ถอดบทเรียนเพื่อเสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน
กาเนิดของ ASEANTOM ได้แสดงให้เห็นว่า ประชาคมอาเซียนนั้นยังเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ และ
ประเทศไทยสามารถมีบทบาทนาในการกาหนดประเด็นและการขับเคลื่อนความร่วมมือต่าง ๆ ของ
อาเซียนจนเป็นที่ยอมรับได้ คาสาคัญของความสาเร็จในช่วงแรกของการก่อตั้งนั้นอยู่ที่การประสานความ
ร่วมมือระหว่างส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และไทยได้ใช้ประโยชน์จากวิถีอาเซียน ซึ่งเน้นการ
ปรึกษาหารือ ข้อตกลงที่ยืดหยุ่นและเห็นพ้องกันทั้งหมด ทาให้อาเซียนยอมรับข้อเสนอของฝ่ายไทยได้
ภายในหนึ่งปี นอกจากนี้ ยังมีประเด็นเรื่องทรัพยากรที่ฝ่ายไทยทุ่มเทในการยกระดับและสร้างความ
ต่อเนื่องให้ ASEANTOM ด้วยโดยการจัดสรรงบประมาณเพื่อ ASEANTOM โดยเฉพาะ และในการจัด
ประชุมแต่ละครั้ง ประเทศไทยสนับสนุนค่าเดินทางและที่พักให้ผู้เข้าร่วมที่เป็นผู้แทนประเทศต่าง ๆ
อย่างไรก็ดี ASEANTOM ยังมีความท้าทายอยู่อีกหลายด้าน เช่น การแสวงหาเป้าหมายที่ชัดเจน
ว่า นอกจากการประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าและการฝึกอบรมแล้ว ASEANTOM ควรมีภารกิจอะไร
เพิ่มเติมอีกบ้าง เรื่องหนึ่งที่ ASEANTOM ควรส่งเสริมคือ การสนับสนุนประเทศสมาชิกในการอนุวัติ
ข้อตกลงระหว่างประเทศตามกรอบที่สมาชิกสหประชาชาติเห็นพ้อง และ IAEA ได้กาหนดไว้ด้วยการ
ผ่านกฎหมายภายในประเทศเพื่อรองรับพันธกรณีเหล่านั้น ประเด็นนี้เป็นประเด็นที่ผู้ปฏิบัตินโยบายเองก็
ตระหนักว่า ไม่ควรและไม่สามารถบังคับให้สมาชิกอาเซียนต้องปฏิบัติตามได้ วิธีการคือ ชี้ชวนให้
ประเทศสมาชิกเห็นประโยชน์จากการออกกฎหมายดังกล่าว นอกจากนี้ ประเด็นภาษาและการสื่อสารก็
เป็นเรื่องสาคัญ แม้จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประชุม แต่ระดับและความเข้าใจของ
ผู้เข้าร่วมประชุมแต่ละท่านก็แตกต่างกัน ทาให้ผลลัพธ์อาจไม่ได้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ตั้งไว้
* * *
7
อ้างแล้ว.

More Related Content

Similar to Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM

อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  พัฒนาการอาเซียน1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  พัฒนาการอาเซียน
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียนTSB1
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียนtomodachi7016
 
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...Klangpanya
 
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์pyopyo
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
Partnership 20120821-161848-162868
Partnership 20120821-161848-162868Partnership 20120821-161848-162868
Partnership 20120821-161848-162868nopparat55
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECMudhita Ubasika
 

Similar to Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM (20)

ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  พัฒนาการอาเซียน1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1  พัฒนาการอาเซียน
1.หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พัฒนาการอาเซียน
 
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
1321861251 เปิดประตูสู่อาเซียน
 
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงน...
 
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน  ประชาสัมพันธ์
โครงการวรรณกรรมอาเซียนกับคติชน ประชาสัมพันธ์
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
Partnership 20120821-161848-162868
Partnership 20120821-161848-162868Partnership 20120821-161848-162868
Partnership 20120821-161848-162868
 
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AECความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
ความท้าทายและโอกาสของการศึกษาไทยใน AEC
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Policy Brief 2/2562 เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1 (มิถุนายน) เสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน: บทเรียนจาก ASEANTOM เสกสรร อานันทศิริเกียรติ นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ บทนา ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนมาโดยตลอดตั้งแต่ การก่อตั้งอาเซียนในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1967 และได้มีบทบาทในการขับเคลื่อนความก้าวหน้าของ ประชาคมอาเซียนในอีกหลายวาระ เช่น การผลักดันข้อตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) การผลักดันแผนความเชื่อมโยงอาเซียน (Master Plan on ASEAN Connectivity: MPAC) ค.ศ. 2019 เป็นปีที่ไทยได้รับมอบหมายให้เป็นประธานอาเซียน พร้อมกับเป็นประธานเครือข่าย กากับความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสีในอาเซียน (ASEAN Network of Regulatory Bodies on Atomic Energy: ASEANTOM) บทความนี้เป็นการประมวลพัฒนาการของอาเซียนเกี่ยวกับนิวเคลียร์ และบทบาทของประเทศไทยในการสร้างและขับเคลื่อนเครือข่ายดังกล่าว พัฒนาการเชิงสถาบันของอาเซียนที่ปลอดนิวเคลียร์ ในระดับภูมิภาค กลุ่มประเทศอาเซียนได้ลงนามสนธิสัญญาเขตปลอดนิวเคลียร์ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone: SEANWFZ Treaty) ใน ค.ศ. 1995 สนธิสัญญาดังกล่าวลงนามครบถ้วนใน ค.ศ. 1997 หลังจากปัญหากัมพูชาคลี่คลายและอาเซียนได้รับ สมาชิกใหม่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสมาคม ประเด็นหลักของสนธิสัญญานี้คือ "ไม่ให้รัฐภาคีพัฒนา ผลิต ครอบครอง หรือทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ภายในเขตอาณา เขตเศรษฐกิจจาเพาะ และไหล่ทวีป" แน่นอนว่า สนธิสัญญานี้จะไม่มีความหมาย หากประเทศผู้ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์หลักทั้งห้าประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส รัสเซีย และจีน ไม่ลงนาม ในบรรดาห้าประเทศนี้ มีเพียงจีน ฉบับที่ 2 / 2562 Policy Brief
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2 เท่านั้นที่พร้อมลงนาม อย่างไรก็ดี อาเซียนประสงค์ให้ทุกประเทศลงนามพร้อมกัน1 จนถึงปัจจุบัน ก็ยังไม่ มีประเทศใดลงนามสนธิสัญญาดังกล่าว หลังจากสนธิสัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ใน ค.ศ. 1997 การประชุมอาเซียนว่าด้วยการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum: ARF) ได้สานต่อประเด็นดังกล่าว อย่างต่อเนื่องดังที่ปรากฏในแถลงการณ์แต่ละปี ใน ค.ศ. 2004 ARF ได้ออกแถลงการณ์ว่าด้วยการลด อาวุธนิวเคลียร์ (ARF Statement on Nuclear Non-Proliferation) มาโดยเฉพาะ แถลงการณ์ดังกล่าว แสดงความตระหนักถึงภัยคุกคามของการสะสมและพัฒนาอาวุธนิวเคลียร์ พร้อมกับรับรองข้อมติของ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1540 ที่กาหนดมาตรการควบคุมการขนส่งวัสดุกัมมันตรังสี ระหว่างประเทศ และกาหนดให้กิจกรรมสะสมอาวุธนิวเคลียร์โดยตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐเป็นภัยคุกคาม ARF ยังได้กาหนดให้มีเวทีเพื่ออภิปรายและแสดงจุดยืนในประเด็นนิวเคลียร์ระดับภูมิภาคอื่น ๆ เช่น เกาหลี เหนือ อิหร่าน ด้วย ค.ศ. 2007 ถือว่าเป็นปีที่สาคัญของอาเซียน ประเทศอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ซึ่งเป็นธรรมนูญของประชาคมที่ทุกประเทศต้องยึดถือ กฎบัตรดังกล่าวระบุถึงเป้าประสงค์ของ อาเซียนในมาตรา 1 ข้อ 3 ไว้ว่า วัตถุประสงค์ของอาเซียนคือ "เพื่อธารงรักษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ เป็นเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์และปราศจากอาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูงอื่น ๆ ทุกชนิด"2 นอกจาก ประเด็นการลดอาวุธนิวเคลียร์แล้ว อาเซียนยังได้หารือความร่วมมือด้านพลังงานนิวเคลียร์ในอาเซียน ด้วย ประเทศสมาชิกอาเซียนเห็นพ้องให้จัดตั้งเครือข่ายย่อยด้านความร่วมมือด้านพลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Energy Cooperation Sub-Sector Network: NEC-SSN) ใน ค.ศ. 2008 เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ช่วยเหลือด้านเทคนิค สร้างเครือข่าย ฝึกอบรมด้านนิวเคลียร์เพื่อการผลิตพลังงานไฟฟ้า บทบาทนาของประเทศไทยในการสร้าง ASEANTOM อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ของโรงไฟฟ้าฟุกุฌิมะ (Fukushima Nuclear Accident) ในเดือนมีนาคม 2011 ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของประชาชนเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์อย่างยิ่ง หลายประเทศเลื่อน แผนการสร้างโรงไฟฟ้าออกไปแม้จะมีความต้องการทางพลังงานอย่างสูงมาก อุบัติเหตุครั้งนั้นทาให้เห็น ว่าหากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ระเบิดย่อมส่งผลข้ามพรมแดนได้ แม้แต่ญี่ปุ่นซึ่งเป็นผู้นาด้านเทคโนโลยี นิวเคลียร์ และเป็นตัวแบบสาหรับอาเซียนเองยังมีความเสี่ยง และรับผลกระทบสาหัสเมื่อโรงไฟฟ้าระเบิด บริบทเช่นนี้ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเกิดความตระหนักในปัญหาความปลอดภัยและความมั่นคงของ 1 "สนธิสัญญาว่าด้วยเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ) Treaty," กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, เข้าถึงได้จาก http://planning.nida.ac.th/main/images/Planning%20Division/ASEAN/Southeast_Asia_Nuclear_Weapon-Free_Zone_- _SEANWFZ.pdf (วันที่ค้นข้อมูล 13 มิถุนายน 2562). 2 "กฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้," กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, เข้าถึงได้จาก http://www.mfa.go.th/asean/contents/files/asean-media-center-20121203-180519-958411.pdf (วันที่ค้นข้อมูล 13 มิถุนายน 2562).
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์อย่างยิ่งยวด หลายประเทศ เช่น อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย เวียดนาม เลื่อนแผนการ สร้างโรงไฟฟ้าออกไปอย่างไม่มีกาหนด สาหรับประเทศไทย สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) เป็นหน่วยงานหลักที่ผลักดันข้อริเริ่มว่า ด้วยการจัดตั้ง ASEANTOM โดยเริ่มจากการเชิญผู้แทนจากหน่วยงานกากับดูแลการใช้พลังงานปรมาณู ในทางสันติจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมดมาเข้าร่วมการประชุมระหว่างประเทศว่าด้วยความ ปลอดภัย ความมั่นคงและการพิทักษ์ในการใช้พลังงานปรมาณูทางสันติที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 1-2 กันยายน 2011 ปส. ได้เสนอความเห็นในการจัดตั้งเครือข่ายในที่ประชุม และได้รับการตอบรับอย่างดี จากผู้เข้าร่วม และดาเนินการตั้งคณะทางานโดยมีผู้แทนจากส่วนราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรม อาเซียน กรมองค์การระหว่างประเทศ สานักศึกษาและประสานพลังงานนิวเคลียร์ กระทรวงพลังงาน สานักความร่วมมือระหว่างประเทศและวิเทศสัมพันธ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3 ส่วนที่ผู้เขียนเห็นว่า มีความสาคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่งคือ ความพยายามของการผลักดัน ประเทศดังกล่าวร่วมกันในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ส่งผู้แทนเป็นคณะทางาน เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีนาเสนอผ่านการประชุมคณะกรรมการอาเซียนว่าด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ASEAN Committee on Science and Technology: ASEAN-COST) ที่ประเทศเวียดนามใน ค.ศ. 2012 ส่วน กระทรวงการต่างประเทศเป็นผู้นาในการนาเสนอกรอบแนวความคิดของเครือข่ายต่อที่ประชุมเจ้าหน้าที่ อาวุโสอาเซียน (Senior Officials’ Meeting: SOM) และที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ที่ ประเทศกัมพูชา ในปีเดียวกัน และกระทรวงการต่างประเทศยังมีบทบาทในการผลักดันให้ ASEANTOM เป็นองค์กรที่ได้รับการรับรองในฐานะส่วนหนึ่งของประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนด้วย4 ภารกิจหลักของ ASEANTOM ได้แก่ "การสร้างความร่วมมือ ช่วยเหลือ แลกเปลี่ยนข้อมูล และ พัฒนาบุคลากร"5 ที่เกี่ยวข้องกับการกากับดูแลด้านความปลอดภัย (Safety) ความมั่นคงปลอดภัย (Security) และการพิทักษ์ (Safeguards) ตามที่ทบวงพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency: IAEA) กาหนด และสนับสนุนสนธิสัญญา SEANWFZ การดาเนินงานของ ASEANTOM นั้นสอดคล้องกับ "วิถีอาเซียน (ASEAN Way)" ในหลายแง่มุม เช่น เป็นเครือข่ายที่เปิด กว้างรับความร่วมมือจากทุกฝ่าย เช่น ความร่วมมือจาก IAEA คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission: EC) ข้อสรุปและข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากการประชุมหารือจะไม่มีผลผูกมัดในทางกฎหมาย การแบ่งงานกันทาเป็นไปตามความสมัครใจ เช่น สิงคโปร์รับอาสาเป็นผู้ทบทวนแผนปฏิบัติงานห้าปีและ แนวทางการบริหารงานของเครือข่าย6 ที่สาคัญ สมาชิก ASEANTOM ยังกาหนดการดารงตาแหน่ง ประธานให้เป็นวาระเดียวกันกับประธานอาเซียนด้วย 3 "การดาเนินการจัดตั้งเครือข่ายความปลอดภัยทางนิวเคลียร์และรังสีในอาเซียน (ASEAN Network of Regulatory Bodies on Atomic Energy: ASEANTOM)," สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ, [เอกสารไม่เผยแพร่], 2-3. 4 อ้างแล้ว. 5 อ้างแล้ว. 6 พิภัทร พฤกษาโรจนกุล, สัมภาษณ์โดยผู้เขียน, 13 มิถุนายน 2562.
  • 4. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4 ประเทศไทยในฐานะประธาน ASEANTOM จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมประจาปีของเครือข่าย ระหว่างวันที่ 1-4 กรกฎาคม และมีหัวข้ออภิปรายเชิงเทคนิคเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยนิวเคลียร์ใน อาเซียนร่วมกันกับ IAEA และกระทรวงพลังงานของสหรัฐอเมริกา การประชุมดังกล่าวมีวาระสาคัญคือ นาเสนอข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับโครงการความร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ความคืบหน้าของกิจกรรมต่าง ๆ ที่ ประเทศสมาชิกได้เห็นพ้องที่จะดาเนินการตามแผนงานของ ASEANTOM การลงนามความร่วมมือ ระหว่าง IAEA กับปส. ในด้านนิติวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ (Nuclear Forensics) แนวทางการจัดบูธนิทรรศ การของ ASEANTOM ที่การประชุมสามัญของ IAEA และประเด็นอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเด็น เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมและการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน และการตรวจวัดรังสี ซึ่งเป็นประเด็น ร่วมที่ประเทศสมาชิกทุกประเทศให้ความสาคัญ7 ถอดบทเรียนเพื่อเสริมสร้างบทบาทไทยในประชาคมอาเซียน กาเนิดของ ASEANTOM ได้แสดงให้เห็นว่า ประชาคมอาเซียนนั้นยังเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ และ ประเทศไทยสามารถมีบทบาทนาในการกาหนดประเด็นและการขับเคลื่อนความร่วมมือต่าง ๆ ของ อาเซียนจนเป็นที่ยอมรับได้ คาสาคัญของความสาเร็จในช่วงแรกของการก่อตั้งนั้นอยู่ที่การประสานความ ร่วมมือระหว่างส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และไทยได้ใช้ประโยชน์จากวิถีอาเซียน ซึ่งเน้นการ ปรึกษาหารือ ข้อตกลงที่ยืดหยุ่นและเห็นพ้องกันทั้งหมด ทาให้อาเซียนยอมรับข้อเสนอของฝ่ายไทยได้ ภายในหนึ่งปี นอกจากนี้ ยังมีประเด็นเรื่องทรัพยากรที่ฝ่ายไทยทุ่มเทในการยกระดับและสร้างความ ต่อเนื่องให้ ASEANTOM ด้วยโดยการจัดสรรงบประมาณเพื่อ ASEANTOM โดยเฉพาะ และในการจัด ประชุมแต่ละครั้ง ประเทศไทยสนับสนุนค่าเดินทางและที่พักให้ผู้เข้าร่วมที่เป็นผู้แทนประเทศต่าง ๆ อย่างไรก็ดี ASEANTOM ยังมีความท้าทายอยู่อีกหลายด้าน เช่น การแสวงหาเป้าหมายที่ชัดเจน ว่า นอกจากการประชุมเพื่อติดตามความคืบหน้าและการฝึกอบรมแล้ว ASEANTOM ควรมีภารกิจอะไร เพิ่มเติมอีกบ้าง เรื่องหนึ่งที่ ASEANTOM ควรส่งเสริมคือ การสนับสนุนประเทศสมาชิกในการอนุวัติ ข้อตกลงระหว่างประเทศตามกรอบที่สมาชิกสหประชาชาติเห็นพ้อง และ IAEA ได้กาหนดไว้ด้วยการ ผ่านกฎหมายภายในประเทศเพื่อรองรับพันธกรณีเหล่านั้น ประเด็นนี้เป็นประเด็นที่ผู้ปฏิบัตินโยบายเองก็ ตระหนักว่า ไม่ควรและไม่สามารถบังคับให้สมาชิกอาเซียนต้องปฏิบัติตามได้ วิธีการคือ ชี้ชวนให้ ประเทศสมาชิกเห็นประโยชน์จากการออกกฎหมายดังกล่าว นอกจากนี้ ประเด็นภาษาและการสื่อสารก็ เป็นเรื่องสาคัญ แม้จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการประชุม แต่ระดับและความเข้าใจของ ผู้เข้าร่วมประชุมแต่ละท่านก็แตกต่างกัน ทาให้ผลลัพธ์อาจไม่ได้สอดคล้องกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ * * * 7 อ้างแล้ว.