SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1
(กันยายน)
ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน:
แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
เสกสรร อานันทศิริเกียรติ
นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
บทนา
เมืองชายแดนเป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยยุค 4.0 สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง
ยั่งยืนในมิติต่าง ๆ ในด้านเศรษฐกิจ เมืองชายแดนคือกลไกสาคัญหนึ่งในการสร้างความเข้มแข็งทาง
เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มูลค่าการค้าชายแดนระหว่างไทยกับประเทศเพื่อน
บ้านที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สาหรับด้านความมั่นคง พื้นที่ชายแดนเป็นด่านหน้าของการจัดการความเสี่ยงและ
ภัยคุกคามความมั่นคงของมนุษย์แบบข้ามพรมแดน เช่น ปัญหายาเสพติด และปัญหาโรคระบาด ในด้าน
สังคม เมืองชายแดนเป็นพื้นที่ของการปะทะสังสรรค์ระหว่างกลุ่มคนที่หลากหลาย ซึ่งจะเป็นโอกาสสาคัญ
ในการสร้างความร่วมมือข้ามพื้นที่ในรูปแบบต่าง ๆ
อย่างไรก็ดี ยุทธศาสตร์ชาติให้ความสาคัญแก่เมืองชายแดน/พื้นที่ชายแดนในด้านเศรษฐกิจและ
ความมั่นคงเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และปัญหาความไม่
สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งที่เมืองชายแดนยังมีโอกาสในการสร้างความร่วมมือรูปแบบอื่น ๆ จาก
ทุนทางสังคม และลักษณะเฉพาะของพื้นที่ได้อีกมาก เอกสารนโยบายฉบับนี้ให้แนวทางและข้อเสนอแนะ
เชิงนโยบายในการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดนโดยถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของอาจารย์
พัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานบิสคลับ (BizClub) ประเทศไทย
การพัฒนาพื้นที่เมืองชายแดนของไทยในยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติได้อธิบายสถานการณ์และตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาเมืองชายแดนไว้ใน
แผนแม่บทประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ และประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งสองแผนนี้มี
วัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และพัฒนาพื้นที่เพื่อลดความ
เหลื่อมล้า ประเทศไทยมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ได้เปรียบในฐานะจุดศูนย์กลางของภูมิภาคเชื่อมระหว่าง
สองมหาสมุทร ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย เป็นแนวระเบียงเศรษฐกิจที่สาคัญที่
ฉบับที่ 6 / 2562
Policy Brief
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2
สามารถรองรับศักยภาพการเติบโตของประเทศเพื่อนบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงได้เป็นอย่างดี โดยได้
กาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาเมืองชายแดน 3 ข้อ ได้แก่ อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์
มวลรวมของพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน จานวนการลงทุนในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน
และเมืองในพื้นที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่มากขึ้น1
แผนแม่บทดังกล่าวได้ระบุถึงแนวทางการพัฒนาเมืองชายแดนไว้ว่า รัฐบาลต้องส่งเสริมการ
พัฒนาพื้นที่ดังกล่าวตามศักยภาพ "โดยต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่มี
อยู่เดิม รวมทั้งยกระดับความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่" ที่สาคัญคือ พัฒนาพื้นที่ดังกล่าวให้ "มี
ความพร้อมสาหรับรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน" นอกจาก
เป้าหมายการพัฒนาพื้นที่แล้ว แผนแม่บทยังได้ระบุแนวทางการพัฒนาไว้อีกว่า รัฐบาลต้องเสริมสร้าง
ความสามารถของวิสาหกิจชุมชนและเอกชนในพื้นที่ และสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
พื้นที่2
เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่ที่มีความยั่งยืน และเตรียมความพร้อมใน
การเปิดรับโอกาสทางธุรกิจและการสร้างความร่วมมืออื่น ๆ จากความเชื่อมโยงโครงสร้างสาธารณูปโภค
พื้นฐานที่กาลังพัฒนาขึ้นด้วย
แนวทางการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน3
เมืองชายแดนคือโอกาสการสร้างความร่วมมือระหว่างไทยกับประเทศที่มีชายแดนร่วมกัน ได้แก่
กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม และจีนตอนใต้ ในปัจจุบัน โครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีการสื่อสาร
ใหม่ ๆ ทาให้เกิดการพัฒนาเครือข่ายถนนที่เชื่อมต่อเมืองชายแดน การขนส่งสินค้าจึงทาได้สะดวกยิ่งขึ้น
มีการใช้แพลตฟอร์ม (Platform) ใหม่ ๆ เพื่อเป็นช่องทางการตลาดสาหรับเข้าถึงผู้บริโภคได้มากขึ้น
อย่างไรก็ดี เมืองชายแดนนั้นมีกลุ่มผู้ผลิตรายย่อยจานวนมาก กลุ่มผู้ผลิตเหล่านี้เป็นตัวแสดงใหม่ที่เข้า
มามีบทบาทมากขึ้นในเมืองชายแดนของไทย แนวทางที่ใช้ขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชนนี้มีแนวทางสาคัญ
คือ การใช้โอกาสจากการพัฒนาโครงข่ายถนนระดับภูมิภาค การพัฒนาแพลตฟอร์มออนไลน์ และการ
สร้างอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์
เส้นทางตามระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ อาทิ ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic
Corridor: NSEC) จะช่วยให้การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศสะดวกมากยิ่งขึ้น และเป็นการเพิ่มขีด
1
"แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๙) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) – ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 136
ตอน 51 ก, 1-2, เข้าถึงได้จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/051/T_0001.PDF, (วันที่ค้นข้อมูล 19 กันยายน 2562). เอกสาร
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวยังระบุเมืองเป้าหมายของการพัฒนาไว้ด้วยว่า ในช่วงปีที่ 1 – 5 เน้นการพัฒนาพื้นที่เมืองสงขลา ช่วงปีที่ 6 –
10 เน้นการพัฒนาพื้นที่เมืองตาก สระแก้ว เชียงราย กาญจนบุรี หนองคาย และมุกดาหาร และช่วงปีที่ 16 – 20 เน้นการพัฒนาพื้นที่เมืองนครพนม
นราธิวาส และตราด
2
"แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๙) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) – ๓.๓ แผนย่อยการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน,
อ้างแล้ว, 12-13.
3
เนื้อหาส่วนนี้เรียบเรียงจากการบรรยายของอาจารย์พัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานบิสคลับประเทศไทย ในเวทีวิชาการ เรื่อง "ยกระดับขีดความสามารถ
เมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย" จัดโดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 3 กันยายน
2562 เนื้อหาบางส่วนปรากฏใน มณฑิภรณ์ ปัญญา, ท้องถิ่นนาการพัฒนาเศรษฐกิจ: การยกระดับขีดความสามารถเมืองชายแดนภาคเหนือ, World
Cities Reviews, ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง, 25 กันยายน 2562, เข้าถึงได้จาก http://www.furd.in.th/cities/world-cities-
reviews/view/ON1ow22dwqV3/, (วันที่ค้นข้อมูล 26 กันยายน 2562).
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3
ความสามารถทางการค้าให้แก่ประเทศในลุ่มน้าโขง ไทยจะได้ประโยชน์อย่างยิ่งจากทั้งการท่องเที่ยวและ
การพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางน้า ไม่ว่าโครงการจะออกมาในรูปแบบใดก็ตาม เนื่องจากที่ตั้งของไทย
เป็นจุดยุทธศาสตร์และเป็นทางผ่าน ในปัจจุบัน เส้นทางเหล่านี้มีการขนส่งนาสินค้าเข้าจากประเทศจีน
มากมาย จึงเป็นโอกาสให้วิสาหกิจเมืองชายแดนสามารถส่งสินค้าของตนเข้าสู่ตลาดจีนได้ง่ายขึ้น
ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการก็ต้องปรับตัวให้แข่งขันกับสินค้าที่จะหลั่งไหลเข้ามาจากที่อื่น โดยสร้าง
ประโยชน์สูงสุดจากการเชื่อมต่อโครงข่ายถนนดังกล่าวให้ได้
กลุ่มบิสคลับ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เป็นทางการของไทย
ได้ร่วมมือกับกระทรวงพาณิชย์และภาคีเครือข่ายสร้างแพลตฟอร์มออนไลน์ในโครงการเชื่อมโยงระเบียง
เศรษฐกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS-Thailand E-Commerce Economic
Corridor: GTEC) เพื่อเป็นพื้นที่ให้ผู้ประกอบการรายย่อยของไทยเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายผู้ค้า และ
เสริมสร้างศักยภาพในการดึงดูดผู้ซื้อและนักลงทุนจากต่างประเทศ โดยอาศัยข้อตกลงที่ประเทศในอนุ
ภูมิภาคได้ตกลงกันตามกรอบของอาเซียนและ GMS เพื่อเพิ่มความเชื่อมโยงทางแพลตฟอร์มดิจิทัล โดย
แพลตฟอร์มที่เกิดขึ้นนี้จะช่วยผลักดันผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินค้าเกษตร และบริการ
การท่องเที่ยวให้สามารถขยายตลาดสู่ต่างประเทศได้มากขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งจะช่วยผู้ประกอบการ
ลดต้นทุนการตลาดได้อย่างมาก และช่วยให้เข้าถึงลูกค้าเฉพาะกลุ่มได้มากขึ้น
นอกจากการใช้ประโยชน์จากการพัฒนาโครงข่ายถนนและแพลตฟอร์มออนไลน์แล้ว การ
สร้างอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ถือเป็นอีกปัจจัยในการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่ง การใช้ยุทธศาสตร์ "ท้องถิ่นนิยม" เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นจากพื้นที่เมือง
ชายแดน ความเป็นท้องถิ่นนิยมนี้เป็นจุดขายสาคัญที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการมีพื้นที่ในตลาดที่โดดเด่น
ออกมาจากผู้ผลิตรายใหญ่ ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการก็ต้องผสมผสานความทันสมัยเป็นสากลให้เข้า
กับภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ด้วย อาจารย์พัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานบิสคลับประเทศไทย ได้เสนอ
แนวทางสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามยุทธศาสตร์ท้องถิ่นนิยมไว้สามข้อ ดังนี้
1) ผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นให้มีมาตรฐานและมีความน่าเชื่อถือ โดยสร้างมาตรฐาน
การผลิตให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัย มีข้อมูลผลิตภัณฑ์ เครื่องหมายการค้า
และการรับรองจากหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ
2) ต่อยอดสินค้าพื้นฐานให้มีมูลค่าเพิ่ม สร้างภาพลักษณ์ของสินค้าให้น่าสนใจ ใส่เอกลักษณ์ของ
ท้องถิ่นลงไปในสินค้า เปลี่ยนรูปแบบสินค้าธรรมดา ๆ ให้ดูมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น โดยสร้างเรื่องราวของ
สินค้าจากวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น
3) สร้างตลาดส่งออกให้สินค้าที่เพิ่มมูลค่าแล้ว โดยใช้ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 มองหาและ
สร้างตลาดใหม่ ๆ ให้แก่สินค้าในท้องถิ่นผ่านการใช้เทคโนโลยี โดยการโฆษณา หาเครือข่าย และขาย
ผลิตภัณฑ์ผ่านเครือข่าย E-Commerce
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4
ถอดบทเรียนเพื่อสร้างข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ประสบการณ์ในการขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดนของอาจารย์พัฒนาสามารถสร้างเป็น
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับภาครัฐและภาคเอกชนได้ดังนี้
ข้อแรก ภาครัฐควรเร่งรัดการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในประเทศให้สอดรับกับแผนการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานระดับภูมิภาค ประเทศไทยมีตาแหน่งที่ตั้งที่ได้เปรียบ สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งจีนและ
พื้นที่ในบริเวณรอบ อยู่บนยุทธศาสตร์เส้นทางการขนส่งที่สาคัญ เพื่ออานวยความสะดวกในการขนส่ง
สินค้าระหว่างประเทศ เชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคเหนือและในอาเซียน โดยในปัจจุบันมีทั้ง
เส้นทางที่มีอยู่แล้วและเส้นทางที่กาลังดาเนินการสร้าง
ข้อที่สอง ภาครัฐควรจัดอบรมผู้ผลิตรายย่อยในพื้นที่ให้เข้าใจกลยุทธ์และวิธีการเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขัน การส่งเสริมให้เพิ่มตลาดผ่านแพลตฟอร์มการค้าออนไลน์ โดยการพัฒนา
ทรัพยากรบุคคลนี้สามารถทาได้โดยเริ่มจากการหาตัวแทนพื้นที่ พัฒนาสมาชิกชุมชนในพื้นที่นั้น ๆ ให้
เกิดความเชี่ยวชาญ แล้วจัดตั้งเป็นเครือข่ายการค้า เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของไทยได้รับการยอมรับ เป็นที่
นิยม และมีภาพลักษณ์ที่ดีในประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในอุตสาหกรรม
บันเทิง สิ่งทอแฟชั่น เครื่องประดับ อัญมณี และอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจเหล่านี้ของไทยมีการพัฒนาไปล้า
หน้ากว่าเมืองอื่น ๆ ในประเทศเพื่อนบ้านของไทย ทาให้ไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงกว่า และมี
โอกาสขยายตลาดได้มากกว่า
ข้อสุดท้าย คนไทยควรปรับวิธีคิดและการมองเมืองชายแดนใหม่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการค้า
เมืองชายแดนไทยในขณะนี้อยู่ภายใต้แนวความคิดและมุมมองที่เปลี่ยนไป มองการค้าผ่านชายแดนเป็น
เรื่องของพื้นที่ทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ไม่ใช่เพียงเรื่องของแม่สาย แม่สอด แต่เป็นการทางาน
ร่วมกันของทุกพื้นที่ในภูมิภาค ยกระดับการทางานจากท้องถิ่นให้เป็นระดับความร่วมมือที่ใหญ่ขึ้น ใน
ขณะเดียวกัน การมองเศรษฐกิจแบบภูมิภาคไม่ได้ให้ความสาคัญเพียงเมืองใหญ่อย่างเดียวดังแต่ก่อน
แต่ต้องให้ความสาคัญแก่พื้นที่เล็ก ๆ และกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยด้วย
ผู้เขียนเห็นสอดคล้องกับข้อเสนอของประธานบิสคลับประเทศไทยว่า หากเรามองจุดยืนของ
เมืองชายแดนผ่านมุมมองของรัฐ เราจะมองเห็นเมืองชายแดนเป็นพื้นที่ที่เต็มไปด้วยกฎระเบียบต่าง ๆ
มากมายและกฎหมายที่รัดกุม เมืองชายแดนระหว่างสองประเทศไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้ง่ายเหมือนใน
อดีต แต่หากเรามองเมืองชายแดนในมุมมองของท้องถิ่น จะเห็นว่า ความเป็นเมืองชายแดนนั้นคือโอกาส
ที่ดีและความสามารถในการเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนสาหรับภาคธุรกิจและภาคประชาชนไทย
* * *

Contenu connexe

Similaire à Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาFURD_RSU
 
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบleemeanxun
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะFURD_RSU
 
เส้นทางสายใหม
เส้นทางสายใหมเส้นทางสายใหม
เส้นทางสายใหมThongkum Virut
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD_RSU
 
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆDome Nattapat
 

Similaire à Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (10)

กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบTcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
Tcdc ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ
 
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างเหมาะสมและมีสุขภาวะ
 
เส้นทางสายใหม
เส้นทางสายใหมเส้นทางสายใหม
เส้นทางสายใหม
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
 
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆ
ความร่วมมือทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหว่างประเทสไทย กับภูมิภาคต่างๆ
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Policy Brief 6/2562 ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 1 (กันยายน) ยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เสกสรร อานันทศิริเกียรติ นักวิจัย สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ บทนา เมืองชายแดนเป็นพื้นที่ที่มีความสาคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยยุค 4.0 สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนในมิติต่าง ๆ ในด้านเศรษฐกิจ เมืองชายแดนคือกลไกสาคัญหนึ่งในการสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มูลค่าการค้าชายแดนระหว่างไทยกับประเทศเพื่อน บ้านที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น สาหรับด้านความมั่นคง พื้นที่ชายแดนเป็นด่านหน้าของการจัดการความเสี่ยงและ ภัยคุกคามความมั่นคงของมนุษย์แบบข้ามพรมแดน เช่น ปัญหายาเสพติด และปัญหาโรคระบาด ในด้าน สังคม เมืองชายแดนเป็นพื้นที่ของการปะทะสังสรรค์ระหว่างกลุ่มคนที่หลากหลาย ซึ่งจะเป็นโอกาสสาคัญ ในการสร้างความร่วมมือข้ามพื้นที่ในรูปแบบต่าง ๆ อย่างไรก็ดี ยุทธศาสตร์ชาติให้ความสาคัญแก่เมืองชายแดน/พื้นที่ชายแดนในด้านเศรษฐกิจและ ความมั่นคงเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และปัญหาความไม่ สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งที่เมืองชายแดนยังมีโอกาสในการสร้างความร่วมมือรูปแบบอื่น ๆ จาก ทุนทางสังคม และลักษณะเฉพาะของพื้นที่ได้อีกมาก เอกสารนโยบายฉบับนี้ให้แนวทางและข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายในการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดนโดยถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของอาจารย์ พัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานบิสคลับ (BizClub) ประเทศไทย การพัฒนาพื้นที่เมืองชายแดนของไทยในยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติได้อธิบายสถานการณ์และตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาเมืองชายแดนไว้ใน แผนแม่บทประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ และประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งสองแผนนี้มี วัตถุประสงค์หลักในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และพัฒนาพื้นที่เพื่อลดความ เหลื่อมล้า ประเทศไทยมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่ได้เปรียบในฐานะจุดศูนย์กลางของภูมิภาคเชื่อมระหว่าง สองมหาสมุทร ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย เป็นแนวระเบียงเศรษฐกิจที่สาคัญที่ ฉบับที่ 6 / 2562 Policy Brief
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 2 สามารถรองรับศักยภาพการเติบโตของประเทศเพื่อนบ้านในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงได้เป็นอย่างดี โดยได้ กาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาเมืองชายแดน 3 ข้อ ได้แก่ อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ มวลรวมของพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน จานวนการลงทุนในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจชายแดน และเมืองในพื้นที่ได้รับการพัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่มากขึ้น1 แผนแม่บทดังกล่าวได้ระบุถึงแนวทางการพัฒนาเมืองชายแดนไว้ว่า รัฐบาลต้องส่งเสริมการ พัฒนาพื้นที่ดังกล่าวตามศักยภาพ "โดยต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่มี อยู่เดิม รวมทั้งยกระดับความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่" ที่สาคัญคือ พัฒนาพื้นที่ดังกล่าวให้ "มี ความพร้อมสาหรับรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมที่เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน" นอกจาก เป้าหมายการพัฒนาพื้นที่แล้ว แผนแม่บทยังได้ระบุแนวทางการพัฒนาไว้อีกว่า รัฐบาลต้องเสริมสร้าง ความสามารถของวิสาหกิจชุมชนและเอกชนในพื้นที่ และสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา พื้นที่2 เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของพื้นที่ที่มีความยั่งยืน และเตรียมความพร้อมใน การเปิดรับโอกาสทางธุรกิจและการสร้างความร่วมมืออื่น ๆ จากความเชื่อมโยงโครงสร้างสาธารณูปโภค พื้นฐานที่กาลังพัฒนาขึ้นด้วย แนวทางการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน3 เมืองชายแดนคือโอกาสการสร้างความร่วมมือระหว่างไทยกับประเทศที่มีชายแดนร่วมกัน ได้แก่ กัมพูชา ลาว เมียนมา เวียดนาม และจีนตอนใต้ ในปัจจุบัน โครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีการสื่อสาร ใหม่ ๆ ทาให้เกิดการพัฒนาเครือข่ายถนนที่เชื่อมต่อเมืองชายแดน การขนส่งสินค้าจึงทาได้สะดวกยิ่งขึ้น มีการใช้แพลตฟอร์ม (Platform) ใหม่ ๆ เพื่อเป็นช่องทางการตลาดสาหรับเข้าถึงผู้บริโภคได้มากขึ้น อย่างไรก็ดี เมืองชายแดนนั้นมีกลุ่มผู้ผลิตรายย่อยจานวนมาก กลุ่มผู้ผลิตเหล่านี้เป็นตัวแสดงใหม่ที่เข้า มามีบทบาทมากขึ้นในเมืองชายแดนของไทย แนวทางที่ใช้ขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชนนี้มีแนวทางสาคัญ คือ การใช้โอกาสจากการพัฒนาโครงข่ายถนนระดับภูมิภาค การพัฒนาแพลตฟอร์มออนไลน์ และการ สร้างอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ เส้นทางตามระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ อาทิ ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor: NSEC) จะช่วยให้การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศสะดวกมากยิ่งขึ้น และเป็นการเพิ่มขีด 1 "แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๙) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) – ส่วนที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร," ราชกิจจานุเบกษา, เล่ม 136 ตอน 51 ก, 1-2, เข้าถึงได้จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/051/T_0001.PDF, (วันที่ค้นข้อมูล 19 กันยายน 2562). เอกสาร แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวยังระบุเมืองเป้าหมายของการพัฒนาไว้ด้วยว่า ในช่วงปีที่ 1 – 5 เน้นการพัฒนาพื้นที่เมืองสงขลา ช่วงปีที่ 6 – 10 เน้นการพัฒนาพื้นที่เมืองตาก สระแก้ว เชียงราย กาญจนบุรี หนองคาย และมุกดาหาร และช่วงปีที่ 16 – 20 เน้นการพัฒนาพื้นที่เมืองนครพนม นราธิวาส และตราด 2 "แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (๙) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) – ๓.๓ แผนย่อยการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน, อ้างแล้ว, 12-13. 3 เนื้อหาส่วนนี้เรียบเรียงจากการบรรยายของอาจารย์พัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานบิสคลับประเทศไทย ในเวทีวิชาการ เรื่อง "ยกระดับขีดความสามารถ เมืองชายแดน: แนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย" จัดโดย ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2562 เนื้อหาบางส่วนปรากฏใน มณฑิภรณ์ ปัญญา, ท้องถิ่นนาการพัฒนาเศรษฐกิจ: การยกระดับขีดความสามารถเมืองชายแดนภาคเหนือ, World Cities Reviews, ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง, 25 กันยายน 2562, เข้าถึงได้จาก http://www.furd.in.th/cities/world-cities- reviews/view/ON1ow22dwqV3/, (วันที่ค้นข้อมูล 26 กันยายน 2562).
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 3 ความสามารถทางการค้าให้แก่ประเทศในลุ่มน้าโขง ไทยจะได้ประโยชน์อย่างยิ่งจากทั้งการท่องเที่ยวและ การพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางน้า ไม่ว่าโครงการจะออกมาในรูปแบบใดก็ตาม เนื่องจากที่ตั้งของไทย เป็นจุดยุทธศาสตร์และเป็นทางผ่าน ในปัจจุบัน เส้นทางเหล่านี้มีการขนส่งนาสินค้าเข้าจากประเทศจีน มากมาย จึงเป็นโอกาสให้วิสาหกิจเมืองชายแดนสามารถส่งสินค้าของตนเข้าสู่ตลาดจีนได้ง่ายขึ้น ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการก็ต้องปรับตัวให้แข่งขันกับสินค้าที่จะหลั่งไหลเข้ามาจากที่อื่น โดยสร้าง ประโยชน์สูงสุดจากการเชื่อมต่อโครงข่ายถนนดังกล่าวให้ได้ กลุ่มบิสคลับ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เป็นทางการของไทย ได้ร่วมมือกับกระทรวงพาณิชย์และภาคีเครือข่ายสร้างแพลตฟอร์มออนไลน์ในโครงการเชื่อมโยงระเบียง เศรษฐกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS-Thailand E-Commerce Economic Corridor: GTEC) เพื่อเป็นพื้นที่ให้ผู้ประกอบการรายย่อยของไทยเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายผู้ค้า และ เสริมสร้างศักยภาพในการดึงดูดผู้ซื้อและนักลงทุนจากต่างประเทศ โดยอาศัยข้อตกลงที่ประเทศในอนุ ภูมิภาคได้ตกลงกันตามกรอบของอาเซียนและ GMS เพื่อเพิ่มความเชื่อมโยงทางแพลตฟอร์มดิจิทัล โดย แพลตฟอร์มที่เกิดขึ้นนี้จะช่วยผลักดันผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินค้าเกษตร และบริการ การท่องเที่ยวให้สามารถขยายตลาดสู่ต่างประเทศได้มากขึ้นผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งจะช่วยผู้ประกอบการ ลดต้นทุนการตลาดได้อย่างมาก และช่วยให้เข้าถึงลูกค้าเฉพาะกลุ่มได้มากขึ้น นอกจากการใช้ประโยชน์จากการพัฒนาโครงข่ายถนนและแพลตฟอร์มออนไลน์แล้ว การ สร้างอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ถือเป็นอีกปัจจัยในการยกระดับวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง การใช้ยุทธศาสตร์ "ท้องถิ่นนิยม" เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นจากพื้นที่เมือง ชายแดน ความเป็นท้องถิ่นนิยมนี้เป็นจุดขายสาคัญที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการมีพื้นที่ในตลาดที่โดดเด่น ออกมาจากผู้ผลิตรายใหญ่ ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการก็ต้องผสมผสานความทันสมัยเป็นสากลให้เข้า กับภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ด้วย อาจารย์พัฒนา สิทธิสมบัติ ประธานบิสคลับประเทศไทย ได้เสนอ แนวทางสาหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามยุทธศาสตร์ท้องถิ่นนิยมไว้สามข้อ ดังนี้ 1) ผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นให้มีมาตรฐานและมีความน่าเชื่อถือ โดยสร้างมาตรฐาน การผลิตให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัย มีข้อมูลผลิตภัณฑ์ เครื่องหมายการค้า และการรับรองจากหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ 2) ต่อยอดสินค้าพื้นฐานให้มีมูลค่าเพิ่ม สร้างภาพลักษณ์ของสินค้าให้น่าสนใจ ใส่เอกลักษณ์ของ ท้องถิ่นลงไปในสินค้า เปลี่ยนรูปแบบสินค้าธรรมดา ๆ ให้ดูมีคุณค่ามากยิ่งขึ้น โดยสร้างเรื่องราวของ สินค้าจากวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ท้องถิ่น 3) สร้างตลาดส่งออกให้สินค้าที่เพิ่มมูลค่าแล้ว โดยใช้ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 มองหาและ สร้างตลาดใหม่ ๆ ให้แก่สินค้าในท้องถิ่นผ่านการใช้เทคโนโลยี โดยการโฆษณา หาเครือข่าย และขาย ผลิตภัณฑ์ผ่านเครือข่าย E-Commerce
  • 4. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ 4 ถอดบทเรียนเพื่อสร้างข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ประสบการณ์ในการขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชนเมืองชายแดนของอาจารย์พัฒนาสามารถสร้างเป็น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับภาครัฐและภาคเอกชนได้ดังนี้ ข้อแรก ภาครัฐควรเร่งรัดการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมในประเทศให้สอดรับกับแผนการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานระดับภูมิภาค ประเทศไทยมีตาแหน่งที่ตั้งที่ได้เปรียบ สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งจีนและ พื้นที่ในบริเวณรอบ อยู่บนยุทธศาสตร์เส้นทางการขนส่งที่สาคัญ เพื่ออานวยความสะดวกในการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศ เชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคเหนือและในอาเซียน โดยในปัจจุบันมีทั้ง เส้นทางที่มีอยู่แล้วและเส้นทางที่กาลังดาเนินการสร้าง ข้อที่สอง ภาครัฐควรจัดอบรมผู้ผลิตรายย่อยในพื้นที่ให้เข้าใจกลยุทธ์และวิธีการเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขัน การส่งเสริมให้เพิ่มตลาดผ่านแพลตฟอร์มการค้าออนไลน์ โดยการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลนี้สามารถทาได้โดยเริ่มจากการหาตัวแทนพื้นที่ พัฒนาสมาชิกชุมชนในพื้นที่นั้น ๆ ให้ เกิดความเชี่ยวชาญ แล้วจัดตั้งเป็นเครือข่ายการค้า เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของไทยได้รับการยอมรับ เป็นที่ นิยม และมีภาพลักษณ์ที่ดีในประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากนี้ ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในอุตสาหกรรม บันเทิง สิ่งทอแฟชั่น เครื่องประดับ อัญมณี และอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจเหล่านี้ของไทยมีการพัฒนาไปล้า หน้ากว่าเมืองอื่น ๆ ในประเทศเพื่อนบ้านของไทย ทาให้ไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูงกว่า และมี โอกาสขยายตลาดได้มากกว่า ข้อสุดท้าย คนไทยควรปรับวิธีคิดและการมองเมืองชายแดนใหม่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการค้า เมืองชายแดนไทยในขณะนี้อยู่ภายใต้แนวความคิดและมุมมองที่เปลี่ยนไป มองการค้าผ่านชายแดนเป็น เรื่องของพื้นที่ทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ ไม่ใช่เพียงเรื่องของแม่สาย แม่สอด แต่เป็นการทางาน ร่วมกันของทุกพื้นที่ในภูมิภาค ยกระดับการทางานจากท้องถิ่นให้เป็นระดับความร่วมมือที่ใหญ่ขึ้น ใน ขณะเดียวกัน การมองเศรษฐกิจแบบภูมิภาคไม่ได้ให้ความสาคัญเพียงเมืองใหญ่อย่างเดียวดังแต่ก่อน แต่ต้องให้ความสาคัญแก่พื้นที่เล็ก ๆ และกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยด้วย ผู้เขียนเห็นสอดคล้องกับข้อเสนอของประธานบิสคลับประเทศไทยว่า หากเรามองจุดยืนของ เมืองชายแดนผ่านมุมมองของรัฐ เราจะมองเห็นเมืองชายแดนเป็นพื้นที่ที่เต็มไปด้วยกฎระเบียบต่าง ๆ มากมายและกฎหมายที่รัดกุม เมืองชายแดนระหว่างสองประเทศไม่สามารถเชื่อมต่อกันได้ง่ายเหมือนใน อดีต แต่หากเรามองเมืองชายแดนในมุมมองของท้องถิ่น จะเห็นว่า ความเป็นเมืองชายแดนนั้นคือโอกาส ที่ดีและความสามารถในการเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนสาหรับภาคธุรกิจและภาคประชาชนไทย * * *