SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1
เอกสารนโยบายฉบับนี้ เรียบเรียงขึ้นจากการบรรยายของผู้เขียนในเวทีวิชาการ เรื่อง "มองโลก มองไทย:
ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้ บทเรียนสาหรับประเทศไทย" ณ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วันที่
26 มิถุนายน 2562
(กรกฎาคม)
ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และ
ข้อเสนอแนะสาหรับประเทศไทย
เสกสรร อานันทศิริเกียรติ
นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
บทนา
เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในด้านการส่งสินค้าวัฒนธรรมรูปแบบต่าง ๆ
ออกสู่สังคมระหว่างประเทศ สินค้าวัฒนธรรมเหล่านี้ได้ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์และความนิยมเกาหลีใน
หมู่ชาวต่างชาติ จากรายงานการสารวจสถานะอานาจโน้มนา (soft power) 30 อันดับแรกของโลกในค.ศ.
2018 พบว่า อานาจโน้มนาของเกาหลีใต้อยู่ในอันดับที่ 20 เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น และนาหน้า
สิงคโปร์อยู่หนึ่งอันดับเท่านั้น1
บทความนี้เป็นการประเมินภาพรวมของยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของ
เกาหลีใต้เพื่อถอดบทเรียนในการสร้างข้อเสนอเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์และสร้างการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนและเยาวชนไทยในการขับเคลื่อนการทูตสาธารณะ
พัฒนาการเชิงสถาบันของนโยบายการทูตสาธารณะเกาหลีใต้
จุดเด่นประการแรกของการทูตสาธารณะของเกาหลีใต้คือ การที่รัฐบาลเห็นความสาคัญและ
ส่งเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการทูตสาธารณะมาอย่างต่อเนื่องและยาวนานนับตั้งแต่ทศวรรษ 1990
รัฐบาลทหารได้ประกาศตั้งองค์กรความร่วมมือแห่งประเทศเกาหลี (Korea International Cooperation
1
Jonathan McClory, Soft Power 30: A Global Ranking of Soft Power 2018, (Portland: USC Center on Public Diplomacy, 2018),
42-43.
ฉบับที่ 4 / 2562
Policy Brief
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2
Agency: KOICA) และมูลนิธิเกาหลี (Korea Foundation: KF) สองหน่วยงานนี้ถือเป็นองค์กรหลักใน
ระยะแรกเริ่มของการดาเนินงานด้านการทูตสาธารณะ องค์กรแรกทาหน้าที่ให้เงินช่วยเหลือประเทศกาลัง
พัฒนาหรือประเทศที่อยู่ในยุทธศาสตร์การต่างประเทศของเกาหลีใต้ ขณะที่องค์กรหลังจะเน้นการสร้าง
เครือข่ายทางวิชาการและนโยบายในระดับระหว่างประเทศ และการให้ทุนการศึกษาโดยเจาะจง
กลุ่มเป้าหมายที่จะเป็นเครือข่ายในอนาคต2
กิจกรรมการทูตสาธารณะของเกาหลีใต้รุดหน้ามากขึ้นในสมัยอดีตประธานาธิบดีอี มย็อง-บัก
(Lee Myung-bak) กระทรวงการต่างประเทศได้ออกคู่มือการทูตวัฒนธรรมเป็นครั้งแรกพร้อมกับปรับ
โครงสร้างโดยแยกกองการทูตสาธารณะออกจากกองการทูตวัฒนธรรม รัฐบาลประกาศตั้งคณะกรรมการ
กิจการแบรนด์แห่งชาติ ซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นผู้กากับดูแล ตั้งแต่ค.ศ. 2011 รัฐบาลเกาหลีใต้ได้แต่งตั้ง
เอกอัครราชทูตประจากระทรวงการต่างประเทศเพื่อกากับดูแลงานการทูตสาธารณะและทางานร่วมกับ
โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ ผู้เคยดารงตาแหน่งนี้ ได้แก่ นายมา ย็อง-ซัม (Ma Young-sam) (2011-
2014) นายชเว ซ็อง-จู (Choi Sung-joo) (2014-2016) นายโช ฮย็อน-ดง (Cho Hyun-dong) (2016-
2017)3
นางปัก อึน-ฮา (Park Enna) (2017-2018) ซึ่งเป็นสุภาพสตรีท่านแรกที่ดารงตาแหน่งนี้ และ
ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตเกาหลีใต้ประจาสหราชอาณาจักรในเวลาต่อมา หลังจากนางปัก เกาหลี
ใต้แต่งตั้งเอกอัครราชทูตกากับดูแลงานการทูตสาธารณะอีกสองท่าน ได้แก่ นายปัก ซัง-ฮุน (Bahk
Sahng-hoon) (2018-2019) และล่าสุดคือ นายชัง แช-บก (Chang Jae-bok)
การดาเนินกิจกรรมการทูตสาธารณะได้รับการพัฒนาให้เป็นสถาบัน (institutionalized) อย่าง
แข็งขันและต่อเนื่อง รัฐบาลนางสาวปัก คึน-ฮเย (Park Geun-hye) ได้ออกคาสั่งยุบคณะกรรมการ
ดังกล่าว และสนับสนุนให้สภาผ่านมติรับรองกฎหมายการทูตสาธารณะ (Public Diplomacy Act) ในค.ศ.
2016 เพื่อสร้างเอกภาพและบูรณาการการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการ
ต่างประเทศ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ๆ ในรูปแบบของ
คณะกรรมการระดับชาติที่มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้ที่มีบทบาทสาคัญใน
การยกร่างกฎหมายฉบับนี้คือ นายชเว ควัง-จิน (Choi Kwang-jin)4
อดีตผู้อานวยการกองการทูต
สาธารณะ
2
เสกสรร อานันทศิริเกียรติ, "K-Pop-อาหารเกาหลี-ทุนเรียนต่อ: ที่คลั่งเกาหลีนั้นไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่มาจาก 'การทูต
สาธารณะ'," The Momentum, 9 พฤศจิกายน 2561, เข้าถึงได้จาก https://themomentum.co/korea-cultural-
diplomacy/, (วันที่ค้นข้อมูล 26 มิถุนายน 2562).
3
Kadir Ayhan, "Introduction," in Korea’s Public Diplomacy edited by Kadir Ayhan, (Seoul: Hangang Network, 2016), 18-19.
4
ปัจจุบันดารงตาแหน่งกงสุลใหญ่ ณ นครเออร์บิล ประเทศอิรัก
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3
คณะกรรมการชุดนี้ได้ประชุมกันครั้งแรกในวันที่ 10 สิงหาคม 20175
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การต่างประเทศ นางคัง คย็อง-ฮวา (Kang Kyung-wha) ได้รับมอบหมายจากท่านประธานาธิบดีมุน แช-
อิน (Moon Jae-in) ให้เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการการทูตสาธารณะในระดับชาติ ที่ประชุมมี
มติสาคัญ เช่น การรับรองแผนแม่บทว่าด้วยการทูตสาธารณะฉบับที่ 1 (The First Basic Plan on
Korea’s Public Diplomacy 2017-2021) แผนดังกล่าวเน้นวาระการขับเคลื่อนหลัก เช่น การส่งเสริม
ความรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์สองเกาหลีในต่างประเทศ และการส่งเสริมบทบาทของ
องค์กรระดับท้องถิ่นในกิจการการทูตสาธารณะ เป็นต้น โดย KF จะทาหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ ติดตามและ
รายงานผลการดาเนินงานให้คณะกรรมการทราบ
แผนปฏิบัติการดังกล่าวมีวิสัยทัศน์คือ "สื่อสารเสน่ห์ของเกาหลีกับโลก ร่วมกันกับประชาชน
เกาหลี (Communicating Korea’s Charm with the World, Together with the Koreans)" ด้วยกิจกรรม
การทูตสาธารณะสามรูปแบบ คือ การทูตสาธารณะเชิงวัฒนธรรม การทูตสาธารณะเชิงองค์ความรู้ และ
การทูตสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย การทูตสาธารณะเชิงวัฒนธรรมโดยมากจะเป็นการจัดกิจกรรม
เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เช่น การตอบคาถามเกี่ยวกับประเทศเกาหลี การส่งเสริมภาพลักษณ์เกาหลี
ผ่านอาหารและการแต่งกาย สาหรับกิจกรรมเกี่ยวกับการทูตสาธารณะเชิงองค์ความรู้และขับเคลื่อน
นโยบายนั้น โดยส่วนมากจะเป็นกิจกรรมหลักของ KF อยู่แล้ว เช่น การจัดสรรทุนการศึกษาเพื่อพัฒนา
อาจารย์และนักวิจัย การสนับสนุนสิ่งพิมพ์ด้านเกาหลีศึกษา การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการและการระดม
สมองเพื่อสร้างข้อเสนอเชิงนโยบาย เช่น การจัดตั้งเครือข่ายการทูตสาธารณะระดับโลก (Global Public
Diplomacy Network: GPDNet) และการจัดนิทรรศการในโอกาสครบรอบสถาปนาความสัมพันธ์กับ
ประเทศต่าง ๆ6
นอกจากนี้ กระทรวงการต่างประเทศได้จัดตั้งศูนย์การทูตประชาชน (Center for People’s
Diplomacy) ขึ้นตามนโยบายของท่านประธานาธิบดีมุนที่เน้นความสาคัญของประชาชนและพลเมืองใน
ประเทศในฐานะตัวแสดงสาคัญและเป็นผู้มีส่วนได้เสียในนโยบายการทูตสาธารณะ กิจกรรมหลักของศูนย์
อาทิ การประชาสัมพันธ์การเดินสายพบปะนักเรียนนิสิตนักศึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
ต่างประเทศ การจัดสัมมนาให้ความรู้ประชาชนก่อนและหลังการเยี่ยมเยือนทางการทูตต่าง ๆ ของ
ประธานาธิบดีและรัฐมนตรี การบรรยายเกี่ยวกับนโยบายและปฏิบัติการการทูตสาธารณะในต่างประเทศ
และกิจกรรมส่งเสริมบทบาทของประชาชนในฐานะ "นักการทูตสาธารณะ (Public Diplomat)" และ "บัว
แก้วโคริยมิตร (Friends of MOFA)" ค.ศ. 2018 เป็นปีแรกที่กระทรวงการต่างประเทศจัดงานสัปดาห์การ
ทูตสาธารณะ (Public Diplomacy Week) ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักรู้และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
5
เหตุที่คณะกรรมการดังกล่าวเริ่มประชุมหลังจากผ่านร่างกฎหมายแล้วเป็นเวลา 1 ปี เนื่องจากนางสาวปักประพฤติชั่วร้ายแรง ถูกศาล
รัฐธรรมนูญพิพากษาถอดถอนพ้นจากตาแหน่งประธานาธิบดี ทาให้ประเทศเกาหลีใต้มีแต่รัฐบาลรักษาการ กระทรวงการต่างประเทศไม่
สามารถดาเนินการใด ๆ ได้ ต้องรอหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่ในเดือนพฤษภาคม 2018
6
เสกสรร, “K-Pop-อาหารเกาหลี-ทุนเรียนต่อ.”
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4
ประชาชนเกาหลีในกิจกรรมทางการทูต และแสดงบทบาทนาของเกาหลีในการสร้างเครือข่ายการทูต
สาธารณะระดับโลกด้วย
นอกจากบทบาทของกระทรวงการต่างประเทศแล้ว สถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ได้มีบทบาท
สาคัญในการส่งเสริมกิจกรรมการทูตสาธารณะที่เป็นการสร้างภาพลักษณ์และความรู้สึกที่ดีต่อเกาหลีใน
ประเทศต่าง ๆ อาทิ การจัดนิทรรศการส่งเสริมการขายสินค้าเกาหลี การจัดประกวดคลิปวิดีโอ ประกวด
เต้นเกาหลี หรือการจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักรู้อื่น ๆ สถานเอกอัครราชทูตเหล่านี้ยังมีบทบาทใน
การสร้างเครือข่ายโคริยมิตรในต่างประเทศด้วย เช่น สถานเอกอัครราชทูตไทยร่วมกับสาขาวิชาภาษา
เกาหลี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดงานสัปดาห์เกาหลีและการบรรยายเกี่ยวกับ
ประเทศเกาหลี เป็นต้น รายงานข่าวของเดอะ โคเรีย ไทม์ส (The Korea Times) ระบุว่า ผู้นิยมชมชอบ
สินค้าวัฒนธรรมของเกาหลีมีอยู่ราว 89 ล้านคนทั่วโลกในค.ศ. 2018 เพิ่มขึ้นจากค.ศ. 2017 ประมาณ 73
ล้านคน มีชมรมผู้นิยมกระแสเกาหลีอยู่กว่า 1,843 แห่งใน 113 ประเทศทั่วโลก ผู้บริโภคเหล่านี้อาจ
กลายเป็นนักท่องเที่ยวหรือผู้ใช้สินค้าเกาหลีต่อไปอนาคตก็ได้7
ถอดบทเรียนเพื่อสร้างข้อเสนอแนะสาหรับการทูตสาธารณะของไทย
ในทรรศนะของผู้เขียน ทรัพยากรการทูตสาธารณะของไทยไม่ได้ด้อยไปกว่าของเกาหลี ที่ผ่าน
มา ประเทศไทยได้ดาเนินกิจกรรมการทูตสาธารณะในหลายลักษณะ อาทิ การเผยแพร่หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืนและความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันว่า
ประเทศไทยมิได้มีจุดมุ่งหมายจะไปขูดรีดทรัพยากร แต่จะมีความร่วมมือเพื่อเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืนร่วมกัน หรือการส่งเสริมการจัดกิจกรรมเทศกาลไทย (Thai Festival) ในประเทศต่าง ๆ ที่เป็นการ
เผยแพร่ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว อาหาร ศิลปะและวัฒนธรรมไทยให้เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวต่างชาติ ตลอดจน
สร้างเพื่อนของประเทศไทยด้วยการเชิญผู้มีส่วนร่วมต่าง ๆ มาสร้างงานด้วยกัน เช่น มหาวิทยาลัยที่มี
การเรียนการสอนภาษาไทยและไทยศึกษา ชุมชนไทยในต่างประเทศ เป็นต้น ผู้เขียนมีข้อเสนอสองข้อ
หลักในการยกระดับขีดความสามารถของการดาเนินนโยบายการทูตสาธารณะไทย
ข้อแรก กระทรวงการต่างประเทศมีแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงระยะ 20 ปีที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติอยู่แล้ว ในยุทธศาสตร์เหล่านั้นมีสองประเด็นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการทูตสาธารณะ
โดยตรง ได้แก่ การสร้างแบรนด์ประเทศไทย (Thailand Branding) และการสร้างอานาจโน้มนาอย่างเป็น
ระบบ ผู้เขียนเห็นว่า รัฐบาลไทยควรสนับสนุนการจัดตั้งคณะกรรมการระดับชาติว่าด้วยการทูตสาธารณะ
เช่นเดียวกับเกาหลีใต้ โดยให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธานแล้วเชิญผู้เกี่ยวข้อง
เช่น สานักความสัมพันธ์ต่างประเทศของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวแห่ง
7
Yeon-soo Kwak, "89,000,000 'hallyu' fans worldwide," The Korea Times, 12 January 2019, เข้าถึงได้จาก
http://www.koreatimes.co.kr/www/art/2019/01/732_261877.html, (วันที่ค้นข้อมูล 26 มิถุนายน 2562).
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 5
ประเทศไทย (ททท.) มากาหนดทิศทางร่วมกัน นอกจากนี้ กระทรวงการต่างประเทศควรจัดทาแผน
แม่บทการทูตสาธารณะซึ่งเน้นการวางกรอบการปฏิบัติ เสริมสร้างขีดความสามารถและแบ่งภารกิจของ
หน่วยงานที่มีอยู่ในสังกัดให้ชัดเจน และเชื่อมโยงทรัพยากรของท้องถิ่นเข้ากับการทูตสาธารณะระดับชาติ
ข้อที่สอง กระทรวงการต่างประเทศควรเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและเยาวชนไทย
ในการขับเคลื่อนการทูตสาธารณะ เช่น จัดกิจกรรมอบรมนักการทูตสาธารณะของไทย โดยใช้บุคลากร
และสถานที่ของกระทรวงเอง เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม กระทรวงอาจมอบเกียรติบัตรเพื่อเป็นการรับรอง
คุณสมบัติเช่นเดียวกับกิจกรรมอบรมทั่วไป นักการทูตสาธารณะเหล่านี้จะเป็นกาลังเสริมและเป็น
กระบอกเสียงให้กระทรวงการต่างประเทศในการเผยแพร่ข้อมูล ผู้เข้าร่วมบางท่านอาจกลายเป็นนักการ
ทูตอาชีพในวันข้างหน้า หรืออาจกลายเป็นผู้ประกอบการทางการทูตที่สนับสนุนการประชาสัมพันธ์ การ
ระดมสมอง และกิจกรรมต่าง ๆ ของกระทรวง เมื่อจัดกิจกรรมอบรมเป็นจานวนมากเข้า ก็จะเกิดเป็น
เครือข่ายการทูตสาธารณะไทย ซึ่งมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์ได้อีกมากในอนาคต
* * *

Contenu connexe

Similaire à Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย

คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน Klangpanya
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสานลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสานFURD_RSU
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)
Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)
Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)Kan Yuenyong
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓Boonlert Aroonpiboon
 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตการเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตFURD_RSU
 
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล FURD_RSU
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒Boonlert Aroonpiboon
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 

Similaire à Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย (20)

คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมคลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
คลังข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
V 288
V 288V 288
V 288
 
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
รายงานเวทีวิชาการ เรื่อง ประสบการณ์ประชาธิปไตยจีน
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสานลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2)  วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
ลัดเลาะเส้นทางอีสานใหม่ (ตอนที่ 2) วัฒนธรรมประชานิยมของคนอีสาน
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)
Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)
Opening speech : Young leader role in a transition period (in Thai)
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๓
 
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโตการเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
การเฉลิมฉลองงานวันเกิดเมืองอย่างสร้างสรรค์ : เกียวโต
 
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
Uclg กับการเดินหน้าสร้างท้องถิ่นที่เข้มแข็งในระดับสากล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๒
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Policy Brief 4/2562 ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1 เอกสารนโยบายฉบับนี้ เรียบเรียงขึ้นจากการบรรยายของผู้เขียนในเวทีวิชาการ เรื่อง "มองโลก มองไทย: ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้ บทเรียนสาหรับประเทศไทย" ณ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วันที่ 26 มิถุนายน 2562 (กรกฎาคม) ยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของเกาหลีใต้และ ข้อเสนอแนะสาหรับประเทศไทย เสกสรร อานันทศิริเกียรติ นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ บทนา เกาหลีใต้เป็นประเทศที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในด้านการส่งสินค้าวัฒนธรรมรูปแบบต่าง ๆ ออกสู่สังคมระหว่างประเทศ สินค้าวัฒนธรรมเหล่านี้ได้ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์และความนิยมเกาหลีใน หมู่ชาวต่างชาติ จากรายงานการสารวจสถานะอานาจโน้มนา (soft power) 30 อันดับแรกของโลกในค.ศ. 2018 พบว่า อานาจโน้มนาของเกาหลีใต้อยู่ในอันดับที่ 20 เป็นอันดับสองรองจากญี่ปุ่น และนาหน้า สิงคโปร์อยู่หนึ่งอันดับเท่านั้น1 บทความนี้เป็นการประเมินภาพรวมของยุทธศาสตร์การทูตสาธารณะของ เกาหลีใต้เพื่อถอดบทเรียนในการสร้างข้อเสนอเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์และสร้างการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและเยาวชนไทยในการขับเคลื่อนการทูตสาธารณะ พัฒนาการเชิงสถาบันของนโยบายการทูตสาธารณะเกาหลีใต้ จุดเด่นประการแรกของการทูตสาธารณะของเกาหลีใต้คือ การที่รัฐบาลเห็นความสาคัญและ ส่งเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการทูตสาธารณะมาอย่างต่อเนื่องและยาวนานนับตั้งแต่ทศวรรษ 1990 รัฐบาลทหารได้ประกาศตั้งองค์กรความร่วมมือแห่งประเทศเกาหลี (Korea International Cooperation 1 Jonathan McClory, Soft Power 30: A Global Ranking of Soft Power 2018, (Portland: USC Center on Public Diplomacy, 2018), 42-43. ฉบับที่ 4 / 2562 Policy Brief
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2 Agency: KOICA) และมูลนิธิเกาหลี (Korea Foundation: KF) สองหน่วยงานนี้ถือเป็นองค์กรหลักใน ระยะแรกเริ่มของการดาเนินงานด้านการทูตสาธารณะ องค์กรแรกทาหน้าที่ให้เงินช่วยเหลือประเทศกาลัง พัฒนาหรือประเทศที่อยู่ในยุทธศาสตร์การต่างประเทศของเกาหลีใต้ ขณะที่องค์กรหลังจะเน้นการสร้าง เครือข่ายทางวิชาการและนโยบายในระดับระหว่างประเทศ และการให้ทุนการศึกษาโดยเจาะจง กลุ่มเป้าหมายที่จะเป็นเครือข่ายในอนาคต2 กิจกรรมการทูตสาธารณะของเกาหลีใต้รุดหน้ามากขึ้นในสมัยอดีตประธานาธิบดีอี มย็อง-บัก (Lee Myung-bak) กระทรวงการต่างประเทศได้ออกคู่มือการทูตวัฒนธรรมเป็นครั้งแรกพร้อมกับปรับ โครงสร้างโดยแยกกองการทูตสาธารณะออกจากกองการทูตวัฒนธรรม รัฐบาลประกาศตั้งคณะกรรมการ กิจการแบรนด์แห่งชาติ ซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นผู้กากับดูแล ตั้งแต่ค.ศ. 2011 รัฐบาลเกาหลีใต้ได้แต่งตั้ง เอกอัครราชทูตประจากระทรวงการต่างประเทศเพื่อกากับดูแลงานการทูตสาธารณะและทางานร่วมกับ โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ ผู้เคยดารงตาแหน่งนี้ ได้แก่ นายมา ย็อง-ซัม (Ma Young-sam) (2011- 2014) นายชเว ซ็อง-จู (Choi Sung-joo) (2014-2016) นายโช ฮย็อน-ดง (Cho Hyun-dong) (2016- 2017)3 นางปัก อึน-ฮา (Park Enna) (2017-2018) ซึ่งเป็นสุภาพสตรีท่านแรกที่ดารงตาแหน่งนี้ และ ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตเกาหลีใต้ประจาสหราชอาณาจักรในเวลาต่อมา หลังจากนางปัก เกาหลี ใต้แต่งตั้งเอกอัครราชทูตกากับดูแลงานการทูตสาธารณะอีกสองท่าน ได้แก่ นายปัก ซัง-ฮุน (Bahk Sahng-hoon) (2018-2019) และล่าสุดคือ นายชัง แช-บก (Chang Jae-bok) การดาเนินกิจกรรมการทูตสาธารณะได้รับการพัฒนาให้เป็นสถาบัน (institutionalized) อย่าง แข็งขันและต่อเนื่อง รัฐบาลนางสาวปัก คึน-ฮเย (Park Geun-hye) ได้ออกคาสั่งยุบคณะกรรมการ ดังกล่าว และสนับสนุนให้สภาผ่านมติรับรองกฎหมายการทูตสาธารณะ (Public Diplomacy Act) ในค.ศ. 2016 เพื่อสร้างเอกภาพและบูรณาการการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการ ต่างประเทศ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ๆ ในรูปแบบของ คณะกรรมการระดับชาติที่มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน ผู้ที่มีบทบาทสาคัญใน การยกร่างกฎหมายฉบับนี้คือ นายชเว ควัง-จิน (Choi Kwang-jin)4 อดีตผู้อานวยการกองการทูต สาธารณะ 2 เสกสรร อานันทศิริเกียรติ, "K-Pop-อาหารเกาหลี-ทุนเรียนต่อ: ที่คลั่งเกาหลีนั้นไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แต่มาจาก 'การทูต สาธารณะ'," The Momentum, 9 พฤศจิกายน 2561, เข้าถึงได้จาก https://themomentum.co/korea-cultural- diplomacy/, (วันที่ค้นข้อมูล 26 มิถุนายน 2562). 3 Kadir Ayhan, "Introduction," in Korea’s Public Diplomacy edited by Kadir Ayhan, (Seoul: Hangang Network, 2016), 18-19. 4 ปัจจุบันดารงตาแหน่งกงสุลใหญ่ ณ นครเออร์บิล ประเทศอิรัก
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3 คณะกรรมการชุดนี้ได้ประชุมกันครั้งแรกในวันที่ 10 สิงหาคม 20175 รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ นางคัง คย็อง-ฮวา (Kang Kyung-wha) ได้รับมอบหมายจากท่านประธานาธิบดีมุน แช- อิน (Moon Jae-in) ให้เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการการทูตสาธารณะในระดับชาติ ที่ประชุมมี มติสาคัญ เช่น การรับรองแผนแม่บทว่าด้วยการทูตสาธารณะฉบับที่ 1 (The First Basic Plan on Korea’s Public Diplomacy 2017-2021) แผนดังกล่าวเน้นวาระการขับเคลื่อนหลัก เช่น การส่งเสริม ความรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์สองเกาหลีในต่างประเทศ และการส่งเสริมบทบาทของ องค์กรระดับท้องถิ่นในกิจการการทูตสาธารณะ เป็นต้น โดย KF จะทาหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ ติดตามและ รายงานผลการดาเนินงานให้คณะกรรมการทราบ แผนปฏิบัติการดังกล่าวมีวิสัยทัศน์คือ "สื่อสารเสน่ห์ของเกาหลีกับโลก ร่วมกันกับประชาชน เกาหลี (Communicating Korea’s Charm with the World, Together with the Koreans)" ด้วยกิจกรรม การทูตสาธารณะสามรูปแบบ คือ การทูตสาธารณะเชิงวัฒนธรรม การทูตสาธารณะเชิงองค์ความรู้ และ การทูตสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย การทูตสาธารณะเชิงวัฒนธรรมโดยมากจะเป็นการจัดกิจกรรม เพื่อสร้างความตระหนักรู้ เช่น การตอบคาถามเกี่ยวกับประเทศเกาหลี การส่งเสริมภาพลักษณ์เกาหลี ผ่านอาหารและการแต่งกาย สาหรับกิจกรรมเกี่ยวกับการทูตสาธารณะเชิงองค์ความรู้และขับเคลื่อน นโยบายนั้น โดยส่วนมากจะเป็นกิจกรรมหลักของ KF อยู่แล้ว เช่น การจัดสรรทุนการศึกษาเพื่อพัฒนา อาจารย์และนักวิจัย การสนับสนุนสิ่งพิมพ์ด้านเกาหลีศึกษา การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการและการระดม สมองเพื่อสร้างข้อเสนอเชิงนโยบาย เช่น การจัดตั้งเครือข่ายการทูตสาธารณะระดับโลก (Global Public Diplomacy Network: GPDNet) และการจัดนิทรรศการในโอกาสครบรอบสถาปนาความสัมพันธ์กับ ประเทศต่าง ๆ6 นอกจากนี้ กระทรวงการต่างประเทศได้จัดตั้งศูนย์การทูตประชาชน (Center for People’s Diplomacy) ขึ้นตามนโยบายของท่านประธานาธิบดีมุนที่เน้นความสาคัญของประชาชนและพลเมืองใน ประเทศในฐานะตัวแสดงสาคัญและเป็นผู้มีส่วนได้เสียในนโยบายการทูตสาธารณะ กิจกรรมหลักของศูนย์ อาทิ การประชาสัมพันธ์การเดินสายพบปะนักเรียนนิสิตนักศึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศ การจัดสัมมนาให้ความรู้ประชาชนก่อนและหลังการเยี่ยมเยือนทางการทูตต่าง ๆ ของ ประธานาธิบดีและรัฐมนตรี การบรรยายเกี่ยวกับนโยบายและปฏิบัติการการทูตสาธารณะในต่างประเทศ และกิจกรรมส่งเสริมบทบาทของประชาชนในฐานะ "นักการทูตสาธารณะ (Public Diplomat)" และ "บัว แก้วโคริยมิตร (Friends of MOFA)" ค.ศ. 2018 เป็นปีแรกที่กระทรวงการต่างประเทศจัดงานสัปดาห์การ ทูตสาธารณะ (Public Diplomacy Week) ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักรู้และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ 5 เหตุที่คณะกรรมการดังกล่าวเริ่มประชุมหลังจากผ่านร่างกฎหมายแล้วเป็นเวลา 1 ปี เนื่องจากนางสาวปักประพฤติชั่วร้ายแรง ถูกศาล รัฐธรรมนูญพิพากษาถอดถอนพ้นจากตาแหน่งประธานาธิบดี ทาให้ประเทศเกาหลีใต้มีแต่รัฐบาลรักษาการ กระทรวงการต่างประเทศไม่ สามารถดาเนินการใด ๆ ได้ ต้องรอหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่ในเดือนพฤษภาคม 2018 6 เสกสรร, “K-Pop-อาหารเกาหลี-ทุนเรียนต่อ.”
  • 4. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4 ประชาชนเกาหลีในกิจกรรมทางการทูต และแสดงบทบาทนาของเกาหลีในการสร้างเครือข่ายการทูต สาธารณะระดับโลกด้วย นอกจากบทบาทของกระทรวงการต่างประเทศแล้ว สถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ได้มีบทบาท สาคัญในการส่งเสริมกิจกรรมการทูตสาธารณะที่เป็นการสร้างภาพลักษณ์และความรู้สึกที่ดีต่อเกาหลีใน ประเทศต่าง ๆ อาทิ การจัดนิทรรศการส่งเสริมการขายสินค้าเกาหลี การจัดประกวดคลิปวิดีโอ ประกวด เต้นเกาหลี หรือการจัดกิจกรรมสร้างความตระหนักรู้อื่น ๆ สถานเอกอัครราชทูตเหล่านี้ยังมีบทบาทใน การสร้างเครือข่ายโคริยมิตรในต่างประเทศด้วย เช่น สถานเอกอัครราชทูตไทยร่วมกับสาขาวิชาภาษา เกาหลี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดงานสัปดาห์เกาหลีและการบรรยายเกี่ยวกับ ประเทศเกาหลี เป็นต้น รายงานข่าวของเดอะ โคเรีย ไทม์ส (The Korea Times) ระบุว่า ผู้นิยมชมชอบ สินค้าวัฒนธรรมของเกาหลีมีอยู่ราว 89 ล้านคนทั่วโลกในค.ศ. 2018 เพิ่มขึ้นจากค.ศ. 2017 ประมาณ 73 ล้านคน มีชมรมผู้นิยมกระแสเกาหลีอยู่กว่า 1,843 แห่งใน 113 ประเทศทั่วโลก ผู้บริโภคเหล่านี้อาจ กลายเป็นนักท่องเที่ยวหรือผู้ใช้สินค้าเกาหลีต่อไปอนาคตก็ได้7 ถอดบทเรียนเพื่อสร้างข้อเสนอแนะสาหรับการทูตสาธารณะของไทย ในทรรศนะของผู้เขียน ทรัพยากรการทูตสาธารณะของไทยไม่ได้ด้อยไปกว่าของเกาหลี ที่ผ่าน มา ประเทศไทยได้ดาเนินกิจกรรมการทูตสาธารณะในหลายลักษณะ อาทิ การเผยแพร่หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืนและความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกันว่า ประเทศไทยมิได้มีจุดมุ่งหมายจะไปขูดรีดทรัพยากร แต่จะมีความร่วมมือเพื่อเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาอย่าง ยั่งยืนร่วมกัน หรือการส่งเสริมการจัดกิจกรรมเทศกาลไทย (Thai Festival) ในประเทศต่าง ๆ ที่เป็นการ เผยแพร่ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว อาหาร ศิลปะและวัฒนธรรมไทยให้เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวต่างชาติ ตลอดจน สร้างเพื่อนของประเทศไทยด้วยการเชิญผู้มีส่วนร่วมต่าง ๆ มาสร้างงานด้วยกัน เช่น มหาวิทยาลัยที่มี การเรียนการสอนภาษาไทยและไทยศึกษา ชุมชนไทยในต่างประเทศ เป็นต้น ผู้เขียนมีข้อเสนอสองข้อ หลักในการยกระดับขีดความสามารถของการดาเนินนโยบายการทูตสาธารณะไทย ข้อแรก กระทรวงการต่างประเทศมีแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงระยะ 20 ปีที่สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติอยู่แล้ว ในยุทธศาสตร์เหล่านั้นมีสองประเด็นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการทูตสาธารณะ โดยตรง ได้แก่ การสร้างแบรนด์ประเทศไทย (Thailand Branding) และการสร้างอานาจโน้มนาอย่างเป็น ระบบ ผู้เขียนเห็นว่า รัฐบาลไทยควรสนับสนุนการจัดตั้งคณะกรรมการระดับชาติว่าด้วยการทูตสาธารณะ เช่นเดียวกับเกาหลีใต้ โดยให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธานแล้วเชิญผู้เกี่ยวข้อง เช่น สานักความสัมพันธ์ต่างประเทศของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวแห่ง 7 Yeon-soo Kwak, "89,000,000 'hallyu' fans worldwide," The Korea Times, 12 January 2019, เข้าถึงได้จาก http://www.koreatimes.co.kr/www/art/2019/01/732_261877.html, (วันที่ค้นข้อมูล 26 มิถุนายน 2562).
  • 5. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 5 ประเทศไทย (ททท.) มากาหนดทิศทางร่วมกัน นอกจากนี้ กระทรวงการต่างประเทศควรจัดทาแผน แม่บทการทูตสาธารณะซึ่งเน้นการวางกรอบการปฏิบัติ เสริมสร้างขีดความสามารถและแบ่งภารกิจของ หน่วยงานที่มีอยู่ในสังกัดให้ชัดเจน และเชื่อมโยงทรัพยากรของท้องถิ่นเข้ากับการทูตสาธารณะระดับชาติ ข้อที่สอง กระทรวงการต่างประเทศควรเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนและเยาวชนไทย ในการขับเคลื่อนการทูตสาธารณะ เช่น จัดกิจกรรมอบรมนักการทูตสาธารณะของไทย โดยใช้บุคลากร และสถานที่ของกระทรวงเอง เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม กระทรวงอาจมอบเกียรติบัตรเพื่อเป็นการรับรอง คุณสมบัติเช่นเดียวกับกิจกรรมอบรมทั่วไป นักการทูตสาธารณะเหล่านี้จะเป็นกาลังเสริมและเป็น กระบอกเสียงให้กระทรวงการต่างประเทศในการเผยแพร่ข้อมูล ผู้เข้าร่วมบางท่านอาจกลายเป็นนักการ ทูตอาชีพในวันข้างหน้า หรืออาจกลายเป็นผู้ประกอบการทางการทูตที่สนับสนุนการประชาสัมพันธ์ การ ระดมสมอง และกิจกรรมต่าง ๆ ของกระทรวง เมื่อจัดกิจกรรมอบรมเป็นจานวนมากเข้า ก็จะเกิดเป็น เครือข่ายการทูตสาธารณะไทย ซึ่งมีบทบาทเชิงสร้างสรรค์ได้อีกมากในอนาคต * * *