SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
PCR primer design 
Methee Sriprapun, PhD 
(Principle and how to design primers) 
Sriprapun.m@gmail.com
Objective of primer usage 
•เพื่อใช้สร้างสาย cDNA เพื่อนาไปใช้ในปฏิกิริยา PCR •เป็นจุดเริ่มต้นในการสังเคราะห์ DNA สายใหม่ 
•เป็นจุดเริ่มต้นในการทา DNA sequencing 
http://seqcore.brcf.med.umich.edu/doc/educ/dnapr/sequencing.html 
http://kem-en-tec-nordic.com/pcr-page/
Types of primer 
•Oligo dT (16-20 T primer)  primes at the poly-A tail of mRNA 
• Random hexamers: Total RNA template for cDNA 
•Gene specific primer: usually uses reverse primer 
http://www.thermoscientificbio.com/general-reagents-and- accessories/primers-for-cdna-synthesis/ 
http://www.bio.davidson.edu/genomics/method/cDNAproduction.html
General guidelines for primer design 
•ขนาดของ primers ควรมีความยาว 18-30 bp 
•เบส GC ใน primer แต่ละเส้นควรมีประมาณ 40-60% •Tm ของ primer แต่ละเส้นควรอยู่ในช่วง 55-66 C และ primers ทั้ง 2 เส้นควรมีอุณหภูมิต่างกันไม่เกิน 2 C •ปลาย 3’ ของ primer แต่ละเส้นควรมี G or C แต่ไม่ควรเกิน 2 ตัวในส่วน ที่เป็น 5 base สุดท้าย •หลักเลี่ยงการออกแบบที่มีเบสซ้ากันหลายๆ ตัว ( 3 or more) •หลีกเลี่ยงการเกิด mismatch ระหว่าง primer กับ template บริเวณ 3’end
General guidelines for primer design (II) 
•หลีกเลี่ยง secondary structure ได้แก่ 
- Hairpin 
- Self-complementary (primer จับกันเองเช่น F-F) 
- Primer-dimer 
3’ 
5’ 
DNA template 
5’ 
3’ 
ปลาย 3’ ของ primer ต้องใส่
•ต้องตรวจสอบ primers ที่ออกแบบว่ามีความจาเพาะหรือไม่  blast กับ database 
•เมื่อออกแบบแล้ว F primer: ใช้ได้เลย •แต่ R primer: จะต้องทา reverse complement ก่อนจึง blast หรือสั่งสังเคราะห์ primer •ยกเว้นบางโปรแกรมที่ reverse complement ให้เลยเช่น Primer-BLAST •ถ้า design for qPCR: PCR product ต้องไม่เกิน300 bp) 
General guidelines for primer design (III)
Avoid secondary structure 
•Hairpin loop 
•Self-complementary 
•Primer-dimer 
https://bioweb.uwlax.edu/GenWeb/Molecular/seq_anal/primer_design/primer_design.htm 
http://www.nature.com/nprot/journal 
/v1/n3/fig_tab/nprot.2006.247_F2.html
Calculation of Tm and annealing temperature 
•Tm เป็นอุณหภูมิที่ทาให้ dsDNA  ssDNA 50% 
Tm= 2 x (no. of [A+T]) + 4 x (no. of [G+C]) 
Annealing temp. = Tm of primer - 5 
http://www.gravitywaves.com/chemistry/CHEMXL153/NucleotidesCompandStruc.htm
Tm calculation quiz 
Tm= 2 x (no. of [A+T]) + 4 x (no. of [G+C]) 
Annealing temp. = Tm of primer - 5 
Sequence 
Tm (C) 
Annealing Temp. (C) 
5’ GAT TAC TTG GGC AAG GCC GA 3’ 
62 
57 
5’ ATG GGC AAT AAT TTG GGA 3’ 
50 
45 
5’ ATT GGC AAG TTG AAG GCG GGG 3’ 
64 
59 
5’ TTG TTG AAG AGC CCC GGA C 3’ 
60 
55
Reverse complement 
•Reverse: change nt. sequence from (5’3’) to (3’5’) 
•Complement with the reversed sequence •ทิศทางของสายเหมือนเดิม เปลี่ยนแค่ลาดับ sequence •กระทาที่ sequence ในแต่ละสายเท่านั้น (ทิศการอ่านคงเดิม) 
5’CTCCAAGCTCCAAGCTCCAG 3’ Reverse: 5’GACCTCGAACCTCGAACCTC 3’ Complement: 5’CTGGAGCTTGGAGCTTGGAG 3’ 
ดังนั้นสาย reverse complement ที่ได้คือ :……………………………….. 
Courier New เป็น font ที่เหมาะในการพิมพ์ sequence ที่สุด
How to design primers 
1. Manual design 
- นา sequence มาเลือกตาแหน่งเอง 
- นายีนที่สนใจทั้งหมดมา alignment เลือกตาแหน่งที่ conserve 
( Universal primers) 
- จากนั้นจึงนาเข้าโปรแกรมตรวจสอบลักษณะของ primers เช่น 
ความยาว, %GC, Tm, specificity to DNA target, etc. 
- จะเหมาะในงาน multiplex PCR หรือการออกแบบ probe ในงาน 
บางอย่าง
Multiple sequence 
alignment for 
primers and probe 
design
Universal primers for PCR assay
How to design primers (II) 
1. Program design 
- ใช้โปรแกรมช่วยออกแบบ primers ต่างๆ 
- สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา สามารถตั้งค่าต่างๆ ได้มาก 
- ไม่เหมาะในการออกแบบ primers ที่ทา multiplex PCR 
- ปัจจุบันมี program ช่วยออกแบบ probe for qPCR 
- ไม่สามารถออกแบบ primers ที่มีการ modified ที่ปลาย 5’ ได้
Program for primer design 
(Abd-Elsalam KA, Afr J Biotechnol 2003)
Primer design with Primer-BLAST 
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/tools/primer-blast/ 
•Developed by NCBI 
•Primer3 to design PCR primers + BLAST and global alignment algorithm to screen primers
Primer-BLAST 
•Primer design & BLAST primers with sequences in database •เมื่อมี primers อยู่แล้วแต่ไม่ทราบขนาด PCR product  ตรวจสอบได้ •เมื่อมี primers อยู่แล้ว  BLAST ดูการจับของ primers กับ template ได้ •ข้อเสีย: เนื่องจากโปรแกรมต้องทาการ Blast หลังออกแบบ primers  ใช้เวลานาน
How to use primer-BLAST 
•เลือกยีนที่ต้องการออกแบบ primer ควรเลือกที่เป็น mRNA เพื่อ หลีกเลี่ยงการ design ตรงส่วน exon (ดู organism ด้วย) หรืออาจเลือก ยีนของ pathogens ที่ต้องการออกแบบ •นา sequence ที่สนใจ (อาจเป็น FASTA, sequence อย่างเดียว หรือ Accession No.) ใส่โปรแกรม 
•ตั้งค่า parameter ต่างๆ แล้ว กด Get primers •พิจารณา primers โดยดูจากค่า Tm, self-complementary, GC content, etc. •Sequence ของ primers ทั้ง 2 เส้น สามารถใช้ได้เลยไม่ต้อง reverse complement
ตัวอย่าง ต้องการออกแบบ primer เพื่อตรวจหายีน -actin ของคน โดย ให้มี Tm = 60C PCR product 100-300 bp 
เลือกยีน -actin (human) จาก NCBI 
 นา sequence หรือ accession No. ใส่ตรงช่อง PCR template 
ใส่หรือไม่ก็ได้
 ตั้งค่า parameter ต่างๆ ได้แก่ ขนาด PCR product และ Tm ของ primers 
เปลี่ยนเป็น nr 
จะใส่หรือไม่ก็ได้ 
 จากนั้นกด Get Primers
Result 
จานวน primers ที่ design ออกมาได้ทั้งหมด 5 คู่ 
ผลที่ได้ 
1.ข้อมูล primers และ parameters ต่างๆ 
2.ขนาด PCR product 
3.ผล blast ว่า primers จับจาเพาะกับ สิ่งที่ต้องการหรือไม่
How to check secondary structure 
OligoCalc 
http://www.basic.northwestern.edu/biotools/oligocalc.html
 Copy sequence primer แต่ละเส้นวางตรงนี้ 
เลือกให้เป็น ssDNA 
กด calculate
ตัวอย่างลองเอาเส้น F และ R primers จากการออกแบบมาทดสอบดู 
Result 
ได้ reverse complement sequence 
ได้ค่า 
parameters 
ต่างๆ
Click เพื่อดู 
secondary structure 
Result
Primer design with Primer3 
•Online program: ปัจจุบันมีทั้ง Primer3 และ Primer3Plus •Primer3Plus มีการพัฒนาในเรื่องประสิทธิภาพของการ ทางาน (แต่การใช้โปรแกรมทั้ง 2 ไม่ต่างกัน)
http://www.bioinformatics.nl/cgi-bin/primer3plus/primer3plus.cgi/ 
ใส่ sequence ที่ต้องการออกแบบ primer 
กดเพื่อให้ โปรแกรม design 
ตั้งค่า parameters ต่างๆ 
(ปกติตั้งแค่ตรงนี้พอ ที่เหลือใช้ค่า default)
ตัวอย่าง ต้องการออกแบบ primer เพื่อตรวจหายีน -actin ของคน โดย ให้มี Tm = 60C PCR product 100-300 bp 
เลือกยีน -actin (human) จาก NCBI 
 นา sequence ใส่ในช่องว่างที่มีลูกศร หรือ upload FASTA file of interested sequence
 ตั้งค่า parameter ต่างๆ ได้แก่ ขนาด PCR product และ Tm ของ primers 
 จากนั้นกด Pick Primers
โปรแกรมบอกรายละเอียดของ primers เช่น Tm, %GC 
ข้อมูล secondary structure, product size
ให้ข้อมูลตาแหน่ง ของ primers บน sequence ที่เรานามาออกแบบ 
ข้อมูล primers อื่นๆ ประกอบการพิจารณา 
ของผู้ใช้งาน
ถ้าต้องการ primers ชุดไหน ก็กด Send to Primer3 Manager ได้เลย 
ต้องการ Blast กับ GenBank (แต่เป็นการ blast ทีละเส้น)
ถ้าต้องการ check การจับกันของคู่ primers ว่าจาเพาะกับยีนที่ต้องการหรือไม่ สามารถ copy sequences ไปที่ Primer-BLAST ได้ (แต่อาจใช้เวลานาน) 
ใส่ตรงนี้ 
เปลี่ยนเป็น nr 
จะใส่หรือไม่ก็ได้ (organism) 
จากนั้นกด Get Primers
ถ้าต้องการ check secondary structure เพิ่มเติม  Program OligoCalc 
Primers ที่ได้สามารถ Order ได้เลยไม่ต้อง reverse complement 
ข้อดี: รวดเร็ว ประหยัดเวลา 
ข้อเสีย: Blast primer ได้ทีละเส้นเท่านั้น ถ้าจะดูการจับของ primers ต้องใช้ อีกโปรแกรมหนึ่งช่วย
Tips for consideration 
•Program for primer design  tool for prediction of 
primers •ผลการออกแบบ primers อาจใช้ไม่ได้ 100% ในการทางานจริง •Primers คู่แรกมักเป็น primers ที่ดีที่สุดที่โปรแกรมเลือกให้ •Program for primer design เป็นเหมือนเข็มทิศ และ tool ที่ อานวยความสะดวก และ ลดระยะเวลาการทางานเท่านั้น •ต้องมีการ Optimization PCR ในการทางานจริงเสมอ !
Primer design at a glance 
เลือกสิ่งมีชีวิต และ/หรือ ยีนที่สนใจจากฐานข้อมูลต่างๆ เช่น GenBank, EMBL, DDBJ, etc. 
Download sequence ในรูป FASTA หรือจดจา Accession No. ของยีนนั้น 
นา sequence ไปออกแบบกับโปรแกรม Primer design ที่ได้เลือกไว้หรือทาการออกแบบ 
โดยวิธี manual (ถ้าเป็น universal primer  multiple sequence alignment เลือก conserve sequence) 
เลือก primers ตาม condition ที่ผู้ใช้ต้องการ 
พิจารณา primers ว่าตรงตาม Guidelines of primer design หรือไม่ 
ตรวจความถูกต้องของ sequence primer จากนั้นสั่งสังเคราะห์ primers 
นามาใช้จริงกับงาน PCR หรือ RT-PCR รวมถึง try condition กับ น้ายาที่ใช้ 
โดย: ทนพ.ดร. เมธี ศรีประพันธ์
PCR primer design

Contenu connexe

Tendances

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptx
2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptx2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptx
2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptxmai Vijit
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนChainarong Maharak
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556TODSAPRON TAWANNA
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)Biobiome
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 

Tendances (20)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptx
2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptx2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptx
2 Carbohydrate metabolism_mai_2564.pptx
 
Pcr
PcrPcr
Pcr
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
real time-PCR..
real time-PCR..real time-PCR..
real time-PCR..
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (2)
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)อนูพันธุศาสตร์ (Molecular  Genetics)
อนูพันธุศาสตร์ (Molecular Genetics)
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 

En vedette

How to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityHow to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityMahidol University, Thailand
 
Primer design
Primer designPrimer design
Primer designkuangxia
 
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Mahidol University, Thailand
 
NCBI -Pcr primer design
NCBI -Pcr primer designNCBI -Pcr primer design
NCBI -Pcr primer designMohammed Fawzi
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)Mahidol University, Thailand
 
PCR, Real Time PCR
PCR, Real Time PCRPCR, Real Time PCR
PCR, Real Time PCRdineshnbagr
 
Polymerase chain reaction
Polymerase chain reactionPolymerase chain reaction
Polymerase chain reactionAisha Kalsoom
 
Genotyping a deletion mutation in C. elegans via PCR
Genotyping a deletion mutation in C. elegans via PCRGenotyping a deletion mutation in C. elegans via PCR
Genotyping a deletion mutation in C. elegans via PCRTiffany Timbers
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 

En vedette (20)

How to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificityHow to use primer blast for checking primer specificity
How to use primer blast for checking primer specificity
 
PCR Primer desining
PCR Primer desiningPCR Primer desining
PCR Primer desining
 
Primer Designing
Primer DesigningPrimer Designing
Primer Designing
 
Primer design
Primer designPrimer design
Primer design
 
Pcr primer design english version
Pcr primer design english versionPcr primer design english version
Pcr primer design english version
 
Primer design task
Primer design taskPrimer design task
Primer design task
 
Primer design
Primer designPrimer design
Primer design
 
Primer design2
Primer design2Primer design2
Primer design2
 
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
Next generation sequencing in preimplantation genetic screening (NGS in PGS)
 
NCBI -Pcr primer design
NCBI -Pcr primer designNCBI -Pcr primer design
NCBI -Pcr primer design
 
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
การทำปฏิบัติการนอกสถานที่ (Out room lab diagnosis)
 
Mutation and DNA repair
Mutation and DNA repairMutation and DNA repair
Mutation and DNA repair
 
PCR, Real Time PCR
PCR, Real Time PCRPCR, Real Time PCR
PCR, Real Time PCR
 
PCR
PCRPCR
PCR
 
Polymerase chain reaction
Polymerase chain reactionPolymerase chain reaction
Polymerase chain reaction
 
Bacteria identification
Bacteria identificationBacteria identification
Bacteria identification
 
Genotyping a deletion mutation in C. elegans via PCR
Genotyping a deletion mutation in C. elegans via PCRGenotyping a deletion mutation in C. elegans via PCR
Genotyping a deletion mutation in C. elegans via PCR
 
Stem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapyStem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapy
 
3 gen 2 76
3 gen 2 763 gen 2 76
3 gen 2 76
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 

Plus de Mahidol University, Thailand

อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3Mahidol University, Thailand
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2Mahidol University, Thailand
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"Mahidol University, Thailand
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงMahidol University, Thailand
 

Plus de Mahidol University, Thailand (8)

Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 5
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 4
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 3
 
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
อ่านบทความวิจัยไม่ยากอย่างที่คิด 2
 
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
บทความเรื่อง "การเรียนรู้ตลอดชีวิต"
 
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิงบทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
บทความ Youtube เวปที่มากกว่าบันเทิง
 
Regulation of gene expression
Regulation of gene expressionRegulation of gene expression
Regulation of gene expression
 

PCR primer design

  • 1. PCR primer design Methee Sriprapun, PhD (Principle and how to design primers) Sriprapun.m@gmail.com
  • 2. Objective of primer usage •เพื่อใช้สร้างสาย cDNA เพื่อนาไปใช้ในปฏิกิริยา PCR •เป็นจุดเริ่มต้นในการสังเคราะห์ DNA สายใหม่ •เป็นจุดเริ่มต้นในการทา DNA sequencing http://seqcore.brcf.med.umich.edu/doc/educ/dnapr/sequencing.html http://kem-en-tec-nordic.com/pcr-page/
  • 3. Types of primer •Oligo dT (16-20 T primer)  primes at the poly-A tail of mRNA • Random hexamers: Total RNA template for cDNA •Gene specific primer: usually uses reverse primer http://www.thermoscientificbio.com/general-reagents-and- accessories/primers-for-cdna-synthesis/ http://www.bio.davidson.edu/genomics/method/cDNAproduction.html
  • 4. General guidelines for primer design •ขนาดของ primers ควรมีความยาว 18-30 bp •เบส GC ใน primer แต่ละเส้นควรมีประมาณ 40-60% •Tm ของ primer แต่ละเส้นควรอยู่ในช่วง 55-66 C และ primers ทั้ง 2 เส้นควรมีอุณหภูมิต่างกันไม่เกิน 2 C •ปลาย 3’ ของ primer แต่ละเส้นควรมี G or C แต่ไม่ควรเกิน 2 ตัวในส่วน ที่เป็น 5 base สุดท้าย •หลักเลี่ยงการออกแบบที่มีเบสซ้ากันหลายๆ ตัว ( 3 or more) •หลีกเลี่ยงการเกิด mismatch ระหว่าง primer กับ template บริเวณ 3’end
  • 5. General guidelines for primer design (II) •หลีกเลี่ยง secondary structure ได้แก่ - Hairpin - Self-complementary (primer จับกันเองเช่น F-F) - Primer-dimer 3’ 5’ DNA template 5’ 3’ ปลาย 3’ ของ primer ต้องใส่
  • 6. •ต้องตรวจสอบ primers ที่ออกแบบว่ามีความจาเพาะหรือไม่  blast กับ database •เมื่อออกแบบแล้ว F primer: ใช้ได้เลย •แต่ R primer: จะต้องทา reverse complement ก่อนจึง blast หรือสั่งสังเคราะห์ primer •ยกเว้นบางโปรแกรมที่ reverse complement ให้เลยเช่น Primer-BLAST •ถ้า design for qPCR: PCR product ต้องไม่เกิน300 bp) General guidelines for primer design (III)
  • 7. Avoid secondary structure •Hairpin loop •Self-complementary •Primer-dimer https://bioweb.uwlax.edu/GenWeb/Molecular/seq_anal/primer_design/primer_design.htm http://www.nature.com/nprot/journal /v1/n3/fig_tab/nprot.2006.247_F2.html
  • 8. Calculation of Tm and annealing temperature •Tm เป็นอุณหภูมิที่ทาให้ dsDNA  ssDNA 50% Tm= 2 x (no. of [A+T]) + 4 x (no. of [G+C]) Annealing temp. = Tm of primer - 5 http://www.gravitywaves.com/chemistry/CHEMXL153/NucleotidesCompandStruc.htm
  • 9. Tm calculation quiz Tm= 2 x (no. of [A+T]) + 4 x (no. of [G+C]) Annealing temp. = Tm of primer - 5 Sequence Tm (C) Annealing Temp. (C) 5’ GAT TAC TTG GGC AAG GCC GA 3’ 62 57 5’ ATG GGC AAT AAT TTG GGA 3’ 50 45 5’ ATT GGC AAG TTG AAG GCG GGG 3’ 64 59 5’ TTG TTG AAG AGC CCC GGA C 3’ 60 55
  • 10. Reverse complement •Reverse: change nt. sequence from (5’3’) to (3’5’) •Complement with the reversed sequence •ทิศทางของสายเหมือนเดิม เปลี่ยนแค่ลาดับ sequence •กระทาที่ sequence ในแต่ละสายเท่านั้น (ทิศการอ่านคงเดิม) 5’CTCCAAGCTCCAAGCTCCAG 3’ Reverse: 5’GACCTCGAACCTCGAACCTC 3’ Complement: 5’CTGGAGCTTGGAGCTTGGAG 3’ ดังนั้นสาย reverse complement ที่ได้คือ :……………………………….. Courier New เป็น font ที่เหมาะในการพิมพ์ sequence ที่สุด
  • 11. How to design primers 1. Manual design - นา sequence มาเลือกตาแหน่งเอง - นายีนที่สนใจทั้งหมดมา alignment เลือกตาแหน่งที่ conserve ( Universal primers) - จากนั้นจึงนาเข้าโปรแกรมตรวจสอบลักษณะของ primers เช่น ความยาว, %GC, Tm, specificity to DNA target, etc. - จะเหมาะในงาน multiplex PCR หรือการออกแบบ probe ในงาน บางอย่าง
  • 12. Multiple sequence alignment for primers and probe design
  • 14. How to design primers (II) 1. Program design - ใช้โปรแกรมช่วยออกแบบ primers ต่างๆ - สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา สามารถตั้งค่าต่างๆ ได้มาก - ไม่เหมาะในการออกแบบ primers ที่ทา multiplex PCR - ปัจจุบันมี program ช่วยออกแบบ probe for qPCR - ไม่สามารถออกแบบ primers ที่มีการ modified ที่ปลาย 5’ ได้
  • 15. Program for primer design (Abd-Elsalam KA, Afr J Biotechnol 2003)
  • 16. Primer design with Primer-BLAST http://www.ncbi.nlm.nih.gov/tools/primer-blast/ •Developed by NCBI •Primer3 to design PCR primers + BLAST and global alignment algorithm to screen primers
  • 17. Primer-BLAST •Primer design & BLAST primers with sequences in database •เมื่อมี primers อยู่แล้วแต่ไม่ทราบขนาด PCR product  ตรวจสอบได้ •เมื่อมี primers อยู่แล้ว  BLAST ดูการจับของ primers กับ template ได้ •ข้อเสีย: เนื่องจากโปรแกรมต้องทาการ Blast หลังออกแบบ primers  ใช้เวลานาน
  • 18.
  • 19. How to use primer-BLAST •เลือกยีนที่ต้องการออกแบบ primer ควรเลือกที่เป็น mRNA เพื่อ หลีกเลี่ยงการ design ตรงส่วน exon (ดู organism ด้วย) หรืออาจเลือก ยีนของ pathogens ที่ต้องการออกแบบ •นา sequence ที่สนใจ (อาจเป็น FASTA, sequence อย่างเดียว หรือ Accession No.) ใส่โปรแกรม •ตั้งค่า parameter ต่างๆ แล้ว กด Get primers •พิจารณา primers โดยดูจากค่า Tm, self-complementary, GC content, etc. •Sequence ของ primers ทั้ง 2 เส้น สามารถใช้ได้เลยไม่ต้อง reverse complement
  • 20. ตัวอย่าง ต้องการออกแบบ primer เพื่อตรวจหายีน -actin ของคน โดย ให้มี Tm = 60C PCR product 100-300 bp เลือกยีน -actin (human) จาก NCBI  นา sequence หรือ accession No. ใส่ตรงช่อง PCR template ใส่หรือไม่ก็ได้
  • 21.  ตั้งค่า parameter ต่างๆ ได้แก่ ขนาด PCR product และ Tm ของ primers เปลี่ยนเป็น nr จะใส่หรือไม่ก็ได้  จากนั้นกด Get Primers
  • 22. Result จานวน primers ที่ design ออกมาได้ทั้งหมด 5 คู่ ผลที่ได้ 1.ข้อมูล primers และ parameters ต่างๆ 2.ขนาด PCR product 3.ผล blast ว่า primers จับจาเพาะกับ สิ่งที่ต้องการหรือไม่
  • 23. How to check secondary structure OligoCalc http://www.basic.northwestern.edu/biotools/oligocalc.html
  • 24.  Copy sequence primer แต่ละเส้นวางตรงนี้ เลือกให้เป็น ssDNA กด calculate
  • 25. ตัวอย่างลองเอาเส้น F และ R primers จากการออกแบบมาทดสอบดู Result ได้ reverse complement sequence ได้ค่า parameters ต่างๆ
  • 27. Primer design with Primer3 •Online program: ปัจจุบันมีทั้ง Primer3 และ Primer3Plus •Primer3Plus มีการพัฒนาในเรื่องประสิทธิภาพของการ ทางาน (แต่การใช้โปรแกรมทั้ง 2 ไม่ต่างกัน)
  • 28. http://www.bioinformatics.nl/cgi-bin/primer3plus/primer3plus.cgi/ ใส่ sequence ที่ต้องการออกแบบ primer กดเพื่อให้ โปรแกรม design ตั้งค่า parameters ต่างๆ (ปกติตั้งแค่ตรงนี้พอ ที่เหลือใช้ค่า default)
  • 29. ตัวอย่าง ต้องการออกแบบ primer เพื่อตรวจหายีน -actin ของคน โดย ให้มี Tm = 60C PCR product 100-300 bp เลือกยีน -actin (human) จาก NCBI  นา sequence ใส่ในช่องว่างที่มีลูกศร หรือ upload FASTA file of interested sequence
  • 30.  ตั้งค่า parameter ต่างๆ ได้แก่ ขนาด PCR product และ Tm ของ primers  จากนั้นกด Pick Primers
  • 31. โปรแกรมบอกรายละเอียดของ primers เช่น Tm, %GC ข้อมูล secondary structure, product size
  • 32. ให้ข้อมูลตาแหน่ง ของ primers บน sequence ที่เรานามาออกแบบ ข้อมูล primers อื่นๆ ประกอบการพิจารณา ของผู้ใช้งาน
  • 33. ถ้าต้องการ primers ชุดไหน ก็กด Send to Primer3 Manager ได้เลย ต้องการ Blast กับ GenBank (แต่เป็นการ blast ทีละเส้น)
  • 34. ถ้าต้องการ check การจับกันของคู่ primers ว่าจาเพาะกับยีนที่ต้องการหรือไม่ สามารถ copy sequences ไปที่ Primer-BLAST ได้ (แต่อาจใช้เวลานาน) ใส่ตรงนี้ เปลี่ยนเป็น nr จะใส่หรือไม่ก็ได้ (organism) จากนั้นกด Get Primers
  • 35. ถ้าต้องการ check secondary structure เพิ่มเติม  Program OligoCalc Primers ที่ได้สามารถ Order ได้เลยไม่ต้อง reverse complement ข้อดี: รวดเร็ว ประหยัดเวลา ข้อเสีย: Blast primer ได้ทีละเส้นเท่านั้น ถ้าจะดูการจับของ primers ต้องใช้ อีกโปรแกรมหนึ่งช่วย
  • 36. Tips for consideration •Program for primer design  tool for prediction of primers •ผลการออกแบบ primers อาจใช้ไม่ได้ 100% ในการทางานจริง •Primers คู่แรกมักเป็น primers ที่ดีที่สุดที่โปรแกรมเลือกให้ •Program for primer design เป็นเหมือนเข็มทิศ และ tool ที่ อานวยความสะดวก และ ลดระยะเวลาการทางานเท่านั้น •ต้องมีการ Optimization PCR ในการทางานจริงเสมอ !
  • 37. Primer design at a glance เลือกสิ่งมีชีวิต และ/หรือ ยีนที่สนใจจากฐานข้อมูลต่างๆ เช่น GenBank, EMBL, DDBJ, etc. Download sequence ในรูป FASTA หรือจดจา Accession No. ของยีนนั้น นา sequence ไปออกแบบกับโปรแกรม Primer design ที่ได้เลือกไว้หรือทาการออกแบบ โดยวิธี manual (ถ้าเป็น universal primer  multiple sequence alignment เลือก conserve sequence) เลือก primers ตาม condition ที่ผู้ใช้ต้องการ พิจารณา primers ว่าตรงตาม Guidelines of primer design หรือไม่ ตรวจความถูกต้องของ sequence primer จากนั้นสั่งสังเคราะห์ primers นามาใช้จริงกับงาน PCR หรือ RT-PCR รวมถึง try condition กับ น้ายาที่ใช้ โดย: ทนพ.ดร. เมธี ศรีประพันธ์