SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
Télécharger pour lire hors ligne
โรงต้นกำลัง (โรงไฟฟ้า) 
เสนอ 
อาจารย์บุญญฤทธิ์ วังงอน 
โดย 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง เลขที่ ๔ คอ.บ. ๓.๑๑ ก 
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ 
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง 
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
ก 
คำนำ 
รายงานนีจัดทำขึนเพือประกอบการเรียนวิชา ป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง ผู้จัดทำได้ศึกษาและค้นคว้า 
เกียวกับ โรงต้นกำลัง ซึงประกอบไปด้วย โครงสร้างระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า, ระบบผลิตไฟฟ้า,โรงไฟฟ้า 
พลังงานนำ, โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน, โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์, โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซล, โรงไฟฟ้า 
กังหันแก๊ส และระบบส่งกำลังไฟฟ้า เพือเป็นแนวทางในการเรียนและเป็นประโยชน์ให้กับผู้ทีกำลังศึกษา 
เรืองนี ยังสามารถเก็บไว้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนของตนเอง และผู้อืนอีกต่อไป 
ดังนัน ข้อมลูทีรวบรวมมาได้จากอินเตอร์เน็ต ต้องขอขอบพระคุณ ท่านอาจารย์ บุญญฤทธิ8 วังงอน 
เป็นอย่างสูงทีกรุณาแนะนำและตรวจให้ จนกระทังรายงานนีเสร็จสมบูรณ์ ผู้จัดทำหวังว่ารายงานเล่มนี จะ 
เป็นประโยชน์ต่อผู้ศกึษาค้นคว้าสืบต่อไป 
ผู้จัดทำ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง
ข 
สารบัญ 
เรือง หน้าที 
คำนำ ก 
สารบัญ ข 
โครงสร้างระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า 1 
ระบบผลิตไฟฟ้า 2 
โรงไฟฟ้าพลังงานนำ 2 - 7 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน 7 - 10 
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 10 - 14 
โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซล 14 - 16 
โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส 17 - 25 
ระบบส่งกำลังไฟฟ้า 26 - 40 
บรรณานุกรม 41
1 
โรงต้นกำลัง 
ระบบและวิธีการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า 
จากการศึกษาหลักการกำเนิดแรงดันจากเครืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรง 
รวมถึงการวิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์ต่างๆทีเกิดขึ*นในการนำแรงดันดังกล่าวมาใช้กับโหลดไฟฟ้าในชนิด 
ต่างๆในปัจจุบัน การผลิตแรงดันไฟฟ้าในระดับแรงดันสูงๆได้มาจากโรงต้นกำลังไฟฟ้าและการรับแรงดัน 
หรือกำลังไฟฟ้ามายังผู้ใช้ในบ้าน หรือโรงงานอุตสาหกรรม ทีมาจากโรงต้นกำลังแต่ละวิธีการนั*นมี 
ขบวนการทางการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า ดังในบทเรียนทีนำเสนอนี* 
1 .โครงสร้างของระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า 
ระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า หมายถึงระบบไฟฟ้าทีประกอบด้วยระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งกำลังไฟฟ้า 
และระบบจำหน่ายไฟฟ้าจนกระทังถึงผู้ใช้ไฟฟ้ารายย่อย 
ระบบผลิตไฟฟ้า 
ระบบส่งกำลังไฟฟ้า 
ระบบจำหน่ายไฟฟ้า 
ผู้ใช้ไฟฟ้า 
รูปที 1 โครงสร้างการส่งจ่ายไฟฟ้าจากระบบผลิตไฟฟ้า มาถึงผู้ใช้ไฟฟ้า 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
2 
1.1 ระบบผลิตไฟฟ้า (Generating System) 
ระบบผลิตไฟฟ้า หมายถึง ระบบทีมีการเปลียนรูปพลังงานจากพลังงานรูปอืนๆไปเป็นพลังงาน 
ไฟฟ้า เช่น เปลียนจากพลังงานศักย์ของน*ำไปเป็นไฟฟ้าหรือเปลียนพลังงานความร้อนทีได้ จากถ่านหิน แก๊ส 
น*ำมัน หรือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ไปเป็นไฟฟ้าเป็นต้น กระบวนการทีเปลียนจากพลังงานรูปอืนไปเป็นไฟฟ้า 
นั*น ส่วนใหญ่จะผ่านรูปของพลังงานกลก่อนเสมอและใช้พลังงานกลเป็นตัวขับ(Prime Mover)เครืองกำเนิด 
ไฟฟ้าอีกที มีบ้างเหมือนกันทีเปลียนจากพลังงานรูปอืนไปเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง เช่น ระบบผลิต 
กระแสไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เป็นต้น 
ระบบผลิตไฟฟ้าบางครั*งเรียกว่า โรงไฟฟ้าหรือโรงจักรไฟฟ้า การเรียกชือโรงไฟฟ้านั*นนิยมเรียกตาม 
ลักษณะของแหล่งพลังงานหรือมิฉะนั*นก็เรียกตามชนิดของตัวขับได้แก่ 
1)โรงไฟฟ้าพลังน*ำ (Hydroelectric Power Plant) 
2)โรงไฟฟ้าพลังความร้อน (Thermal Power Plant) 
3)โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ (Nuclear Power Plant) 
4)โรงไฟฟ้าดีเซล (Diesel Power Plant) 
5)โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส (Gas Turbine Power Plant) 
แรงดันไฟฟ้าทีผลิตขึ*นจากเครืองกำเนิดไฟฟ้า โดยทัว ๆ ไปมีค่าไม่เกิน 20kV ทั*งนี*เกิดจากปัญหา 
ทางด้านฉนวนในเครืองกำเนิดไฟฟ้าและคำนึงถึงผลทางด้านเศรษฐศาสตร์ด้วย ซึงเครืองกำเนิดไฟฟ้าของ 
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ทีใช้ในปัจจุบันมีแรงดันจ่ายออกหลายระดับ เช่น 3.5 kV 115 , kV 230 , kV หรือ 
500kV การส่งพลังงานจากจุดหนึงไปยังอีกจุดหนึง จะเลือกส่งด้วยระดับแรงดันขนาดใดขึ*นอยู่กับระยะทาง 
ทีใช้ส่งเป็นสำคัญ ในการส่งไฟฟ้าแรงดังสูงนั*นจะส่งด้วยระบบ เฟส เพราะว่าเพมิสายส่งขึ*นอีกหนึงเสน้จะ 3 
เปอร์เซ็นต์ ทั*งนี*เมือเปรียบเทียบขณะใช้แรงดันและ 73 สามารถส่งพลังงานได้สูงกว่าระบบเฟสเดียวถึง 
กระแสไฟฟ้าจำนวนเท่า ๆ กัน 
1) โรงไฟฟ้าพลังนํ6า เป็นโรงงานไฟฟ้าทีใช้แรงดันของน*ำไปหมุนเครืองกังหันน*ำ เพือเปลียน 
แรงดันของน*ำเป็นพลังงานกลทีสามารถควบคุมได้และใช้พลังงานกลทีได้ไปหมุนให้เครืองกำเนิดไฟฟ้า 
เพือผลิตพลังงานไฟฟ้า 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
3 
รูปที 2 โรงไฟฟ้าพลังน*ำ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 
ข้อดี 
1. สามารถเดินเครืองได้รวดเร็วภายในเวลา 5 นาที 
2. เหมาะสำหรับการผลิตไฟฟ้าในช่วงทีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 
3. ใช้ในการชลประทาน 
4. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการตํามาก 
5. ค่าบำรุงรักษาน้อย 
6. ไม่มีมลภาวะ 
7. สามารถเดินเครืองกำเนิดไฟฟ้าได้รวดเร็ว 
8. ไม่ต้องมีการสำรองเชื*อเพลิงไว้ใช้งาน 
9. มีอายุการใช้งานนาน 
10. มีผลพลอยได้จากอ่างเก็บน*ำสำหรับโครงการอเนกประสงค์อืน ๆ 
ข้อเสีย 
1. ค่าใช้จ่ายในการสร้างโรงไฟฟ้าและเขือนสูงมาก 
2. กำลังผลิตไฟฟ้าไม่แน่นอน 
3. อยู่ไกลจากศูนย์กลางโหลด ทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูงในการสร้างสายส่งจ่ายไฟฟ้า 
4. เกิดผลกระทบต่อสิงแวดล้อม
4 
ตัวอย่างโรงงานไฟฟ้าพลังนํ6า 
เขือนแก่งกระจาน 
ภาพที 3 เขืนแก่งกระจาน 
เพชรบุรี เป็นเมืองเก่าแก่ เคยเป็นเมืองหน้าด่านสำคัญชั*นเมืองลกูหลวงของไทยมาช้านาน และมี 
ชือเสียงเลืองลือ หลายด้านนอกจากจะเคยเป็นเมืองทีประทับของอดีตพระมหากษัตริย์แห่งราชวงค์จักรี ยังมี 
สถานทีท่องเทียวสำคัญหลายแห่ง ซึงรวมทั*งเขือนเพือการชลประทานและผลิตไฟฟ้าทีสำคัญและมีความ 
งดงาม นันคือ เขือนแก่งกระจาน 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 
ลักษณะเขือน 
เขือนแก่งกระจานกั*นแม่น*ำเพชร ทีบริเวณเขาเจ้า และเขาไม้รวกประชิดกับ ตำบลแก่งกระจาน อำเภอแก่ง 
กระจาน จังหวัดเพชรบุรี อยู่ทางด้านเหนือน*ำของเขือนเพชรขึ*นไปตามถนน 27 กิโลเมตร เป็นเขือนดิน สูง 
58 เมตร สนัเขือนยาว 760 เมตร กว้าง 8 เมตร ระดับสนัเขือน 106 เมตร รทก(ระดับน*ำทะเลปานกลาง). 
นอกจากนี* ยังมีเขือนดินปิดเขาตําทางขวางเขือนอีก 2 แห่ง คือ แห่งแรกสูง 36 เมตร สนัเขือนยาว 305 เมตร 
แห่งที 2 สูง 24 เมตร สนัเขือนยาว 255 เมตร เพือให้สามารถเก็บกักน*ำได้มากข*ึน 
โรงไฟฟ้า 
ติดตั*งเครืองกำเนิดไฟฟ้า 1 เครือง ขนาดกำลังผลิต 19,000 กิโลวัตต์ ให้พลังงานไฟฟ้าเฉลียปีละ 70 
ล้านกิโลวัตต์ชัวโมงโดยมีสายส่งไฟฟ้าจากเขือนแก่งกระจานไปยังสถานีไฟฟ้าแรงสูงชะอำ เป็นระยะทาง
5 
40-41 กิโลเมตรเขือนแก่งกระจานสร้างขึ*นเมือ พ .ศ .2504 แล้วเสร็จ พ .ศ .2509 โดยมีวัตถุประสงค์เพือ 
อำนวยประโยชน์ ในด้านการชลประทานบริเวณทีราบ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดใกล้เคียง รวมทั*งยังให้ 
ประโยชน์ด้านการประมง การคมนาคมทางน*ำ และการพักผ่อนหย่อนใจ อีกด้วยต่อมา เมือความต้องการ 
พลังงานไฟฟ้าเพิมขึ*นอย่างมาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พิได้พิจารณาติ (.กฟผ )ติดตั*งเครือง 
กำเนิดไฟฟ้าทีเขือนแก่งกระจาน โดยเริมดำเนินการก่อสร้างเมือเดือน พฤศจิกายน 2514 แล้วเสร็จและผลิต 
ไฟฟ้าไดั เมือเดือนสิงหาคม 2517 
รูปที 4 โรงไฟฟ้าแก่งกระจาน 
ประโยชน์ 
เขือนแก่งกระจานเป็นเขือนอเนกประสงค์ ประโยชน์ทีได้จากเขือนมีหลายประการ คือ 
1.เขือนแก่งกระจานสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 19,000 กิโลวัตต์ ให้พลังงานเฉลียประมาณ ปีละ 
70 ล้านกิโลวัตต์ชัวโมง 
2.สามารถขยายพ*ืนทีชลประทานของ โครงการเพชรบุรี ซึงเดิมมีอยู่จำนวน 214,000 ไร่ เพิมเป็น 
336,000 ไร่ และเพือการเกษตร การเพาะปลกูในฤดูแล้งได้ 174,000 ไร่ รวมทั*งยังช่วยแก้ไขปัญหา การขาด 
แคลนน*ำ 
3.เพือการอุปโภค บริโภค ตั*งแต่ปากอ่าวเพชรบุรี จนถึงหัวหินให้หมดไป และช่วยบรรเทาอุทกภัย 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 
ในทุ่งเพชรบุรีด้วย 
4.เป็นแหล่งส่งเสริมการประมง 
5.เป็นแหล่งท่องเทียวทีสำคัญแห่งหนึงของจังหวัดเพชรบุรี
6 
สรุป 
เขือนแก่งกระจานได้รับการปรับปรุง ให้สวยสดงดงามไว้คอยต้อนรับนักท่องเทียวทุกท่าน หาก 
ท่านได้มีโอกาสเดินทางไป จังหวัดเพชรบุรี เชิญแวะเข้าไปเยียมชม หรือพักแรม ณ เขือนแห่งนี* ท่านจะได้ 
พบกับความสงบเงียบ ท่ามกลางความงดงามของเขือน และทัศนียภาพของทะเลสาบทีโอบล้อมด้วยขุนเขา 
น้อยใหญ่ อันเป็นความงามของธรรมชาติโดยแท้จริง 
เขือนศรีนครินทร์ 
รูปที 5 เขือนศรีนครินทร์ 
เขือนศรีนครินทร์ เป็นเขือนอเนกประสงค์แห่งแรกของโครงการพัฒนาลุ่มน*ำแม่กลอง สร้างขึ*น บน 
แม่น*ำแควใหญ่ บริเวณบ้านเจ้าเณร ตำบลท่ากระดาน อำเภอศรีสวัสดิi จังหวัดกาญจนบุรี นับเป็น เขือนแห่งที 
8 ในจำนวน 17 แห่ง ทีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สร้างขึ*นเพือ อำนวยประโยชน (.กฟผ)◌์ทางด้าน 
ต่างๆ ตลอดจนช่วยพัฒนาชีวติ ความเป็นอยู่ของราษฎร และส่งเสริมให้เป็น แหล่งท่องเทียวทีสวยงาม 
ลักษณะเขือนและโรงไฟฟ้า 
เป็นเขือนประเภทหินถมแกนดินเหนียวทีใหญ่ทีสุดในประเทศไทย มีความสูงจากฐานราก 140 
เมตร สนัเขือนยาว ◌ู610 เมตร กว้าง 15 เมตร พ*นืทีอ่างเก็บน*ำ 419 ตารางกิโลเมตร มีความจุมากเป็นอันดับ 
หนึงคือ 17,745 ล้านลูกบาศก์เมตร 
โรงไฟฟ้าเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ติดตั*งเครืองกำเนิดไฟฟ้าจำนวน 5 เครือง เครืองที 3- 1 
กำลังผลิต เครืองละ 120,000 กิโลวัตต์ เครืองที 5-4 เป็นเครืองกำเนิดไฟฟ้าระบบสูบกลับ กำลังผลิต เครือง 
ละ 180,000 กิโลวัตต์ รวมกำลังผลิตทั*งสิ*น 720,000 กิโลวัตต์ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
7 
งานก่อสร้างเขือนศรีนครินทร์ เริมเมือปี 2516 แล้วเสร็จในปี 2523 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้ 
พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญ พระนามาภิไธยสมเด็จพระศรีนครินทร์ มาขนานนามเขือน และ 
เสด็จ พระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ไปทรงเปิดเขือน เมือวันที 
15 มิถุนายน 2524 
ประโยชน์ 
เขือนศรีนครินทร์เป็นโครงการอเนกประสงค์ ซึงอำนวยประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังนี* 
ชลประทานช่วยส่งเสริมระบบชลประทาน โครงการแม่กลองใหญ่ให้มีประสิทธิภาพยิงขึ*น โดยมี เขือนวชิ 
ราลงกรณ์ของกรมชลประทานเป็นหัวงานทดน*ำเข้าสู่พ*นืทีเกษตรได้ตลอดปีเป็นเนื*อทีถึง 4,118 ล้านไร่ 
ผลิตไฟฟ้า สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้เฉลียปีละประมาณ 1,250 ล้านกิโลวัตต์ชัวโมง บรรเทา 
อุทกภัย สามารถกักเก็บน*ำทีหลากมาในช่วงฤดูฝนไว้ในอ่างเก็บน*ำ ได้เป็นจำนวนมาก ช่วย บรรเทาอุทกภัย 
ในเขตลุ่มน*ำแม่กลองให้ลดน้อยลง คมนาคมทางน*ำสามารถใช้เป็นเส้นทางเดินเรือขึ*นไปยังบริเวณอำเภอ 
ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วข*ึน 
ผลักดันน*ำเค็มสามารถปล่อยน*ำลงผลักดันน*ำเค็มมิให้หนุนล*ำเข้ามาทำความเสียหายแก่พ*ืนทีบริเวณ ปากน*ำ 
แม่กลองในช่วงฤดูแล้ง ประมงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน*ำจืดทีอุดมสมบูรณ์ ช่วยเพมิรายได้ให้กับราษฎรอีก 
ทางหนึงด้วย ท่องเทียวเขือนศรีนครินทร์ นับเป็นแหล่งท่องเทียว พักผ่อนหย่อนใจทีสวยงามอีกแห่งหนึง ใน 
จังหวัด กาญจนบุรีให้ทั*งความรู้และความเพลิดเพลิน แก่ผู้มาเทียวชมปีละเป็นจำนวนกว่าแสนคน และ 
ก่อให้เกิด การขยายตัวทางการท่องเทียวอย่างกว้างขวาง เช่น แพท่องเทียวในอ่างเก็บน*ำ เป็นต้น 
2) โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหรือโรงไฟฟ้าพลังงานไอนำ6 เป็นโรงงานไฟฟ้าทีใช้พลังงานความร้อน 
เป็นกำลังในการผลิต โดยการเผาไหม้เชื*อเพลิงเพือต้มน*ำให้กลายเป็นไปน*ำทีมีแรงดันสูงไปขับดันกังหันไอ 
น*ำแล้วนำไปขับเคลือนเครืองกำเนิดไฟฟ้าเชื*อเพลิงทีใช้ได้แก่ น*ำมันเตา ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ 
รูปที 6 โรงไฟฟ้าพลังงานไอน*ำ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
8 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 
ข้อดี 
1. การเริมเดินเครืองใช้เวลาอย่างน้อย 2 – 3 ชัวโมง 
2. เหมาะทีใช้เป็นโรงไฟฟ้าทีเป็นฐานการผลิต (Base Load) 
3. เชื*อเพลิงถ่านหินมีราคาถูกและมีปริมาณมากเพียงพอสำหรับโรงไฟฟ้าหลัก ของประเทศ 
4. ต้นทุนในการเดินเครืองตํา 
5. กำลังผลิตสูงสามารถจ่ายเสริมเข้าระบบผลิตไฟฟ้าของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
6. ประหยัดการใช้น*ำมัน สามารถสงวนเงินตราของประเทศได้เป็นจำนวนมาก 
ข้อเสีย 
1. การเริมเดินเครืองจุดเตาต้องใช้เวลานาน 
2. มีมลภาวะของแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นผลต่อสิงแวดล้อมใกล้เคียง 
3. มีขี*เถ้าจากเชื*อเพลิงถ่านหิน ต้องใช้ทีเก็บเป็นจำนวนมาก 
ตัวอย่างโรงไฟฟ้าพลังงานไอนํ6า 
โรงไฟฟ้าบางปะกง 
รูปที 7 โรงไฟฟ้าบางปะกง 
โรงไฟฟ้าบางปะกง เป็นโรงไฟฟ้าแห่งแรกของประเทศไทย ทีใช้ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทย มาเป็น 
เชื*อเพลิง ในการผลิตไฟฟ้า เพือสนองนโยบายของรัฐบาลทีต้องการพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
9 
ภายในประเทศ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดปัจจุบันโรงไฟฟ้าบางปะกงมีกำลังผลิตรวมทั*งสิ*น 3,680,000 
กิโลวัตต์ ถือเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้า ขนาดใหญ่และทันสมัยทีสุดในประเทศไทย 
ทีตั6ง 
โรงไฟฟ้าบางปะกง ตั*งอยู่บนเนื*อที 1,050 ไร่ บริเวณฝังซ้ายของแม่น*ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา 
โดย อยู่ห่างจากปากแม่น*ำบางปะกงขึ*นมาตามลำน*ำประมาณ 11 กิโลเมตร หรือห่างจากสะพาน 
เทพหสัดินทร์ ไปทาง เหนือน*ำประมาณ 2.5 กิโลเมตร 
ลักษณะโครงการ 
โรงไฟฟ้าบางปะกง ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 4 เครือง และโรงไฟฟ้าพลัง 
ความร้อนร่วม จำนวน 4 ชุด โดยแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ระยะ คือ 
ระยะที 1 เริมดำเนินการก่อสร้างเมือปี 2520 ประกอบด้วยงานก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อน 
จำนวน 2 เครือง กำลังผลิคเครืองละ 550,000 กิโลวัตต์ และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม จำนวน 2 ชุด กำลัง 
ผลิตชุดละ 370,000 กิโลวัตต์ แต่ละชุดประกอบด้วยเครืองผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊สขนาด 60,000 กิโลวัตต์ 4 
เครือง 130 ฟฟ้ากังหันไอน*ำขนาดและเครืองผลิตไ (สามารถ ใช้ได้ทั*งน*ำมันดีเซลและก๊าซธรรมชาติ),000 
กิโลวัตต์ 1 เครือง การก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที 1 แล้วเสร็จสมบูรณ์ในเดือนพฤษภาคม 2527 รวม 
กำลังผลิตไฟฟ้าทั*งสิ*น 1,840,000 กิโลวัตต์ 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็พระราช 
ดำเนิน ทรงประกอบพิธีเปิดโรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที 1 เมือวันที 8 มกราคม 2528 
ระยะที 2 เนืองจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยใน พ2531-2530 .ศ . ได้ขยายตัวสูงมาก การใช้ 
ไฟฟ้า เพมิขึ*นสูงกว่าทีคาดการณ์ไว้ กฟผจึงวางแผนเร่งพัฒนาแหล่งผลิตไฟฟ้า เพือสนองความต้องการใช้ . 
2 ไฟฟ้าอย่าง เพียงพอและเพมิความมันคงแก่ระบบไฟฟ้าของประเทศ โครงการโรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที 
ได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี เมือวันที 29 มีนาคม 2531 และคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม 
แห่งชาติ เห็นชอบ ให้ดำเนินการ เมือวันที 16 พฤษภาคม 2531 การก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกงระยะที 2 จึง 
ได้เริมดำเนินการตั*งแต่ เดือนตุลาคม 2531 ประกอบด้วย 
โรงไฟฟ้าพลังความร้อน เครืองที 3 และ 4 กำลังผลิตเครืองละ 600,000 กิโลวัตต์ 
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ชุดที 3 และ 4 กำลังผลิตชุดละ 320,000 กิโลวัตต์ แต่ละชุด 
ประกอบด้วย เครืองผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊ส ขนาด 105,500 กิโลวัตต์ 2 เครือง สามารถใช้ได้ทั*ง ) 
109 และเครืองผลิตไฟฟ้ากังหันไอน*ำ ขนาด (น*ำมันดีเซลและก๊าซธรรมชาติ,000 กิโลวัตต์ 1 เครือง 
โรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที 2 แล้วเสร็จสมบูรณ์ในปี 2535 รวมกำลังผลิตไฟฟ้าทั*งสิ*น 1,840,000กิโลวัตต์ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
10 
รูปที 8 โรงไฟฟ้าบางปะกง 
ประโยชน์ 
โรงไฟฟ้าบางปะกงมีกำลังผลิตไฟฟ้าสูงถึง 3,674,600 กิโลวัตต์ จึงเป็นโรงไฟฟ้าหลักทีช่วยเสริม 
ความมันคง ให้ระบบไฟฟ้าส่วนรวมของประเทศ และการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื*อเพลิง ก็เป็นการ 
สนับสนุนนโยบายใช้ทรัพยากร ภายในประเทศ สามารถประหยัดเงินซื*อน*ำมันจากต่างประเทศได้ปีละหลาย 
ล้านบาท 
นอกจากนี*ยังช่วยสนับสนุนและรองรับความเจริญเติบโตของโครงการพัฒนาชายฝังทะเล 
ตะวันออก ทำให้ ภาคเอกชนมคีวามมันใจในการลงทุนมากข*ึน 
3) โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ปัจจุบันปัญหาเรืองแหล่งพลังงานธรรมชาติทีจะนำมาเป็นต้นกำลัง 
ในการผลิตกระแสไฟฟ้าไม่เคยเกิดข*ึน ปริมาณการใช้พลังงานนับวันจะเพิมมากขึ*นไม่ว่าจะเป็นพลังงานจาก 
น*ำ น*ำมัน หรือแก๊สธรรมชาติ จึงจำเป็นทีต้องเสาะหาแหล่งพลังงานอืน ๆ ทีมีประสิทธิภาพสูงกว่าและมี 
ปริมาณเพียงพอทีจะนำมาใช้ทดแทน นันคือพลังงานนิวเคลียร์ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
11 
รูปที 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 
หลักการทำงาน 
รูปที 10 หลักการทำงานนิวเคลียร์
12 
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ คือ ระบบทีจะนำพลังงานทีปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์มา 
เปลียนเป็นพลังงานไฟฟ้า โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โดยทัวไป 
ประกอบด้วยส่วนหลักๆ 4 ส่วนคือ 
1.เตาปฏิกรณ์ 
2.ระบบระบายความร้อน 
3.ระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า 
4.ระบบความปลอดภัย 
พลังงานทีเกิดขึ*นในเตาปฏิกรณ์เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน สิงทีได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 
ฟิชชัน ไม่ได้มีเพียงพลังงานจำนวนมากทีปลดปล่อยออกมา แต่รวมถึงผลผลิตทีได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 
ฟิชชัน นิวตรอนอิสระจำนวนหนึง การควบคุมจำนวนและการเคลือนทีของนิวตรอนอิสระภายในเตา 
ปฏิกรณ์โดยสารหน่วงนิวตรอน และแท่งควบคุมจะเป็นการกำหนดว่า จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันขึ*น 
ภายในเตาปฏิกรณ์มากน้อยเพียงใด 
พลังงานทีผลิตเกิดข*ึนภายในเตาปฏิกรณ์ จะถูกนำออกมาโดยตัวนำความร้อน ซึงก็คือของไหลเช่น 
น*ำ,เกลือหลอมละลายหรือก๊าซคาร์บอนไดอออกไซต์ ของไหลจะรับความร้อนจากภายในเตาปฏิกรณ์ จนตัว 
มันเองเดือดเป็นไอหรือเป็นตัวกลางในการนำความร้อนไปยังวงจรถัดไปเพือผลิตไอน*ำ ไอน*ำทีได้จะถูก 
ส่งผ่านท่อไปยังระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า ทีไอน*ำจะถูกนำไปขับกังหันไอน*ำทีจะใช้ในการหมุนเครือง 
กำเนิดกระแสไฟฟ้าต่อไป 
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ทีใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยทัวไปในโลกมีมากมายหลายชนิด 
การจำแนกชนิดของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์จะจำแนกตามลักษณะทัวไปของเตาปฏิกรณ์ ชนิดของ 
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ทีมีอยู่ทัวไป 
สามารถแบ่งออกได้ 3 ชนิดดังนี* 
1.โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน เป็นโรงไฟฟ้าทีนิยมใช้มากทีสุด 
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน ใช้น*ำเป็นทั*งตัวกลางระบายความร้อนและสารหน่วง 
นิวตรอน มีการออกแบบระบบการทำงานให้มีสองวงจร โดยวงจรแรกจะเป็นระบบระบายความร้อนออก 
จากเตาปฏิกรณ์ ทีซึงน*ำจะไหลผ่านเตาปฏิกรณ์เพือระบายความร้อนออกจากแกนปฏิกรณ์ และนำความร้อน 
ทีได้ส่งต่อให้วงจรทีสองทีอุปกรณ์กำเนิดไอน*ำ เพือผลิตไอน*ำเพือขับกังหันไอน*ำ น*ำในวงจรแรกนี*จะ 
ทำงานมีอุณหภูมิสูงถึง 325 องศาเซลเซียส ดังนั*นวงจรแรกจึงต้องทำงานภายใต้ความดันทีสูงมาก เพือ 
ป้องกันการเดือดของน*ำในวงจร อุปกรณ์ทีทำหน้าทีควบคุมแรงดันในวงจรแรกคือตัวควบคุมความดัน 
)pressuriser) โดยน*ำในวงจรแรกจะทำหน้าทีทั*งเป็นสารหล่อเย็นและสารหน่วงนิวตรอนให้แก่เตาปฏิกรณ์ 
ในส่วนของวงจรทีสองนั*นจะทำงานภายใต้ความดันทีตํากว่าวงจรแรก ซึงน*ำในวงจรนี*จะถูกต้มให้เดือดเพือ 
ผลิตไอน*ำทีอุปกรณ์กำเนิดไอน*ำ ไอน*ำทีผลิตได้จะใช้ในการขับกังหันไอน*ำเพือผลิตกระแสไฟฟ้า หลังจาก 
นั*นจะควบแน่นกลับไปเป็นน*ำแล้วไหลกลับไปทีอุปกรณ์ผลิตไอน*ำ เพือเปลียนเป็นไอน*ำต่อไปเรือยๆ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
13 
2.โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือด โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือด มีการ 
ทำงานทีคล้ายคลึงกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดันมาก แตกต่างกันเพียงแค่โรงไฟฟ้า 
พลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือด มีวงจรการทำงานเพียงแค่วงจรเดียว ทีซึงน*ำจะถูกต้มภายในเตาปฎิกรณ์ 
)Reactor Vessel)โดยตรง ทีอุณหภูมิประมาณ 285 องศาเซลเซียส โดยเตาปฏิกรณ์แบบนี*ถูกออกแบบให้ 
ทำงาน โดยทีส่วนบนของแกนปฏิกรณ์ประมาณ 12-15% มีสภาพเป็นไอน*ำ โดยระบบของโรงไฟฟ้า 
พลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือดนั*น ถูกออกแบบให้น*ำเดือดภายในเตาปฏิกรณ์ทำให้เตาปฏิกรณ์แบบนี*จะ 
ทำงานทีความดันตํากว่าเตาปฏิกรณ์แบบน*ำอัดความดัน ไอน*ำทีผลิตได้ภายในเตาปฏิกรณ์ จะไหลผ่าน 
อุปกรณ์แยกน*ำบริเวณส่วนบนของเตาปฏิกรณ์ แล้วจะไหลออกไปขับกังหันไอน*ำโดยตรง เนืองจากน*ำที 
ไหลผ่านแกนปฏิกรณ์จะมีการปนเปื*อนจากสารรังสี ทำให้อุปกรณ์ในส่วนของกังหันไอน*ำ ) Steam Turbine) 
จะโดนปนเปื*อนจากสารรังสีด้วย ดังนั*นอุปกรณ์ในส่วนของกังหันไอน*ำ จึงต้องได้รับการป้องกันรังสี 
เช่นเดียวกับระหว่างการบำรุงรักษา โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือดจะมีต้นทุนตํากว่าแบบอืน 
เนืองจากเป็นระบบทีเรียบง่าย และในส่วนข้อกังวลเกียวกับการปนเปื*อนรังสีของอุปกรณ์ของระบบกังหัน 
ไอน*ำนั*น เนืองจากสารปนเปื*อนในน*ำนั*นมีอายุสั*นมากโดยห้องกังหันไอน*ำสามารถเข้าไปเพือบำรุงรักษา * 
ระยะเวลาอันสั*น หลังจากการได้ภายในshut down เตาปฏิกรณ์ 
3.โรงไฟฟ้าแบบน*ำมวลหนักอัดความดัน )PHWR or CANDU) โรงไฟฟ้าพลังงาน 
นิวเคลียร์แบบน*ำมวลหนักอัดความดัน พัฒนาโดยประเทศแคนาดาในช่วงปี คศ .1950 ภายใต้ชือโรงไฟฟ้า 
พลังงานนิวเคลียร์แบบแคนดู )CANDU) โรงไฟฟ้าแบบนี*ใช้ยูเรเนียมธรรมชาติทีไม่มีการเสริมสมรรถนะ 
เป็นเชื*อเพลิง ทำให้ต้องใช้สารหน่วงนิวตรอนทีมีประสิทธิภาพสูงกว่าโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำ 
อัดความดันหรือแบบน*ำเดือด ซึงในกรณีนี*ได้มีการนำน*ำมวลหนัก )D2O) มาใช้ ในโรงไฟฟ้าพลังงาน 
นิวเคลียร์แบบน*ำมวลหนักอัดความดัน มีการออกแบบระบบการทำงานให้มีสองวงจรเหมือนโรงไฟฟ้า 
พลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน โดยในวงจรแรกน*ำมวลหนัก )D2O) ทีจะทำหน้าทีทั*งเป็นสารหน่วง 
นิวตรอนและระบายความร้อนออกจากมัดเชือเพลิง จะถูกอัดภายใต้ความดันสูง และจะไหลผ่านช่องบรรจุ 
เชื*อเพลิงเพือระบายความร้อนออกจากเตาปฏิกรณ์ทีเรียกอีกชือว่า คาแรนเดรีย จนน*ำมวลหนักในวงจรแรกมี 
อุณหภูมิสูงถึง 290°C และเช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน น*ำมวลหนักจะถ่ายเท 
ความร้อนให้แก่วงจรทีสองเพือผลิตไอน*ำทีอุปกรณ์กำเนิดไอน*ำ เพือผลิตไอน*ำเพือขับกังหันไอน*ำผลิต 
กระแสไฟฟ้า เนืองจากการใช้ยูเรเนียมธรรมชาติเป็นเชื*อเพลิง ทำให้โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำมวล 
หนักอัดความดัน ต้องมีการเปลียนเชื*อเพลิงทุกวัน จึงมีการออกแบบให้โรงไฟฟ้าชนิดนี*สามารถเปลียน 
เชื*อเพลิงได้โดยไม่ต้องหยุดการทำงานของเตาปฏิกรณ์ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
14 
ข้อดี 
1. ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าตําเนืองจากเชื*อเพลิงมีราคาถูกและใช้น้อย (แร่ยูเรเนียมเพียง 1 กรัม 
ให้ความร้อนเทียบเท่าถ่านหินถึง 3 ตัน) 
2. สามารถสร้างโรงไฟฟ้าให้มีขีดความสามารถ มีกำลังผลิตสูง 
3. เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าทีมันคง และผลิตพลังงานได้ปริมาณมาก อีกทั*งสามารถเดินเครือง 
ผลิตไฟฟ้าได้ติดต่อกันมากกว่าหนึงปี จึงจะเติมหรือเปลียนเชื*อเพลิง 
4. เป็นโรงไฟฟ้าทีสะอาด ไม่มีเขม่าและควัน ไม่มีแก๊สเสียทีจะทำให้เกิดฝนกรด และภาวะ 
เรือนกระจก 
5. การเปลียนแปลงราคาค่าเชื*อเพลิงมีผลต่อต้นทุนการผลิตน้อยใช้พ*นืทีไม่มาก 
ข้อเสีย 
1.ไม่เป็นทียอมรับของสาธารณชน โดยเฉพาะเรืองความปลอดภัย 
2.ต้องใช้เงินลงทุนก่อสร้างสูง เพือสร้างอาคารคลุมปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และระบบป้องกันความ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 
ปลอดภัย 
3.สถานทีตั*งของโรงไฟฟ้าต้องมีการคัดเลือกอย่างเข้มงวด มีกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มากมาย 
4.ใช้เวลาดำเนินการและก่อสร้างนานหลายปี 
5.จะต้องใช้น*ำเป็นปริมาณมากในระบบระบายความร้อนของโรงไฟฟ้า 
6.ต้องนำเข้าเชื*อแพลิงจากต่างประเทศ 
7.ต้องพิจารณาเรืองสถานทีเก็บกากกัมมันตรังสี 
8.ต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิตสูง 
4) โรงไฟฟ้าดเีซล เป็นโรงไฟฟ้าทีใช้พลังงานกลจากเครืองยนต์ดีเซลไปหมุนเครืองกำเนิดไฟฟ้า 
หรือทำการผลิตไฟฟ้า เชื*อเพลิงได้แก่ น*ำมันดีเซล 
รูปที 11 โรงไฟฟ้าดีเซล
15 
ข้อดี 
1. สามารถเดินเครืองไฟฟ้าได้รวดเร็ว 
2. เหมาะสำหรับการผลิตไฟฟ้าในช่วงทีมีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 
3. เป็นโรงไฟฟ้าทีสามารถติดตั*งอย่างรวดเร็ว 
4. มีประสิทธิภาพสูงในการใช้เป็นโรงไฟฟ้าสำรอง 
5. การซ่อมแซมบำรุงรักษาง่าย 
ข้อเสีย 
1. มีมลภาวะทางเสียง และเขม่าควัน 
2. ต้องซื*อเชื*อเพลิงจากต่างประเทศ ทำให้เสียเงินตราของประเทศ 
ตัวอย่างโรงงานไฟฟ้าดีเซล 
โรงไฟฟ้าดีเซลแม่ฮ่องสอน 
รูปที 12 โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซลแม่ฮ่องสอน 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
16 
สถานทีตั6ง 
โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซลแม่ฮ่องสอน หมู่ 1 ตำบลผาบ่อง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58000 
สภาพแวดล้อม 
เมือเดินทางเข้าถึงโรงไฟฟ้าพลังงานดีเซลจังหวัดแม่ฮ่องสอนเราจะพบเป็นแผงโซล่าเซลล์จำนวน 
มากตั*งเรียงรายกันอยู่สูงจากพ*ืนดินประมาณ 1 เมตร จะมีพ*ืนทีประมาณ 7 ไร่เป็นพ*ืนทีผลิตกระแสไฟฟ้าแห่ง 
แรกทีสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากทีสุด มีโรงผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นแห่งๆ ภายในจะมีสำนักงานและ 
เจ้าหน้าทีเนืองจากกระแสไฟฟ้าเหล่านี* จะจ่ายกระแสไฟฟ้าภายในจังหวัดแม่ฮ่องสอนเท่านั*นการผลิต 
กระแสไฟฟ้าดีเซลใช้ต้นทุนสูงมากแต่ได้ผลผลิตทีคุ้มค่าในระยะยาว 
ประวัติ 
วันที 9 เมษายน 2534 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีหนังสือถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทยที 
มหาดไทย 5357/8049 ขอให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยทีจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 20 
เมษายน 2534 ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีหนังสือถึงกระทรวงมหาดไทย ด่วนที แม่ฮ่องสอน 
0015.1/7133 เรืองขอความช่วยเหลือผลิตกระแสไฟฟ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดยใหก้ระทรวงมหาดไทยเร่งรัด 
ให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทำการก่อสร้างไฟฟ้าย่อยทีจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 7 มิถุนายน 2534 
กระทรวงมหาดไทย มีหนังสือถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทีมหาดไทย 0302/8731 ขอความ 
ช่วยเหลือในการผลิตกระแสไฟฟ้าในจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 5 สิงหาคม 2534 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มี 
หนังสือถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทีมหาดไทย 5357/18545 ขอให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตช่วย 
แก้ปัญหาการขาดแคลนแหล่งจ่ายไฟฟ้าจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 11 กันยายน 2534 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง 
ประเทศไทยมีหนังสือถึงกระทรวงมหาดไทยและปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเพือแจ้งผลการพิจารณาให้ความ 
ช่วยเหลือในการผลิตกระแสไฟฟ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยรับ 
ดำเนินการช่วยเหลือผลิตกระแสไฟฟ้าให้จังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นกรณีพิเศษเพือรองรับการขยายตัวทาง 
เศรษฐกิจของจังหวัดในอนาคตวันที 30 กันยายน 2536 ทำพิธีเปิดโรงไฟฟ้าดีเซลจังหวัดแม่ฮ่องสอนอย่าง 
เป็นทางการ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน และผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปัจจุบัน 
โรงไฟฟ้าดีเซลแม่ฮ่องสอน มีเครืองติดตั*ง ทั*งหมดจำนวน 6 เครือง เครืองที 1,2,3 เป็นเครือง Niigata ขนาด 
กำลังผลิต 1,000 กิโลวัตต์ เครืองที 4 , 5 , 6, เป็นเครือง EE ขนาดกำลังผลิต 800 กิโลวัตต์ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
17 
5) โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส เป็นโรงงานทีทำการผลิตไฟฟ้า ด้วยการเผาไหม้เชื*อเพลิงในห้องอัดอากาศ 
ของเครืองกังหันแก๊ส ซึงเป็นเครืองยนต์สันดาปภายใน มีขั*นตอนในการผลิตไฟฟ้าโดยเริมตากการอัด 
อากาศให้มีความดันสูง 8 ถึง 10 เท่า แล้วส่งอากาศจำนวนนี*เข้าห้องเผาไหม้ โดยมีเชื*อเพลิงทำการเผาไหม้ 
จนอากาศในห้องเผาไหม้เกิดการขยายตัว มีแรงดันสูง และมีอุณหภูมิสูง เพือไปหมุนเครืองกังหันแก๊สทีมี 
จุดเกียร์ 
รูปที 13 โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส 
5.1) กังหันก๊าซ (Gas Turbine) 
กังหันก๊าซถูกคิดค้นและจดทะเบียนสิทธิบัตรไว้โดย นายจอห์น บาร์เบอร์ ( John Barber ) ชาว 
อังกฤษ ในปี พ.ศ 2334 ต่อมาได้พัฒนาขึ*นใช้กันอย่างแพร่หลาย เริมแรกกังหันก๊าซถูกนำไปใช้กับ 
เครืองบินเรือเดินทะเล และเป็นต้นกำลังในการผลิตกระแสไฟฟ้า ต่อมาได้ถูกนำไปใช้กับงานต่างๆ อีก 
มากมาย เช่น รถยนต์ รถแข่ง รถบรรทุก รถรางความเร็วสูง ระบบตู้เย็นกังหันก๊าซ คนเหาะ (Flying 
Man ) 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
18 
5.2) ส่วนประกอบของกังหันก๊าซ 
กังหันก๊าซมีส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ส่วน คือ 
1. เครืองอัดอากาศ ( Air Compressor ) 
2. ห้องเผาไหม้ ( Combustion Chamber ) 
3. เครืองกังหัน ( Turbine ) 
หลักการทำงานเบื6องต้นของกังหันก๊าซ 
1.เครืองอัดอากาศจะอัดอากาศใหมี้ความดันสูง 8-10 เท่า 
2.อากาศความดันสูงจะถูกส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ทีมีเชื*อเพลิงก๊าซ(หรือน*ำมันดีเซล) ทำการเผา 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 
ไหม้ 
3.อากาศร้อนในห้องเผาไหม้เกิดการขยายตัว ทำให้มีความดันและอุณหภูมิสูง 
4.ส่งอากาศนี*ไปดันกังหันก๊าซ 
5.เพลาของกังหันก๊าซจะอยู่แกนเดียวกันกับอุปกรณ์ต่างๆ ทีจะนำไปใช้งาน เช่น เครืองกำเนิด 
ไฟฟ้า ฯลฯ 
5.3 ) เครืองอัดอากาศ ( Air Compressor ) 
เครืองอัดอากาศ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 
1. เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบ ( Reciprocating Air Compressor ) 
2. เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบหลายขั*น ( Multistage Reciprcration Compressor ) 
3. เครืองอัดอากาศแบบโรตารี ( Rotary Air Compressor ) 
5.3.1) เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบ 
เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบ ประกอบด้วยลูกสูบทีเคลือนทีในกระกระบอกสูบ โดยรับ 
กำลังขับผ่านก้านสูบและข้อเหวียงทีประกอบอยู่ในเพลาห้องข้อเหวียง มีล*ินอุดอากาศและล*ินส่งติดอยู่ 
ตอนบนของหัวสูบ ล*ินแบบนี*ทำงานโดยความดันแตกต่างกันระหว่างหน้าและหลังล*ิน ขณะทีลูกสูบ 
เคลือนทีลงอากาศทีถูกอัดในจังหวะก่อนหน้าทียังหลงเหลืออยู่จะขยายตัวจนมีความดันตํากว่าความดันดูด 
เข้าเลก็น้อยซึงอากาศด้านนอกของล*นิดูดจะสูงกว่าด้านในตัวนั*น ล*นิจะเปิดใหอ้ากาศเข้าในระหว่างจังหวะ 
นี* ล*ินส่งจะปิดเพราะขณะนี*ความดันด้านนอกของล*ินส่งจะสูงกว่าความดันภายในกระบอกสูบ ขณะนี* 
ลูกสูบเคลือนทีขึ*น ในช่วงแรกของจังหวะเคลือนข*ึน ความดันในกระบอกสูบจะสูงขึ*นเล็กน้อยพอเพียงที 
จะทำให้ล*ินดูดปิด ความดันของอากาศภายในกระบอกสูบจะเพิมขึ*นอย่างรวดเร็ว เมือถูกปิดอยู่ใน 
กระบอกสูบอย่างสนิทจนมีความดันสูงกว่าความดันด้านนอกของล*นิส่ง ซึงจะทำให้ล*นิส่งเปิดทำให้อากาศ 
ความดันสูงออกจากกระบอกสูบ และล*ินส่งจะปิดในทีสุดเมือสุดจังหวะอัด ลูกสูบก็จะเริมเลือนลงใน 
กระบอกสูบ ลิ*นดูดก็จะเลือนออกอีกคร*ังหนึง และจะเป็นวัฏจักรเช่นนี*ซ*ำๆ กัน
19 
อากาศทีถูกปิดอยู่ในกระบอกสูบของเครืองอัดอากาศแบบนี*จะสามารถอัดให้ความดันได้สูงมากทั*งนี*ขึ*นอยู่ 
กับความแข็งแรงของวัสดุทีทำชิ*นส่วนของอัดและกำลังขับของมอเตอร์ ในเครืองอัดอากาศแบบลูกสูบนี* 
การไหลของอากาศจะมีการหยุดทำงานเป็นจังหวะๆ 
5.3.2) เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบหลายข6ัน 
เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบหลายขั*น มีหลักการทำงานคือ เมือการส่งอากาศออกของ 
เครืองอากาศแบบลกูสูบเดียวถูกกีดขวางย่อมจะทำให้ความดันยิงเพมิขึ*น ถ้าความดันของอากาศส่งออกสูง 
มากเกินไปก็จะมีข้อเสียเกิดข*ึน เครืองอัดอากาศแบบขั*นเดียว ถ้าต้องการอัดอากาศให้ได้ความดันสูงๆ ก็ 
จำเป็นจะต้องให้มีโครงสร้างแข็งแรงมาก รวมทั*งต้องให้ชิ*นส่วนประกอบทีแข้งแรงพอเพือแก้ปัญหาเรือง 
การสมดุล และเมือมีแรงบิดตอนเริมสตาร์ทสูงก็ต้องใช้ข้อเหวียงให้มีขนานโตขึ*นด้วย จากข้อเสียต่างๆ 
ของเครืองอัดอากาศแบบขั*นเดียวนี*จึงได้มีการปรับปรุงและหันมาใช้เครืองอัดอากาศแบบหลายขั*น ซึง 
ประกอบด้วยกระบอกสูบหลายกระบอกต่อเนืองกัน โดยอากาศทีส่งออกจากกระบอกสูบหนึงจะวิงไปเข้า 
กระบอกสูบตัวถัดไป แสดงการต่อกระบอกสูบของเครืองอัดแบบ 3 ขั*นอัตราส่วนความดันตําในกระบอก 
สูบความดันตําหมายถึงการขยายตัวของปริมาตรของอากาศทีหัวสูบจะลดลงซึงจะทำให้ปริมาตรแทนทีจริง 
ในกระบอกสูบเพิมขึ*น ซึงสูบนี*จะทำหน้าทีควบคุมมวลของอากาศทีไหลผ่านเครืองอัดอากาศทั*งหมด 
เพราะกระบอกสูบนี*ทำหน้าทีดูดอากาศเข้ามาในเครืองเพียงสูบเดียว ดังนั*น เครืองอัดอากาศแบบหลายขั*น 
จึงสามารถส่งมวลผ่านเครืองอัดได้มากกว่าเครืองแบบขั*นเดียว เพือทีจะลดอุณหภูมิของอากาศทีออกจาก 
เครืองอัดจึงได้มีการติดตั*งอุปกรณ์หล่อเย็นระหว่างสูบเอาไว้ การลดอุณหภูมิ หมายถึง การลดพลังงาน 
ภายในของอากาศทีออกจากเครืองอัดด้วย และเมือพลังนี*ได้มาจากพลังงานทีใช้ในการอัดของเครืองอัด 
อากาศ ผลอันนี*จึงเป็นการช่วยลดงานทีต้องใช้ในการอัดลง เครืองอัดแบบหลายขั*น สามารถปรับความ 
สมดุลได้ง่าย และมีแรงบิดตํากว่าแบบขั*นเดียว จะสังเกตเห็นว่า ขนาดของกระบอกสูบจะลดลงเมือความ 
ดันเพิมขึ*น ทั*งนี*เนืองจากว่าเมือความดันเพิมขึ*นปริมาตรของอากาศทีกำหนดมวลมาให้จะลดลงเมือ 
กระบอกสูบต่อเนืองกัน มวลของอากาศก็จะไหลต่อเนืองกันไปตลอดเครืองอัด และเมือลูกสูบชุดต่อไปมี 
ปริมาตรอากาศเข้าน้อยเนืองจากความดันสูงขึ*น จึงทำให้ขนาดของกระบอกสูบเลก็ลงตามลำดับ 
5.3.3) เครืองอัดแบบโรตารี 
เครืองอัดอากาศแบบนี*มีพ*ืนฐานอยู่ 3 แบบด้วยกัน คือ แบบเหวียงออกตามแนวรัศมี 
รอบตัว หรือแบบใช้แรงเหวียง (Radial or Centifugal Compressor) แบบไหลตามแนวแกน และแบบขับ 
ออกทางบวกหรือพัดลม ลักษณะโดยทัวๆ ไปของเครืองอัดอากาศ แบบเหวียงตามแนวรัศมี ซึง 
ประกอบด้วยใบพัดทีหมุนได้รอบตัว โดยปกติจะมีความเร็วรอบสูง ( 20,000 – 30,000 ริบต่อนาที ) อยู่ 
ภายใน เครืองใบพัดประกอบด้วยจานติดใบเมือใบหมุนอากาศซึงอยู่ในร่องใบก็จะหมุนไปด้วย แรงเหวียง 
จะผลักให้อากาศออกทางปลายใบพัด ซึงเรียกว่าตาของใบพัด ( Eye of Impeller ) อากาศจะไหลจากปลาย 
ด้านนอกของใบพัดผ่านแหวนจ่ายลมซึงทำให้กระบอกเข้าไปในก้นหอยโข่ง ( Evolute ) ได้ดียิงขึ*น ทีแหวน 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
20 
จ่ายลม อากาศจะลดอัตราความเร็วลง ซึงมีผลให้ความดันของอากาศก่อตัวสูงขึ*น ในทางทฤษฎีถือว่าไม่มี 
พลังงานสูญเสีย 
ก้นหอยเป็นส่วนทีทำหน้าทีรวมอากาศของเครืองอัดซึงพ*ืนทีหน้าตัดจะโตขึ*นเรือยๆ โดยรอบเครืองอัด 
เหตุผลสำหรับอันนี*ก็คืออากาศทีรวมตัวกันอยู่รอบๆ ก้นหอยจะมากข*ึนเรือยๆ ซึงต้องใช้พ*ืนทีหน้าตัดโตขึ*น 
ต่อไปก็จะมีท่อต่อลมอัดออกไปใช้งาน เครืองอัดอากาศแบบนี*เป็นแบบการไหลต่อเนือง ใช้ในการอัด 
อากาศเป็นจำนวนมากๆ ผา่นช่วงความดันปานกลางโดยทัวๆ ไป มีอัตราส่วนการอัดประมาณ 4 ถึง 6 : 1 
เครืองอัดอากาศแบบการไหลตามแนวแกน เครืองอัดอากาศแบบนี*มีใบพัดแบบอยู่กับทีและแบบเคลือนที 
หลายๆ ชุดต่อเนืองกัน ใบชุดอยู่กับทีจะติดอยู่กับเครือง ส่วนใบพัดชุดเคลือนทีติดอยู่ทีแกนมีเพลา 
หมุนรอบตัว ใบชุดเคลือนทีนั*นมีลักษณะใบพัดลมหลายๆ อันประกอบเข้าเป็นชุดเดียวกัน ใบพัดเหล่านี*จะ 
ช่วยส่งอากาศใหผ้่านเข้าเครืองอัดอากาศ มุมของใบพัดทุก ชุดจะจัดไว้พอดีก็ทำให้อากาศผ่านจากใบพัดชุด 
หนึงได้อย่างราบเรียบ อากาศจะวิงผ่านตามแนวแกนทีมีความเร็วสูงประมาณ 10,000 – 30,000 รอบต่อนาที 
ใช้อัดอากาศในปริมาณมากๆ มีอัตราส่วนความดันถึง 10 : 1 หรือมากกว่า ซึงเครืองอัดอากาศแบบนี*จะ 
นำไปใช้กับเครืองกังหันก๊าซของเครืองบินและเครืองกำเนิดไฟฟ้า 
5.4) กังหันก๊าซ 
กังหันก๊าซจะทำงานได้ต้องมีส่วนประกอบ 3 อย่างดังทีกล่าวมาแล้วข้างต้น คือ เครืองอัดอากาศ 
ห้องเผาไหม้ และตัวกังหัน โดยมีการทำงานดังนี* คือ อากาศจะถูกอัดด้วยเครืองอัดอากาศให้มีความดันสูง 
8 – 10 เท่า โดยใช้เครืองอัดอากาศแบบโรตารี แบบอากาศไหลตามแนวแกนหรือไหลตามแนวรัศมี 
อากาศความดันสูงจะส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้โดยผ่านท่อลม ในห้องเผาไหม้จะมีหัวฉีดเชื*อเพลิงเข้าไป 
อย่างต่อเนือง เมืออากาศผ่านเข้าไปยังห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดอุณหภูมิสูงขึ*นและเกิดการขยายตัวทำให้มี 
ความดันเพิมขึ*นไปขับดันกังหันให้หมุนโดยเพลาของกังหันสามารถต่อไปใช้งานได้ เช่น เครืองกำเนิด 
ไฟฟ้า หรือเรือเดินสมุทร ส่วนเครืองบินไม่ส่งกำลังออกทีเพลา แต่จะมีกังหันก๊าซและเครืองอัดอากาศ 
ขนาดใหญ่ทีให้กำลังและความเร็วสูงมาก ในการผลักดันเครืองบินให้เคลือนทีภายในอากาศได้ การเผา 
ไหม้อย่างต่อเนืองจะทำให้อุณหภูมิของห้องเผาไหม้และเครืองอัดอากาศมีความร้อนสูง จึงต้องมีการระบาย 
ความร้อนให้กับเครืองข้อดีของเครืองกังหันก๊าซคือ มีการสันสะเทือนน้อย ออกแบบง่าย มีประสิทธิภาพ 
การทำงานสูง กังหันก๊าซเป็นเครืองทีไม่สามารถเริมเดินเครืองด้วยตัวเองได้เหมือนเครืองยนต์ลูกสูบทัวๆ 
ไป จึงต้องมีเครืองช่วยหมุนจนได้ความเร็วรอบระดับหนึง จึงจะทำการจุดเชื*อเพลิงในห้องเผาไหม้ 
เครืองช่วยหมุนนี*อาจใช้มอเตอร์ไฟฟ้า หรือกังหันก๊าซเลก็ๆ โดยออกแบบให้มีถังเชื*อเพลิงและชุดอัดอากาศ 
สำหรับกังหันก๊าซตัวเล็กนี*จะใช้เฟืองหรือชุดเกียร์ขับทีเพลากังหันเมือเดินเครืองได้แล้ว ชุดเกียร์จะถอย 
ออกมา 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
21 
5.5) การเพิมประสิทธิภาพของกังหันก๊าซ 
ก๊าซทีออกจากกังหันจะยังคงมีอุณหภูมิและพลังงานหลงเหลืออยู่อีกมากจึงนำก๊าซร้อนนี*ไปเข้า 
เครืองถ่ายเทความร้อน ( Heat Exchange ) ก่อนทีจะส่งเข้าไปยังเครืองอัดอากาศ ทำให้อากาศทีถูกอัดมี 
อุณหภูมิสูงขึ*นและส่งต่อไปยังห้องเผาไหม้ ทำให้ได้พลังงานเพิมขึ*น 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ อากาศถูกดูดเข้า 
เครืองอัดอากาศ เพิมความดันให้สูงขึ*น 8 – 10 เท่า ส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ทีมีก๊าซหรือน*ำมันดีเซลเป็น 
เชื*อเพลิง อากาศจะขยายตัวมีความดันสูงขึ*น ไปขับเคลือนใบพัดของกังหันก๊าซให้หมุน ซึงแกนของกังหัน 
ต่อเชือมเข้ากับแกนของเครืองกำเนิดไฟฟ้าผลิตแรงดันไฟฟ้าจ่ายออกไป ส่วนไอเสียทีขับดันกังหันแล้วจะ 
ยังคงมีอุณหภูมิสูงอยู่ จึงนำก๊าซร้อนนี*ไปถ่ายเทความร้อนเพิมให้กับอากาศทีถูกอัด ทำให้ประสิทธิภาพของ 
อากาศสูงขึ*นกว่าปกติเมือเข้าไปสนัดาปในห้องเผาไหม้ 
5.6) กังหันก๊าซแบบวงจรปิด ( Close Cycle Gas Turbine ) 
กังหันก๊าซแบบวงจรปิดโดยมีโครงสร้างและหลักการทำงานเช่นเดียวกับกังหันก๊าซแบบเปิด 
โดยทัวไป ๆ ไป ส่วนทีแตกต่างคือ ใช้อากาศจำนวนเดียวกันหมุนเวียนใช้งานอยู่ในวงจรปิดตลอดเวลา 
เว้นแต่จะมีการซ่อมบำรุงหรือการรัวไหลจึงจะเปลียนอากาศ 
การทำงานก็คือ เมืออากาศถกูอัดด้วยเครืองอัดอากาศจะถูกส่งเข้าห้องให้ความร้อนสูง ( Heater ) 
เกิดการขยายตัวเพมิอุณหภูมิและความดันไปหมุนกังหัน หลังจากนั*นจะถูกระบายความร้อนด้วยน*ำทำให้ 
เย็นลง และไหลกลับไปยังเครืองอัดอากาศ อากาศในวงจรด้านความดันตําของวงจรจะถูกอัดความดันให้ 
สูงขึ*นเป็นวงจรเช่นนี*ตลอดไป 
กังหันก๊าซแบบวงจรปิดนี* มีข้อดีคือสามารถใช้กับเชื*อเพลิงทุกประเภท เช่น ของแข็ง ของเหลว 
และก๊าซ การให้ความร้อนในห้องให้ความร้อน จะไม่ผสมโดยตรงกับอากาศทีทำงานในวงจร โดยใช้ 
วิธีการนี*ดัดแปลงไปใช้กับเครืองปฏิกรณ์นิวเคลียร์ได้ โดยก๊าซนี*ใช้หมุนเวียนในวงจรอาจเปลียนเป็นก๊าซ 
อืน เช่น ฮีเลียม แต่ข้อเสียของวงจรแบบนี*คือ ต้องใช้ปริมาณน*ำหล่อเย็นมาระบายความร้อนเป็นจำนวน 
มาก 
5.7) ห้องเผาไหม้ ( Combustion Chamber ) 
ห้องเผาไหม้เป็นโลหะรูปทรงกระบอกมีสองชั*นประกอบกันอยู่ ชั*นนอกเป็นช่องทางเข้าของ 
อากาศความดันสูงทีถูกอัดเข้ามาจากเครืองอัดอากาศ ชั*นในเป็นท่อโลหะซ้อนกันอยู่โดยเจาะรูเลก็ๆ ไว้เป็น 
ระยะๆ เพือให้อากาศความดันสูงเข้าไปผสมกับเชื*อเพลิงทำให้เกดการลุกไหม้ขยายตัวมีอุณหภูมิและความ 
ดันสูงส่งเข้าไปขับเคลือนกังหัน ท่อภายในห้องเผาไหม้ทีถูกถอดออกมาตรวจสอบและบำรุงรักษาตาม 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
22 
ระยะเวลาทีกำหนด โดยจะทำความสะอาดรูทีท่อซึงอาจมีสิงสกปรก เช่น เศษเขม่า หรือผงถ่านสะสม 
ตกค้างอยู่ เป็นการเพมิประสิทธิภาพในการเผาไหม้อีกวิธีหนึง 
ห้องเผาไหม้นี*ส่วนมากจะติดตั*งอยู่ตรงกลางระหว่างเครืองอัดอากาศและกังหันตรงส่วนหัวของห้องเผาไหม้ 
จะมีหัวฉีดเชื*อเพลิง ( ก๊าซหรือน*ำมันดีเซล ) ซึงห้องเผาไหม้จะมีหัวฉีดเชื*อเพลิงตั*งแต่ 6 – 18 หัว และจะมี 
หัวฉีดเชื*อเพลิงให้ลุกไหม้โดยควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เพือให้การเผาไหม้สมบรูณ์ เป็นไปอย่าง 
ต่อเนืองและมีประสิทธิภาพ 
5.8) กังหันก๊าซแบบ 2 ตอน ( Two Stage Gas Turbine ) 
โดยทัวๆ ไป กังหันก๊าซจะมีเพียงหนึงชุดประกอบอยู่ร่วมกับเครืองอัดอากาศและห้องเผาไหม้ 
เรียกว่า เครืองกังหันก๊าซแบบตอนเดียว แต่เพือเป็นการเพมิประสิทธิภาพและกำลังงานในระบบ ก็จะเพิม 
จำนวนกังหันก๊าซและเครืองอัดอากาศขึ*นอีกอย่างละชุด รวมเป็น 2 ชุด จะสามารถเพิมประสิทธิภาพใน 
การทำงานขึ*นอีกประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ ซึงจะเรียกว่าเครืองกังหันก๊าซแบบสอง 2 ตอน หรือถ้า 
ต้องการประสิทธิภาพการทำงานให้สูงขึ*นก็เพมิจำนวนกังหันก๊าซและเครืองอัดอากาศขึ*นไปได้อีก 
การทำงาน 
การทำงานของกังหันก๊าซแบบ 2 ตอน คือ เริมจากเครืองอัดอากาศความดันตําดูดอากาศจาก 
ภายนอกเข้ามาทำการอัดอากาศจากปกติให้มีความดันมากข*ึน แต่ยังคงเป็นความดันตําอยู่ อากาศอัดจำนวน 
นี*จะมีความร้อนอยู่ในตัวจึงต้องผ่านเครืองระบายความร้อนให้อุณหภูมิลดลง โดยยังมีความดันเท่าเดิม 
ส่งผ่านไปยังเครืองอัดอากาศทีมีความดันสูงอัดอากาศให้สูงขึ*นมากกว่าอากาศปกติ 8 – 10 เท่า และผ่านเข้า 
ห้องถ่ายเท่ความร้อนเข้าไปยังห้องเผาไหม้เพือช่วยให้การลุกไหม้ของเชื*อเพลิงเกิดการขยายตัว มีความร้อน 
และอุณหภูมิสูงถึงประมาณ 900 C ส่งเข้าไปขับดันกังหันความดันสูงชุดแรก ทำให้กังหันหมุน 
อุณหภูมิของก๊าซร้อนนี*จะผ่านออกมาจากกังหันก๊าซความดันสูงและผ่านเข้าห้องเผาไหม้ชุดที 2 เกิดความ 
ร้อนอุณหภูมิสูงขยายตัวส่งออกไปขับดันกังหันก๊าซความดันตําอีกเครืองหนึงทีอยู่บนเพลาเดียวกันกับกังหัน 
ชุดแรกขับเพลาให้มีกำลังหมุนเร็วข*ึน ซึงจะมีความเร็วรอบประมาณ 3000 รอบต่อนาที โดยผ่านชุดเกียร์ 
ซึงควบคุมความเร็วรอบให้คงทีและส่งกำลังไปหมุนเครืองกำเนิดไฟฟ้าทีใช้ความเร็วรอบคงที คือ 3000 
รอบต่อนาที เพือผลิตความถีให้ได้ 50 เฮิรตซ์ ส่งกำลังไฟฟ้าออกไปโดยมีพิกัดของเครืองกำเนิดไฟฟ้า 
เป็นกิโลโวลต์แอมแปร์ 
นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า

Contenu connexe

Tendances

ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศkrupornpana55
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก Suparat2804
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าพัน พัน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 

Tendances (20)

ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
ชุดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ วงจรไฟฟ้ามหาสนุก
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
209241 ch02
209241 ch02209241 ch02
209241 ch02
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 

En vedette

เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังnuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)Duckthth Duck
 
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ PresentKasetsart University
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่าวิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่าBlackRider Asa
 
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาpong27
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5พอใจ พลายงาม
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าNeeNak Revo
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1hot0884064376
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1Surapong Pool-im
 

En vedette (20)

เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
 
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Presentไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
ไฟฟ้าพลังงานน้ำ Present
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่าวิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
วิชาป่าหรือเขื่อน 101 บทสุดท้าย 4 มูลค่าของเขื่อน มูลค่าของป่า
 
ความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษาความหมายการบำรุงรักษา
ความหมายการบำรุงรักษา
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
คค
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
 
ปก สารบัญ คำนำ
ปก สารบัญ คำนำปก สารบัญ คำนำ
ปก สารบัญ คำนำ
 

Similaire à โรงไฟฟ้า

อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดอัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดKlangpanya
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1maebchanthuk
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีKrittamook Sansumdang
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าNIMT
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 

Similaire à โรงไฟฟ้า (20)

คอนไทย
คอนไทยคอนไทย
คอนไทย
 
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดอัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
กฟภ 1
กฟภ 1กฟภ 1
กฟภ 1
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 

Plus de Nattawut Kathaisong

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdNattawut Kathaisong
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลNattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์Nattawut Kathaisong
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 

Plus de Nattawut Kathaisong (14)

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
 
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าบทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า
 

โรงไฟฟ้า

  • 1. โรงต้นกำลัง (โรงไฟฟ้า) เสนอ อาจารย์บุญญฤทธิ์ วังงอน โดย นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง เลขที่ ๔ คอ.บ. ๓.๑๑ ก สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
  • 2. ก คำนำ รายงานนีจัดทำขึนเพือประกอบการเรียนวิชา ป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง ผู้จัดทำได้ศึกษาและค้นคว้า เกียวกับ โรงต้นกำลัง ซึงประกอบไปด้วย โครงสร้างระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า, ระบบผลิตไฟฟ้า,โรงไฟฟ้า พลังงานนำ, โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน, โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์, โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซล, โรงไฟฟ้า กังหันแก๊ส และระบบส่งกำลังไฟฟ้า เพือเป็นแนวทางในการเรียนและเป็นประโยชน์ให้กับผู้ทีกำลังศึกษา เรืองนี ยังสามารถเก็บไว้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนของตนเอง และผู้อืนอีกต่อไป ดังนัน ข้อมลูทีรวบรวมมาได้จากอินเตอร์เน็ต ต้องขอขอบพระคุณ ท่านอาจารย์ บุญญฤทธิ8 วังงอน เป็นอย่างสูงทีกรุณาแนะนำและตรวจให้ จนกระทังรายงานนีเสร็จสมบูรณ์ ผู้จัดทำหวังว่ารายงานเล่มนี จะ เป็นประโยชน์ต่อผู้ศกึษาค้นคว้าสืบต่อไป ผู้จัดทำ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง
  • 3. ข สารบัญ เรือง หน้าที คำนำ ก สารบัญ ข โครงสร้างระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า 1 ระบบผลิตไฟฟ้า 2 โรงไฟฟ้าพลังงานนำ 2 - 7 โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน 7 - 10 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ 10 - 14 โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซล 14 - 16 โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส 17 - 25 ระบบส่งกำลังไฟฟ้า 26 - 40 บรรณานุกรม 41
  • 4. 1 โรงต้นกำลัง ระบบและวิธีการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า จากการศึกษาหลักการกำเนิดแรงดันจากเครืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรง รวมถึงการวิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์ต่างๆทีเกิดขึ*นในการนำแรงดันดังกล่าวมาใช้กับโหลดไฟฟ้าในชนิด ต่างๆในปัจจุบัน การผลิตแรงดันไฟฟ้าในระดับแรงดันสูงๆได้มาจากโรงต้นกำลังไฟฟ้าและการรับแรงดัน หรือกำลังไฟฟ้ามายังผู้ใช้ในบ้าน หรือโรงงานอุตสาหกรรม ทีมาจากโรงต้นกำลังแต่ละวิธีการนั*นมี ขบวนการทางการส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า ดังในบทเรียนทีนำเสนอนี* 1 .โครงสร้างของระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า ระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า หมายถึงระบบไฟฟ้าทีประกอบด้วยระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งกำลังไฟฟ้า และระบบจำหน่ายไฟฟ้าจนกระทังถึงผู้ใช้ไฟฟ้ารายย่อย ระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งกำลังไฟฟ้า ระบบจำหน่ายไฟฟ้า ผู้ใช้ไฟฟ้า รูปที 1 โครงสร้างการส่งจ่ายไฟฟ้าจากระบบผลิตไฟฟ้า มาถึงผู้ใช้ไฟฟ้า นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 5. 2 1.1 ระบบผลิตไฟฟ้า (Generating System) ระบบผลิตไฟฟ้า หมายถึง ระบบทีมีการเปลียนรูปพลังงานจากพลังงานรูปอืนๆไปเป็นพลังงาน ไฟฟ้า เช่น เปลียนจากพลังงานศักย์ของน*ำไปเป็นไฟฟ้าหรือเปลียนพลังงานความร้อนทีได้ จากถ่านหิน แก๊ส น*ำมัน หรือ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ไปเป็นไฟฟ้าเป็นต้น กระบวนการทีเปลียนจากพลังงานรูปอืนไปเป็นไฟฟ้า นั*น ส่วนใหญ่จะผ่านรูปของพลังงานกลก่อนเสมอและใช้พลังงานกลเป็นตัวขับ(Prime Mover)เครืองกำเนิด ไฟฟ้าอีกที มีบ้างเหมือนกันทีเปลียนจากพลังงานรูปอืนไปเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง เช่น ระบบผลิต กระแสไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เป็นต้น ระบบผลิตไฟฟ้าบางครั*งเรียกว่า โรงไฟฟ้าหรือโรงจักรไฟฟ้า การเรียกชือโรงไฟฟ้านั*นนิยมเรียกตาม ลักษณะของแหล่งพลังงานหรือมิฉะนั*นก็เรียกตามชนิดของตัวขับได้แก่ 1)โรงไฟฟ้าพลังน*ำ (Hydroelectric Power Plant) 2)โรงไฟฟ้าพลังความร้อน (Thermal Power Plant) 3)โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ (Nuclear Power Plant) 4)โรงไฟฟ้าดีเซล (Diesel Power Plant) 5)โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส (Gas Turbine Power Plant) แรงดันไฟฟ้าทีผลิตขึ*นจากเครืองกำเนิดไฟฟ้า โดยทัว ๆ ไปมีค่าไม่เกิน 20kV ทั*งนี*เกิดจากปัญหา ทางด้านฉนวนในเครืองกำเนิดไฟฟ้าและคำนึงถึงผลทางด้านเศรษฐศาสตร์ด้วย ซึงเครืองกำเนิดไฟฟ้าของ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ทีใช้ในปัจจุบันมีแรงดันจ่ายออกหลายระดับ เช่น 3.5 kV 115 , kV 230 , kV หรือ 500kV การส่งพลังงานจากจุดหนึงไปยังอีกจุดหนึง จะเลือกส่งด้วยระดับแรงดันขนาดใดขึ*นอยู่กับระยะทาง ทีใช้ส่งเป็นสำคัญ ในการส่งไฟฟ้าแรงดังสูงนั*นจะส่งด้วยระบบ เฟส เพราะว่าเพมิสายส่งขึ*นอีกหนึงเสน้จะ 3 เปอร์เซ็นต์ ทั*งนี*เมือเปรียบเทียบขณะใช้แรงดันและ 73 สามารถส่งพลังงานได้สูงกว่าระบบเฟสเดียวถึง กระแสไฟฟ้าจำนวนเท่า ๆ กัน 1) โรงไฟฟ้าพลังนํ6า เป็นโรงงานไฟฟ้าทีใช้แรงดันของน*ำไปหมุนเครืองกังหันน*ำ เพือเปลียน แรงดันของน*ำเป็นพลังงานกลทีสามารถควบคุมได้และใช้พลังงานกลทีได้ไปหมุนให้เครืองกำเนิดไฟฟ้า เพือผลิตพลังงานไฟฟ้า นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 6. 3 รูปที 2 โรงไฟฟ้าพลังน*ำ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ข้อดี 1. สามารถเดินเครืองได้รวดเร็วภายในเวลา 5 นาที 2. เหมาะสำหรับการผลิตไฟฟ้าในช่วงทีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 3. ใช้ในการชลประทาน 4. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการตํามาก 5. ค่าบำรุงรักษาน้อย 6. ไม่มีมลภาวะ 7. สามารถเดินเครืองกำเนิดไฟฟ้าได้รวดเร็ว 8. ไม่ต้องมีการสำรองเชื*อเพลิงไว้ใช้งาน 9. มีอายุการใช้งานนาน 10. มีผลพลอยได้จากอ่างเก็บน*ำสำหรับโครงการอเนกประสงค์อืน ๆ ข้อเสีย 1. ค่าใช้จ่ายในการสร้างโรงไฟฟ้าและเขือนสูงมาก 2. กำลังผลิตไฟฟ้าไม่แน่นอน 3. อยู่ไกลจากศูนย์กลางโหลด ทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูงในการสร้างสายส่งจ่ายไฟฟ้า 4. เกิดผลกระทบต่อสิงแวดล้อม
  • 7. 4 ตัวอย่างโรงงานไฟฟ้าพลังนํ6า เขือนแก่งกระจาน ภาพที 3 เขืนแก่งกระจาน เพชรบุรี เป็นเมืองเก่าแก่ เคยเป็นเมืองหน้าด่านสำคัญชั*นเมืองลกูหลวงของไทยมาช้านาน และมี ชือเสียงเลืองลือ หลายด้านนอกจากจะเคยเป็นเมืองทีประทับของอดีตพระมหากษัตริย์แห่งราชวงค์จักรี ยังมี สถานทีท่องเทียวสำคัญหลายแห่ง ซึงรวมทั*งเขือนเพือการชลประทานและผลิตไฟฟ้าทีสำคัญและมีความ งดงาม นันคือ เขือนแก่งกระจาน นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ลักษณะเขือน เขือนแก่งกระจานกั*นแม่น*ำเพชร ทีบริเวณเขาเจ้า และเขาไม้รวกประชิดกับ ตำบลแก่งกระจาน อำเภอแก่ง กระจาน จังหวัดเพชรบุรี อยู่ทางด้านเหนือน*ำของเขือนเพชรขึ*นไปตามถนน 27 กิโลเมตร เป็นเขือนดิน สูง 58 เมตร สนัเขือนยาว 760 เมตร กว้าง 8 เมตร ระดับสนัเขือน 106 เมตร รทก(ระดับน*ำทะเลปานกลาง). นอกจากนี* ยังมีเขือนดินปิดเขาตําทางขวางเขือนอีก 2 แห่ง คือ แห่งแรกสูง 36 เมตร สนัเขือนยาว 305 เมตร แห่งที 2 สูง 24 เมตร สนัเขือนยาว 255 เมตร เพือให้สามารถเก็บกักน*ำได้มากข*ึน โรงไฟฟ้า ติดตั*งเครืองกำเนิดไฟฟ้า 1 เครือง ขนาดกำลังผลิต 19,000 กิโลวัตต์ ให้พลังงานไฟฟ้าเฉลียปีละ 70 ล้านกิโลวัตต์ชัวโมงโดยมีสายส่งไฟฟ้าจากเขือนแก่งกระจานไปยังสถานีไฟฟ้าแรงสูงชะอำ เป็นระยะทาง
  • 8. 5 40-41 กิโลเมตรเขือนแก่งกระจานสร้างขึ*นเมือ พ .ศ .2504 แล้วเสร็จ พ .ศ .2509 โดยมีวัตถุประสงค์เพือ อำนวยประโยชน์ ในด้านการชลประทานบริเวณทีราบ จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดใกล้เคียง รวมทั*งยังให้ ประโยชน์ด้านการประมง การคมนาคมทางน*ำ และการพักผ่อนหย่อนใจ อีกด้วยต่อมา เมือความต้องการ พลังงานไฟฟ้าเพิมขึ*นอย่างมาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พิได้พิจารณาติ (.กฟผ )ติดตั*งเครือง กำเนิดไฟฟ้าทีเขือนแก่งกระจาน โดยเริมดำเนินการก่อสร้างเมือเดือน พฤศจิกายน 2514 แล้วเสร็จและผลิต ไฟฟ้าไดั เมือเดือนสิงหาคม 2517 รูปที 4 โรงไฟฟ้าแก่งกระจาน ประโยชน์ เขือนแก่งกระจานเป็นเขือนอเนกประสงค์ ประโยชน์ทีได้จากเขือนมีหลายประการ คือ 1.เขือนแก่งกระจานสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 19,000 กิโลวัตต์ ให้พลังงานเฉลียประมาณ ปีละ 70 ล้านกิโลวัตต์ชัวโมง 2.สามารถขยายพ*ืนทีชลประทานของ โครงการเพชรบุรี ซึงเดิมมีอยู่จำนวน 214,000 ไร่ เพิมเป็น 336,000 ไร่ และเพือการเกษตร การเพาะปลกูในฤดูแล้งได้ 174,000 ไร่ รวมทั*งยังช่วยแก้ไขปัญหา การขาด แคลนน*ำ 3.เพือการอุปโภค บริโภค ตั*งแต่ปากอ่าวเพชรบุรี จนถึงหัวหินให้หมดไป และช่วยบรรเทาอุทกภัย นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ในทุ่งเพชรบุรีด้วย 4.เป็นแหล่งส่งเสริมการประมง 5.เป็นแหล่งท่องเทียวทีสำคัญแห่งหนึงของจังหวัดเพชรบุรี
  • 9. 6 สรุป เขือนแก่งกระจานได้รับการปรับปรุง ให้สวยสดงดงามไว้คอยต้อนรับนักท่องเทียวทุกท่าน หาก ท่านได้มีโอกาสเดินทางไป จังหวัดเพชรบุรี เชิญแวะเข้าไปเยียมชม หรือพักแรม ณ เขือนแห่งนี* ท่านจะได้ พบกับความสงบเงียบ ท่ามกลางความงดงามของเขือน และทัศนียภาพของทะเลสาบทีโอบล้อมด้วยขุนเขา น้อยใหญ่ อันเป็นความงามของธรรมชาติโดยแท้จริง เขือนศรีนครินทร์ รูปที 5 เขือนศรีนครินทร์ เขือนศรีนครินทร์ เป็นเขือนอเนกประสงค์แห่งแรกของโครงการพัฒนาลุ่มน*ำแม่กลอง สร้างขึ*น บน แม่น*ำแควใหญ่ บริเวณบ้านเจ้าเณร ตำบลท่ากระดาน อำเภอศรีสวัสดิi จังหวัดกาญจนบุรี นับเป็น เขือนแห่งที 8 ในจำนวน 17 แห่ง ทีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สร้างขึ*นเพือ อำนวยประโยชน (.กฟผ)◌์ทางด้าน ต่างๆ ตลอดจนช่วยพัฒนาชีวติ ความเป็นอยู่ของราษฎร และส่งเสริมให้เป็น แหล่งท่องเทียวทีสวยงาม ลักษณะเขือนและโรงไฟฟ้า เป็นเขือนประเภทหินถมแกนดินเหนียวทีใหญ่ทีสุดในประเทศไทย มีความสูงจากฐานราก 140 เมตร สนัเขือนยาว ◌ู610 เมตร กว้าง 15 เมตร พ*นืทีอ่างเก็บน*ำ 419 ตารางกิโลเมตร มีความจุมากเป็นอันดับ หนึงคือ 17,745 ล้านลูกบาศก์เมตร โรงไฟฟ้าเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ติดตั*งเครืองกำเนิดไฟฟ้าจำนวน 5 เครือง เครืองที 3- 1 กำลังผลิต เครืองละ 120,000 กิโลวัตต์ เครืองที 5-4 เป็นเครืองกำเนิดไฟฟ้าระบบสูบกลับ กำลังผลิต เครือง ละ 180,000 กิโลวัตต์ รวมกำลังผลิตทั*งสิ*น 720,000 กิโลวัตต์ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 10. 7 งานก่อสร้างเขือนศรีนครินทร์ เริมเมือปี 2516 แล้วเสร็จในปี 2523 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญ พระนามาภิไธยสมเด็จพระศรีนครินทร์ มาขนานนามเขือน และ เสด็จ พระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ไปทรงเปิดเขือน เมือวันที 15 มิถุนายน 2524 ประโยชน์ เขือนศรีนครินทร์เป็นโครงการอเนกประสงค์ ซึงอำนวยประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังนี* ชลประทานช่วยส่งเสริมระบบชลประทาน โครงการแม่กลองใหญ่ให้มีประสิทธิภาพยิงขึ*น โดยมี เขือนวชิ ราลงกรณ์ของกรมชลประทานเป็นหัวงานทดน*ำเข้าสู่พ*นืทีเกษตรได้ตลอดปีเป็นเนื*อทีถึง 4,118 ล้านไร่ ผลิตไฟฟ้า สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้เฉลียปีละประมาณ 1,250 ล้านกิโลวัตต์ชัวโมง บรรเทา อุทกภัย สามารถกักเก็บน*ำทีหลากมาในช่วงฤดูฝนไว้ในอ่างเก็บน*ำ ได้เป็นจำนวนมาก ช่วย บรรเทาอุทกภัย ในเขตลุ่มน*ำแม่กลองให้ลดน้อยลง คมนาคมทางน*ำสามารถใช้เป็นเส้นทางเดินเรือขึ*นไปยังบริเวณอำเภอ ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วข*ึน ผลักดันน*ำเค็มสามารถปล่อยน*ำลงผลักดันน*ำเค็มมิให้หนุนล*ำเข้ามาทำความเสียหายแก่พ*ืนทีบริเวณ ปากน*ำ แม่กลองในช่วงฤดูแล้ง ประมงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน*ำจืดทีอุดมสมบูรณ์ ช่วยเพมิรายได้ให้กับราษฎรอีก ทางหนึงด้วย ท่องเทียวเขือนศรีนครินทร์ นับเป็นแหล่งท่องเทียว พักผ่อนหย่อนใจทีสวยงามอีกแห่งหนึง ใน จังหวัด กาญจนบุรีให้ทั*งความรู้และความเพลิดเพลิน แก่ผู้มาเทียวชมปีละเป็นจำนวนกว่าแสนคน และ ก่อให้เกิด การขยายตัวทางการท่องเทียวอย่างกว้างขวาง เช่น แพท่องเทียวในอ่างเก็บน*ำ เป็นต้น 2) โรงไฟฟ้าพลังความร้อนหรือโรงไฟฟ้าพลังงานไอนำ6 เป็นโรงงานไฟฟ้าทีใช้พลังงานความร้อน เป็นกำลังในการผลิต โดยการเผาไหม้เชื*อเพลิงเพือต้มน*ำให้กลายเป็นไปน*ำทีมีแรงดันสูงไปขับดันกังหันไอ น*ำแล้วนำไปขับเคลือนเครืองกำเนิดไฟฟ้าเชื*อเพลิงทีใช้ได้แก่ น*ำมันเตา ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ รูปที 6 โรงไฟฟ้าพลังงานไอน*ำ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 11. 8 นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ข้อดี 1. การเริมเดินเครืองใช้เวลาอย่างน้อย 2 – 3 ชัวโมง 2. เหมาะทีใช้เป็นโรงไฟฟ้าทีเป็นฐานการผลิต (Base Load) 3. เชื*อเพลิงถ่านหินมีราคาถูกและมีปริมาณมากเพียงพอสำหรับโรงไฟฟ้าหลัก ของประเทศ 4. ต้นทุนในการเดินเครืองตํา 5. กำลังผลิตสูงสามารถจ่ายเสริมเข้าระบบผลิตไฟฟ้าของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. ประหยัดการใช้น*ำมัน สามารถสงวนเงินตราของประเทศได้เป็นจำนวนมาก ข้อเสีย 1. การเริมเดินเครืองจุดเตาต้องใช้เวลานาน 2. มีมลภาวะของแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นผลต่อสิงแวดล้อมใกล้เคียง 3. มีขี*เถ้าจากเชื*อเพลิงถ่านหิน ต้องใช้ทีเก็บเป็นจำนวนมาก ตัวอย่างโรงไฟฟ้าพลังงานไอนํ6า โรงไฟฟ้าบางปะกง รูปที 7 โรงไฟฟ้าบางปะกง โรงไฟฟ้าบางปะกง เป็นโรงไฟฟ้าแห่งแรกของประเทศไทย ทีใช้ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทย มาเป็น เชื*อเพลิง ในการผลิตไฟฟ้า เพือสนองนโยบายของรัฐบาลทีต้องการพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
  • 12. 9 ภายในประเทศ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดปัจจุบันโรงไฟฟ้าบางปะกงมีกำลังผลิตรวมทั*งสิ*น 3,680,000 กิโลวัตต์ ถือเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้า ขนาดใหญ่และทันสมัยทีสุดในประเทศไทย ทีตั6ง โรงไฟฟ้าบางปะกง ตั*งอยู่บนเนื*อที 1,050 ไร่ บริเวณฝังซ้ายของแม่น*ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย อยู่ห่างจากปากแม่น*ำบางปะกงขึ*นมาตามลำน*ำประมาณ 11 กิโลเมตร หรือห่างจากสะพาน เทพหสัดินทร์ ไปทาง เหนือน*ำประมาณ 2.5 กิโลเมตร ลักษณะโครงการ โรงไฟฟ้าบางปะกง ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 4 เครือง และโรงไฟฟ้าพลัง ความร้อนร่วม จำนวน 4 ชุด โดยแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที 1 เริมดำเนินการก่อสร้างเมือปี 2520 ประกอบด้วยงานก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อน จำนวน 2 เครือง กำลังผลิคเครืองละ 550,000 กิโลวัตต์ และโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม จำนวน 2 ชุด กำลัง ผลิตชุดละ 370,000 กิโลวัตต์ แต่ละชุดประกอบด้วยเครืองผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊สขนาด 60,000 กิโลวัตต์ 4 เครือง 130 ฟฟ้ากังหันไอน*ำขนาดและเครืองผลิตไ (สามารถ ใช้ได้ทั*งน*ำมันดีเซลและก๊าซธรรมชาติ),000 กิโลวัตต์ 1 เครือง การก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที 1 แล้วเสร็จสมบูรณ์ในเดือนพฤษภาคม 2527 รวม กำลังผลิตไฟฟ้าทั*งสิ*น 1,840,000 กิโลวัตต์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็พระราช ดำเนิน ทรงประกอบพิธีเปิดโรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที 1 เมือวันที 8 มกราคม 2528 ระยะที 2 เนืองจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยใน พ2531-2530 .ศ . ได้ขยายตัวสูงมาก การใช้ ไฟฟ้า เพมิขึ*นสูงกว่าทีคาดการณ์ไว้ กฟผจึงวางแผนเร่งพัฒนาแหล่งผลิตไฟฟ้า เพือสนองความต้องการใช้ . 2 ไฟฟ้าอย่าง เพียงพอและเพมิความมันคงแก่ระบบไฟฟ้าของประเทศ โครงการโรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที ได้รับอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี เมือวันที 29 มีนาคม 2531 และคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ เห็นชอบ ให้ดำเนินการ เมือวันที 16 พฤษภาคม 2531 การก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะกงระยะที 2 จึง ได้เริมดำเนินการตั*งแต่ เดือนตุลาคม 2531 ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าพลังความร้อน เครืองที 3 และ 4 กำลังผลิตเครืองละ 600,000 กิโลวัตต์ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ชุดที 3 และ 4 กำลังผลิตชุดละ 320,000 กิโลวัตต์ แต่ละชุด ประกอบด้วย เครืองผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊ส ขนาด 105,500 กิโลวัตต์ 2 เครือง สามารถใช้ได้ทั*ง ) 109 และเครืองผลิตไฟฟ้ากังหันไอน*ำ ขนาด (น*ำมันดีเซลและก๊าซธรรมชาติ,000 กิโลวัตต์ 1 เครือง โรงไฟฟ้าบางปะกง ระยะที 2 แล้วเสร็จสมบูรณ์ในปี 2535 รวมกำลังผลิตไฟฟ้าทั*งสิ*น 1,840,000กิโลวัตต์ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 13. 10 รูปที 8 โรงไฟฟ้าบางปะกง ประโยชน์ โรงไฟฟ้าบางปะกงมีกำลังผลิตไฟฟ้าสูงถึง 3,674,600 กิโลวัตต์ จึงเป็นโรงไฟฟ้าหลักทีช่วยเสริม ความมันคง ให้ระบบไฟฟ้าส่วนรวมของประเทศ และการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื*อเพลิง ก็เป็นการ สนับสนุนนโยบายใช้ทรัพยากร ภายในประเทศ สามารถประหยัดเงินซื*อน*ำมันจากต่างประเทศได้ปีละหลาย ล้านบาท นอกจากนี*ยังช่วยสนับสนุนและรองรับความเจริญเติบโตของโครงการพัฒนาชายฝังทะเล ตะวันออก ทำให้ ภาคเอกชนมคีวามมันใจในการลงทุนมากข*ึน 3) โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ปัจจุบันปัญหาเรืองแหล่งพลังงานธรรมชาติทีจะนำมาเป็นต้นกำลัง ในการผลิตกระแสไฟฟ้าไม่เคยเกิดข*ึน ปริมาณการใช้พลังงานนับวันจะเพิมมากขึ*นไม่ว่าจะเป็นพลังงานจาก น*ำ น*ำมัน หรือแก๊สธรรมชาติ จึงจำเป็นทีต้องเสาะหาแหล่งพลังงานอืน ๆ ทีมีประสิทธิภาพสูงกว่าและมี ปริมาณเพียงพอทีจะนำมาใช้ทดแทน นันคือพลังงานนิวเคลียร์ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 14. 11 รูปที 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก หลักการทำงาน รูปที 10 หลักการทำงานนิวเคลียร์
  • 15. 12 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ คือ ระบบทีจะนำพลังงานทีปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์มา เปลียนเป็นพลังงานไฟฟ้า โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โดยทัวไป ประกอบด้วยส่วนหลักๆ 4 ส่วนคือ 1.เตาปฏิกรณ์ 2.ระบบระบายความร้อน 3.ระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า 4.ระบบความปลอดภัย พลังงานทีเกิดขึ*นในเตาปฏิกรณ์เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน สิงทีได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน ไม่ได้มีเพียงพลังงานจำนวนมากทีปลดปล่อยออกมา แต่รวมถึงผลผลิตทีได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน นิวตรอนอิสระจำนวนหนึง การควบคุมจำนวนและการเคลือนทีของนิวตรอนอิสระภายในเตา ปฏิกรณ์โดยสารหน่วงนิวตรอน และแท่งควบคุมจะเป็นการกำหนดว่า จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันขึ*น ภายในเตาปฏิกรณ์มากน้อยเพียงใด พลังงานทีผลิตเกิดข*ึนภายในเตาปฏิกรณ์ จะถูกนำออกมาโดยตัวนำความร้อน ซึงก็คือของไหลเช่น น*ำ,เกลือหลอมละลายหรือก๊าซคาร์บอนไดอออกไซต์ ของไหลจะรับความร้อนจากภายในเตาปฏิกรณ์ จนตัว มันเองเดือดเป็นไอหรือเป็นตัวกลางในการนำความร้อนไปยังวงจรถัดไปเพือผลิตไอน*ำ ไอน*ำทีได้จะถูก ส่งผ่านท่อไปยังระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า ทีไอน*ำจะถูกนำไปขับกังหันไอน*ำทีจะใช้ในการหมุนเครือง กำเนิดกระแสไฟฟ้าต่อไป โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ทีใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยทัวไปในโลกมีมากมายหลายชนิด การจำแนกชนิดของโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์จะจำแนกตามลักษณะทัวไปของเตาปฏิกรณ์ ชนิดของ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ทีมีอยู่ทัวไป สามารถแบ่งออกได้ 3 ชนิดดังนี* 1.โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน เป็นโรงไฟฟ้าทีนิยมใช้มากทีสุด โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน ใช้น*ำเป็นทั*งตัวกลางระบายความร้อนและสารหน่วง นิวตรอน มีการออกแบบระบบการทำงานให้มีสองวงจร โดยวงจรแรกจะเป็นระบบระบายความร้อนออก จากเตาปฏิกรณ์ ทีซึงน*ำจะไหลผ่านเตาปฏิกรณ์เพือระบายความร้อนออกจากแกนปฏิกรณ์ และนำความร้อน ทีได้ส่งต่อให้วงจรทีสองทีอุปกรณ์กำเนิดไอน*ำ เพือผลิตไอน*ำเพือขับกังหันไอน*ำ น*ำในวงจรแรกนี*จะ ทำงานมีอุณหภูมิสูงถึง 325 องศาเซลเซียส ดังนั*นวงจรแรกจึงต้องทำงานภายใต้ความดันทีสูงมาก เพือ ป้องกันการเดือดของน*ำในวงจร อุปกรณ์ทีทำหน้าทีควบคุมแรงดันในวงจรแรกคือตัวควบคุมความดัน )pressuriser) โดยน*ำในวงจรแรกจะทำหน้าทีทั*งเป็นสารหล่อเย็นและสารหน่วงนิวตรอนให้แก่เตาปฏิกรณ์ ในส่วนของวงจรทีสองนั*นจะทำงานภายใต้ความดันทีตํากว่าวงจรแรก ซึงน*ำในวงจรนี*จะถูกต้มให้เดือดเพือ ผลิตไอน*ำทีอุปกรณ์กำเนิดไอน*ำ ไอน*ำทีผลิตได้จะใช้ในการขับกังหันไอน*ำเพือผลิตกระแสไฟฟ้า หลังจาก นั*นจะควบแน่นกลับไปเป็นน*ำแล้วไหลกลับไปทีอุปกรณ์ผลิตไอน*ำ เพือเปลียนเป็นไอน*ำต่อไปเรือยๆ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 16. 13 2.โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือด โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือด มีการ ทำงานทีคล้ายคลึงกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดันมาก แตกต่างกันเพียงแค่โรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือด มีวงจรการทำงานเพียงแค่วงจรเดียว ทีซึงน*ำจะถูกต้มภายในเตาปฎิกรณ์ )Reactor Vessel)โดยตรง ทีอุณหภูมิประมาณ 285 องศาเซลเซียส โดยเตาปฏิกรณ์แบบนี*ถูกออกแบบให้ ทำงาน โดยทีส่วนบนของแกนปฏิกรณ์ประมาณ 12-15% มีสภาพเป็นไอน*ำ โดยระบบของโรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือดนั*น ถูกออกแบบให้น*ำเดือดภายในเตาปฏิกรณ์ทำให้เตาปฏิกรณ์แบบนี*จะ ทำงานทีความดันตํากว่าเตาปฏิกรณ์แบบน*ำอัดความดัน ไอน*ำทีผลิตได้ภายในเตาปฏิกรณ์ จะไหลผ่าน อุปกรณ์แยกน*ำบริเวณส่วนบนของเตาปฏิกรณ์ แล้วจะไหลออกไปขับกังหันไอน*ำโดยตรง เนืองจากน*ำที ไหลผ่านแกนปฏิกรณ์จะมีการปนเปื*อนจากสารรังสี ทำให้อุปกรณ์ในส่วนของกังหันไอน*ำ ) Steam Turbine) จะโดนปนเปื*อนจากสารรังสีด้วย ดังนั*นอุปกรณ์ในส่วนของกังหันไอน*ำ จึงต้องได้รับการป้องกันรังสี เช่นเดียวกับระหว่างการบำรุงรักษา โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำเดือดจะมีต้นทุนตํากว่าแบบอืน เนืองจากเป็นระบบทีเรียบง่าย และในส่วนข้อกังวลเกียวกับการปนเปื*อนรังสีของอุปกรณ์ของระบบกังหัน ไอน*ำนั*น เนืองจากสารปนเปื*อนในน*ำนั*นมีอายุสั*นมากโดยห้องกังหันไอน*ำสามารถเข้าไปเพือบำรุงรักษา * ระยะเวลาอันสั*น หลังจากการได้ภายในshut down เตาปฏิกรณ์ 3.โรงไฟฟ้าแบบน*ำมวลหนักอัดความดัน )PHWR or CANDU) โรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียร์แบบน*ำมวลหนักอัดความดัน พัฒนาโดยประเทศแคนาดาในช่วงปี คศ .1950 ภายใต้ชือโรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์แบบแคนดู )CANDU) โรงไฟฟ้าแบบนี*ใช้ยูเรเนียมธรรมชาติทีไม่มีการเสริมสมรรถนะ เป็นเชื*อเพลิง ทำให้ต้องใช้สารหน่วงนิวตรอนทีมีประสิทธิภาพสูงกว่าโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำ อัดความดันหรือแบบน*ำเดือด ซึงในกรณีนี*ได้มีการนำน*ำมวลหนัก )D2O) มาใช้ ในโรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียร์แบบน*ำมวลหนักอัดความดัน มีการออกแบบระบบการทำงานให้มีสองวงจรเหมือนโรงไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน โดยในวงจรแรกน*ำมวลหนัก )D2O) ทีจะทำหน้าทีทั*งเป็นสารหน่วง นิวตรอนและระบายความร้อนออกจากมัดเชือเพลิง จะถูกอัดภายใต้ความดันสูง และจะไหลผ่านช่องบรรจุ เชื*อเพลิงเพือระบายความร้อนออกจากเตาปฏิกรณ์ทีเรียกอีกชือว่า คาแรนเดรีย จนน*ำมวลหนักในวงจรแรกมี อุณหภูมิสูงถึง 290°C และเช่นเดียวกับโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำอัดความดัน น*ำมวลหนักจะถ่ายเท ความร้อนให้แก่วงจรทีสองเพือผลิตไอน*ำทีอุปกรณ์กำเนิดไอน*ำ เพือผลิตไอน*ำเพือขับกังหันไอน*ำผลิต กระแสไฟฟ้า เนืองจากการใช้ยูเรเนียมธรรมชาติเป็นเชื*อเพลิง ทำให้โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน*ำมวล หนักอัดความดัน ต้องมีการเปลียนเชื*อเพลิงทุกวัน จึงมีการออกแบบให้โรงไฟฟ้าชนิดนี*สามารถเปลียน เชื*อเพลิงได้โดยไม่ต้องหยุดการทำงานของเตาปฏิกรณ์ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 17. 14 ข้อดี 1. ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าตําเนืองจากเชื*อเพลิงมีราคาถูกและใช้น้อย (แร่ยูเรเนียมเพียง 1 กรัม ให้ความร้อนเทียบเท่าถ่านหินถึง 3 ตัน) 2. สามารถสร้างโรงไฟฟ้าให้มีขีดความสามารถ มีกำลังผลิตสูง 3. เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าทีมันคง และผลิตพลังงานได้ปริมาณมาก อีกทั*งสามารถเดินเครือง ผลิตไฟฟ้าได้ติดต่อกันมากกว่าหนึงปี จึงจะเติมหรือเปลียนเชื*อเพลิง 4. เป็นโรงไฟฟ้าทีสะอาด ไม่มีเขม่าและควัน ไม่มีแก๊สเสียทีจะทำให้เกิดฝนกรด และภาวะ เรือนกระจก 5. การเปลียนแปลงราคาค่าเชื*อเพลิงมีผลต่อต้นทุนการผลิตน้อยใช้พ*นืทีไม่มาก ข้อเสีย 1.ไม่เป็นทียอมรับของสาธารณชน โดยเฉพาะเรืองความปลอดภัย 2.ต้องใช้เงินลงทุนก่อสร้างสูง เพือสร้างอาคารคลุมปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และระบบป้องกันความ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ปลอดภัย 3.สถานทีตั*งของโรงไฟฟ้าต้องมีการคัดเลือกอย่างเข้มงวด มีกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มากมาย 4.ใช้เวลาดำเนินการและก่อสร้างนานหลายปี 5.จะต้องใช้น*ำเป็นปริมาณมากในระบบระบายความร้อนของโรงไฟฟ้า 6.ต้องนำเข้าเชื*อแพลิงจากต่างประเทศ 7.ต้องพิจารณาเรืองสถานทีเก็บกากกัมมันตรังสี 8.ต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิตสูง 4) โรงไฟฟ้าดเีซล เป็นโรงไฟฟ้าทีใช้พลังงานกลจากเครืองยนต์ดีเซลไปหมุนเครืองกำเนิดไฟฟ้า หรือทำการผลิตไฟฟ้า เชื*อเพลิงได้แก่ น*ำมันดีเซล รูปที 11 โรงไฟฟ้าดีเซล
  • 18. 15 ข้อดี 1. สามารถเดินเครืองไฟฟ้าได้รวดเร็ว 2. เหมาะสำหรับการผลิตไฟฟ้าในช่วงทีมีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 3. เป็นโรงไฟฟ้าทีสามารถติดตั*งอย่างรวดเร็ว 4. มีประสิทธิภาพสูงในการใช้เป็นโรงไฟฟ้าสำรอง 5. การซ่อมแซมบำรุงรักษาง่าย ข้อเสีย 1. มีมลภาวะทางเสียง และเขม่าควัน 2. ต้องซื*อเชื*อเพลิงจากต่างประเทศ ทำให้เสียเงินตราของประเทศ ตัวอย่างโรงงานไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้าดีเซลแม่ฮ่องสอน รูปที 12 โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซลแม่ฮ่องสอน นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 19. 16 สถานทีตั6ง โรงไฟฟ้าพลังงานดีเซลแม่ฮ่องสอน หมู่ 1 ตำบลผาบ่อง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58000 สภาพแวดล้อม เมือเดินทางเข้าถึงโรงไฟฟ้าพลังงานดีเซลจังหวัดแม่ฮ่องสอนเราจะพบเป็นแผงโซล่าเซลล์จำนวน มากตั*งเรียงรายกันอยู่สูงจากพ*ืนดินประมาณ 1 เมตร จะมีพ*ืนทีประมาณ 7 ไร่เป็นพ*ืนทีผลิตกระแสไฟฟ้าแห่ง แรกทีสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้มากทีสุด มีโรงผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นแห่งๆ ภายในจะมีสำนักงานและ เจ้าหน้าทีเนืองจากกระแสไฟฟ้าเหล่านี* จะจ่ายกระแสไฟฟ้าภายในจังหวัดแม่ฮ่องสอนเท่านั*นการผลิต กระแสไฟฟ้าดีเซลใช้ต้นทุนสูงมากแต่ได้ผลผลิตทีคุ้มค่าในระยะยาว ประวัติ วันที 9 เมษายน 2534 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีหนังสือถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทยที มหาดไทย 5357/8049 ขอให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยทีจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 20 เมษายน 2534 ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีหนังสือถึงกระทรวงมหาดไทย ด่วนที แม่ฮ่องสอน 0015.1/7133 เรืองขอความช่วยเหลือผลิตกระแสไฟฟ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดยใหก้ระทรวงมหาดไทยเร่งรัด ให้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทำการก่อสร้างไฟฟ้าย่อยทีจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 7 มิถุนายน 2534 กระทรวงมหาดไทย มีหนังสือถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทีมหาดไทย 0302/8731 ขอความ ช่วยเหลือในการผลิตกระแสไฟฟ้าในจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 5 สิงหาคม 2534 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มี หนังสือถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยทีมหาดไทย 5357/18545 ขอให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตช่วย แก้ปัญหาการขาดแคลนแหล่งจ่ายไฟฟ้าจังหวัดแม่ฮ่องสอนวันที 11 กันยายน 2534 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทยมีหนังสือถึงกระทรวงมหาดไทยและปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเพือแจ้งผลการพิจารณาให้ความ ช่วยเหลือในการผลิตกระแสไฟฟ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยรับ ดำเนินการช่วยเหลือผลิตกระแสไฟฟ้าให้จังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นกรณีพิเศษเพือรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของจังหวัดในอนาคตวันที 30 กันยายน 2536 ทำพิธีเปิดโรงไฟฟ้าดีเซลจังหวัดแม่ฮ่องสอนอย่าง เป็นทางการ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน และผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปัจจุบัน โรงไฟฟ้าดีเซลแม่ฮ่องสอน มีเครืองติดตั*ง ทั*งหมดจำนวน 6 เครือง เครืองที 1,2,3 เป็นเครือง Niigata ขนาด กำลังผลิต 1,000 กิโลวัตต์ เครืองที 4 , 5 , 6, เป็นเครือง EE ขนาดกำลังผลิต 800 กิโลวัตต์ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 20. 17 5) โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส เป็นโรงงานทีทำการผลิตไฟฟ้า ด้วยการเผาไหม้เชื*อเพลิงในห้องอัดอากาศ ของเครืองกังหันแก๊ส ซึงเป็นเครืองยนต์สันดาปภายใน มีขั*นตอนในการผลิตไฟฟ้าโดยเริมตากการอัด อากาศให้มีความดันสูง 8 ถึง 10 เท่า แล้วส่งอากาศจำนวนนี*เข้าห้องเผาไหม้ โดยมีเชื*อเพลิงทำการเผาไหม้ จนอากาศในห้องเผาไหม้เกิดการขยายตัว มีแรงดันสูง และมีอุณหภูมิสูง เพือไปหมุนเครืองกังหันแก๊สทีมี จุดเกียร์ รูปที 13 โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส 5.1) กังหันก๊าซ (Gas Turbine) กังหันก๊าซถูกคิดค้นและจดทะเบียนสิทธิบัตรไว้โดย นายจอห์น บาร์เบอร์ ( John Barber ) ชาว อังกฤษ ในปี พ.ศ 2334 ต่อมาได้พัฒนาขึ*นใช้กันอย่างแพร่หลาย เริมแรกกังหันก๊าซถูกนำไปใช้กับ เครืองบินเรือเดินทะเล และเป็นต้นกำลังในการผลิตกระแสไฟฟ้า ต่อมาได้ถูกนำไปใช้กับงานต่างๆ อีก มากมาย เช่น รถยนต์ รถแข่ง รถบรรทุก รถรางความเร็วสูง ระบบตู้เย็นกังหันก๊าซ คนเหาะ (Flying Man ) นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 21. 18 5.2) ส่วนประกอบของกังหันก๊าซ กังหันก๊าซมีส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ส่วน คือ 1. เครืองอัดอากาศ ( Air Compressor ) 2. ห้องเผาไหม้ ( Combustion Chamber ) 3. เครืองกังหัน ( Turbine ) หลักการทำงานเบื6องต้นของกังหันก๊าซ 1.เครืองอัดอากาศจะอัดอากาศใหมี้ความดันสูง 8-10 เท่า 2.อากาศความดันสูงจะถูกส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ทีมีเชื*อเพลิงก๊าซ(หรือน*ำมันดีเซล) ทำการเผา นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ไหม้ 3.อากาศร้อนในห้องเผาไหม้เกิดการขยายตัว ทำให้มีความดันและอุณหภูมิสูง 4.ส่งอากาศนี*ไปดันกังหันก๊าซ 5.เพลาของกังหันก๊าซจะอยู่แกนเดียวกันกับอุปกรณ์ต่างๆ ทีจะนำไปใช้งาน เช่น เครืองกำเนิด ไฟฟ้า ฯลฯ 5.3 ) เครืองอัดอากาศ ( Air Compressor ) เครืองอัดอากาศ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบ ( Reciprocating Air Compressor ) 2. เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบหลายขั*น ( Multistage Reciprcration Compressor ) 3. เครืองอัดอากาศแบบโรตารี ( Rotary Air Compressor ) 5.3.1) เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบ เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบ ประกอบด้วยลูกสูบทีเคลือนทีในกระกระบอกสูบ โดยรับ กำลังขับผ่านก้านสูบและข้อเหวียงทีประกอบอยู่ในเพลาห้องข้อเหวียง มีล*ินอุดอากาศและล*ินส่งติดอยู่ ตอนบนของหัวสูบ ล*ินแบบนี*ทำงานโดยความดันแตกต่างกันระหว่างหน้าและหลังล*ิน ขณะทีลูกสูบ เคลือนทีลงอากาศทีถูกอัดในจังหวะก่อนหน้าทียังหลงเหลืออยู่จะขยายตัวจนมีความดันตํากว่าความดันดูด เข้าเลก็น้อยซึงอากาศด้านนอกของล*นิดูดจะสูงกว่าด้านในตัวนั*น ล*นิจะเปิดใหอ้ากาศเข้าในระหว่างจังหวะ นี* ล*ินส่งจะปิดเพราะขณะนี*ความดันด้านนอกของล*ินส่งจะสูงกว่าความดันภายในกระบอกสูบ ขณะนี* ลูกสูบเคลือนทีขึ*น ในช่วงแรกของจังหวะเคลือนข*ึน ความดันในกระบอกสูบจะสูงขึ*นเล็กน้อยพอเพียงที จะทำให้ล*ินดูดปิด ความดันของอากาศภายในกระบอกสูบจะเพิมขึ*นอย่างรวดเร็ว เมือถูกปิดอยู่ใน กระบอกสูบอย่างสนิทจนมีความดันสูงกว่าความดันด้านนอกของล*นิส่ง ซึงจะทำให้ล*นิส่งเปิดทำให้อากาศ ความดันสูงออกจากกระบอกสูบ และล*ินส่งจะปิดในทีสุดเมือสุดจังหวะอัด ลูกสูบก็จะเริมเลือนลงใน กระบอกสูบ ลิ*นดูดก็จะเลือนออกอีกคร*ังหนึง และจะเป็นวัฏจักรเช่นนี*ซ*ำๆ กัน
  • 22. 19 อากาศทีถูกปิดอยู่ในกระบอกสูบของเครืองอัดอากาศแบบนี*จะสามารถอัดให้ความดันได้สูงมากทั*งนี*ขึ*นอยู่ กับความแข็งแรงของวัสดุทีทำชิ*นส่วนของอัดและกำลังขับของมอเตอร์ ในเครืองอัดอากาศแบบลูกสูบนี* การไหลของอากาศจะมีการหยุดทำงานเป็นจังหวะๆ 5.3.2) เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบหลายข6ัน เครืองอัดอากาศแบบลูกสูบหลายขั*น มีหลักการทำงานคือ เมือการส่งอากาศออกของ เครืองอากาศแบบลกูสูบเดียวถูกกีดขวางย่อมจะทำให้ความดันยิงเพมิขึ*น ถ้าความดันของอากาศส่งออกสูง มากเกินไปก็จะมีข้อเสียเกิดข*ึน เครืองอัดอากาศแบบขั*นเดียว ถ้าต้องการอัดอากาศให้ได้ความดันสูงๆ ก็ จำเป็นจะต้องให้มีโครงสร้างแข็งแรงมาก รวมทั*งต้องให้ชิ*นส่วนประกอบทีแข้งแรงพอเพือแก้ปัญหาเรือง การสมดุล และเมือมีแรงบิดตอนเริมสตาร์ทสูงก็ต้องใช้ข้อเหวียงให้มีขนานโตขึ*นด้วย จากข้อเสียต่างๆ ของเครืองอัดอากาศแบบขั*นเดียวนี*จึงได้มีการปรับปรุงและหันมาใช้เครืองอัดอากาศแบบหลายขั*น ซึง ประกอบด้วยกระบอกสูบหลายกระบอกต่อเนืองกัน โดยอากาศทีส่งออกจากกระบอกสูบหนึงจะวิงไปเข้า กระบอกสูบตัวถัดไป แสดงการต่อกระบอกสูบของเครืองอัดแบบ 3 ขั*นอัตราส่วนความดันตําในกระบอก สูบความดันตําหมายถึงการขยายตัวของปริมาตรของอากาศทีหัวสูบจะลดลงซึงจะทำให้ปริมาตรแทนทีจริง ในกระบอกสูบเพิมขึ*น ซึงสูบนี*จะทำหน้าทีควบคุมมวลของอากาศทีไหลผ่านเครืองอัดอากาศทั*งหมด เพราะกระบอกสูบนี*ทำหน้าทีดูดอากาศเข้ามาในเครืองเพียงสูบเดียว ดังนั*น เครืองอัดอากาศแบบหลายขั*น จึงสามารถส่งมวลผ่านเครืองอัดได้มากกว่าเครืองแบบขั*นเดียว เพือทีจะลดอุณหภูมิของอากาศทีออกจาก เครืองอัดจึงได้มีการติดตั*งอุปกรณ์หล่อเย็นระหว่างสูบเอาไว้ การลดอุณหภูมิ หมายถึง การลดพลังงาน ภายในของอากาศทีออกจากเครืองอัดด้วย และเมือพลังนี*ได้มาจากพลังงานทีใช้ในการอัดของเครืองอัด อากาศ ผลอันนี*จึงเป็นการช่วยลดงานทีต้องใช้ในการอัดลง เครืองอัดแบบหลายขั*น สามารถปรับความ สมดุลได้ง่าย และมีแรงบิดตํากว่าแบบขั*นเดียว จะสังเกตเห็นว่า ขนาดของกระบอกสูบจะลดลงเมือความ ดันเพิมขึ*น ทั*งนี*เนืองจากว่าเมือความดันเพิมขึ*นปริมาตรของอากาศทีกำหนดมวลมาให้จะลดลงเมือ กระบอกสูบต่อเนืองกัน มวลของอากาศก็จะไหลต่อเนืองกันไปตลอดเครืองอัด และเมือลูกสูบชุดต่อไปมี ปริมาตรอากาศเข้าน้อยเนืองจากความดันสูงขึ*น จึงทำให้ขนาดของกระบอกสูบเลก็ลงตามลำดับ 5.3.3) เครืองอัดแบบโรตารี เครืองอัดอากาศแบบนี*มีพ*ืนฐานอยู่ 3 แบบด้วยกัน คือ แบบเหวียงออกตามแนวรัศมี รอบตัว หรือแบบใช้แรงเหวียง (Radial or Centifugal Compressor) แบบไหลตามแนวแกน และแบบขับ ออกทางบวกหรือพัดลม ลักษณะโดยทัวๆ ไปของเครืองอัดอากาศ แบบเหวียงตามแนวรัศมี ซึง ประกอบด้วยใบพัดทีหมุนได้รอบตัว โดยปกติจะมีความเร็วรอบสูง ( 20,000 – 30,000 ริบต่อนาที ) อยู่ ภายใน เครืองใบพัดประกอบด้วยจานติดใบเมือใบหมุนอากาศซึงอยู่ในร่องใบก็จะหมุนไปด้วย แรงเหวียง จะผลักให้อากาศออกทางปลายใบพัด ซึงเรียกว่าตาของใบพัด ( Eye of Impeller ) อากาศจะไหลจากปลาย ด้านนอกของใบพัดผ่านแหวนจ่ายลมซึงทำให้กระบอกเข้าไปในก้นหอยโข่ง ( Evolute ) ได้ดียิงขึ*น ทีแหวน นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 23. 20 จ่ายลม อากาศจะลดอัตราความเร็วลง ซึงมีผลให้ความดันของอากาศก่อตัวสูงขึ*น ในทางทฤษฎีถือว่าไม่มี พลังงานสูญเสีย ก้นหอยเป็นส่วนทีทำหน้าทีรวมอากาศของเครืองอัดซึงพ*ืนทีหน้าตัดจะโตขึ*นเรือยๆ โดยรอบเครืองอัด เหตุผลสำหรับอันนี*ก็คืออากาศทีรวมตัวกันอยู่รอบๆ ก้นหอยจะมากข*ึนเรือยๆ ซึงต้องใช้พ*ืนทีหน้าตัดโตขึ*น ต่อไปก็จะมีท่อต่อลมอัดออกไปใช้งาน เครืองอัดอากาศแบบนี*เป็นแบบการไหลต่อเนือง ใช้ในการอัด อากาศเป็นจำนวนมากๆ ผา่นช่วงความดันปานกลางโดยทัวๆ ไป มีอัตราส่วนการอัดประมาณ 4 ถึง 6 : 1 เครืองอัดอากาศแบบการไหลตามแนวแกน เครืองอัดอากาศแบบนี*มีใบพัดแบบอยู่กับทีและแบบเคลือนที หลายๆ ชุดต่อเนืองกัน ใบชุดอยู่กับทีจะติดอยู่กับเครือง ส่วนใบพัดชุดเคลือนทีติดอยู่ทีแกนมีเพลา หมุนรอบตัว ใบชุดเคลือนทีนั*นมีลักษณะใบพัดลมหลายๆ อันประกอบเข้าเป็นชุดเดียวกัน ใบพัดเหล่านี*จะ ช่วยส่งอากาศใหผ้่านเข้าเครืองอัดอากาศ มุมของใบพัดทุก ชุดจะจัดไว้พอดีก็ทำให้อากาศผ่านจากใบพัดชุด หนึงได้อย่างราบเรียบ อากาศจะวิงผ่านตามแนวแกนทีมีความเร็วสูงประมาณ 10,000 – 30,000 รอบต่อนาที ใช้อัดอากาศในปริมาณมากๆ มีอัตราส่วนความดันถึง 10 : 1 หรือมากกว่า ซึงเครืองอัดอากาศแบบนี*จะ นำไปใช้กับเครืองกังหันก๊าซของเครืองบินและเครืองกำเนิดไฟฟ้า 5.4) กังหันก๊าซ กังหันก๊าซจะทำงานได้ต้องมีส่วนประกอบ 3 อย่างดังทีกล่าวมาแล้วข้างต้น คือ เครืองอัดอากาศ ห้องเผาไหม้ และตัวกังหัน โดยมีการทำงานดังนี* คือ อากาศจะถูกอัดด้วยเครืองอัดอากาศให้มีความดันสูง 8 – 10 เท่า โดยใช้เครืองอัดอากาศแบบโรตารี แบบอากาศไหลตามแนวแกนหรือไหลตามแนวรัศมี อากาศความดันสูงจะส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้โดยผ่านท่อลม ในห้องเผาไหม้จะมีหัวฉีดเชื*อเพลิงเข้าไป อย่างต่อเนือง เมืออากาศผ่านเข้าไปยังห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดอุณหภูมิสูงขึ*นและเกิดการขยายตัวทำให้มี ความดันเพิมขึ*นไปขับดันกังหันให้หมุนโดยเพลาของกังหันสามารถต่อไปใช้งานได้ เช่น เครืองกำเนิด ไฟฟ้า หรือเรือเดินสมุทร ส่วนเครืองบินไม่ส่งกำลังออกทีเพลา แต่จะมีกังหันก๊าซและเครืองอัดอากาศ ขนาดใหญ่ทีให้กำลังและความเร็วสูงมาก ในการผลักดันเครืองบินให้เคลือนทีภายในอากาศได้ การเผา ไหม้อย่างต่อเนืองจะทำให้อุณหภูมิของห้องเผาไหม้และเครืองอัดอากาศมีความร้อนสูง จึงต้องมีการระบาย ความร้อนให้กับเครืองข้อดีของเครืองกังหันก๊าซคือ มีการสันสะเทือนน้อย ออกแบบง่าย มีประสิทธิภาพ การทำงานสูง กังหันก๊าซเป็นเครืองทีไม่สามารถเริมเดินเครืองด้วยตัวเองได้เหมือนเครืองยนต์ลูกสูบทัวๆ ไป จึงต้องมีเครืองช่วยหมุนจนได้ความเร็วรอบระดับหนึง จึงจะทำการจุดเชื*อเพลิงในห้องเผาไหม้ เครืองช่วยหมุนนี*อาจใช้มอเตอร์ไฟฟ้า หรือกังหันก๊าซเลก็ๆ โดยออกแบบให้มีถังเชื*อเพลิงและชุดอัดอากาศ สำหรับกังหันก๊าซตัวเล็กนี*จะใช้เฟืองหรือชุดเกียร์ขับทีเพลากังหันเมือเดินเครืองได้แล้ว ชุดเกียร์จะถอย ออกมา นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 24. 21 5.5) การเพิมประสิทธิภาพของกังหันก๊าซ ก๊าซทีออกจากกังหันจะยังคงมีอุณหภูมิและพลังงานหลงเหลืออยู่อีกมากจึงนำก๊าซร้อนนี*ไปเข้า เครืองถ่ายเทความร้อน ( Heat Exchange ) ก่อนทีจะส่งเข้าไปยังเครืองอัดอากาศ ทำให้อากาศทีถูกอัดมี อุณหภูมิสูงขึ*นและส่งต่อไปยังห้องเผาไหม้ ทำให้ได้พลังงานเพิมขึ*น 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ อากาศถูกดูดเข้า เครืองอัดอากาศ เพิมความดันให้สูงขึ*น 8 – 10 เท่า ส่งเข้าไปยังห้องเผาไหม้ทีมีก๊าซหรือน*ำมันดีเซลเป็น เชื*อเพลิง อากาศจะขยายตัวมีความดันสูงขึ*น ไปขับเคลือนใบพัดของกังหันก๊าซให้หมุน ซึงแกนของกังหัน ต่อเชือมเข้ากับแกนของเครืองกำเนิดไฟฟ้าผลิตแรงดันไฟฟ้าจ่ายออกไป ส่วนไอเสียทีขับดันกังหันแล้วจะ ยังคงมีอุณหภูมิสูงอยู่ จึงนำก๊าซร้อนนี*ไปถ่ายเทความร้อนเพิมให้กับอากาศทีถูกอัด ทำให้ประสิทธิภาพของ อากาศสูงขึ*นกว่าปกติเมือเข้าไปสนัดาปในห้องเผาไหม้ 5.6) กังหันก๊าซแบบวงจรปิด ( Close Cycle Gas Turbine ) กังหันก๊าซแบบวงจรปิดโดยมีโครงสร้างและหลักการทำงานเช่นเดียวกับกังหันก๊าซแบบเปิด โดยทัวไป ๆ ไป ส่วนทีแตกต่างคือ ใช้อากาศจำนวนเดียวกันหมุนเวียนใช้งานอยู่ในวงจรปิดตลอดเวลา เว้นแต่จะมีการซ่อมบำรุงหรือการรัวไหลจึงจะเปลียนอากาศ การทำงานก็คือ เมืออากาศถกูอัดด้วยเครืองอัดอากาศจะถูกส่งเข้าห้องให้ความร้อนสูง ( Heater ) เกิดการขยายตัวเพมิอุณหภูมิและความดันไปหมุนกังหัน หลังจากนั*นจะถูกระบายความร้อนด้วยน*ำทำให้ เย็นลง และไหลกลับไปยังเครืองอัดอากาศ อากาศในวงจรด้านความดันตําของวงจรจะถูกอัดความดันให้ สูงขึ*นเป็นวงจรเช่นนี*ตลอดไป กังหันก๊าซแบบวงจรปิดนี* มีข้อดีคือสามารถใช้กับเชื*อเพลิงทุกประเภท เช่น ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ การให้ความร้อนในห้องให้ความร้อน จะไม่ผสมโดยตรงกับอากาศทีทำงานในวงจร โดยใช้ วิธีการนี*ดัดแปลงไปใช้กับเครืองปฏิกรณ์นิวเคลียร์ได้ โดยก๊าซนี*ใช้หมุนเวียนในวงจรอาจเปลียนเป็นก๊าซ อืน เช่น ฮีเลียม แต่ข้อเสียของวงจรแบบนี*คือ ต้องใช้ปริมาณน*ำหล่อเย็นมาระบายความร้อนเป็นจำนวน มาก 5.7) ห้องเผาไหม้ ( Combustion Chamber ) ห้องเผาไหม้เป็นโลหะรูปทรงกระบอกมีสองชั*นประกอบกันอยู่ ชั*นนอกเป็นช่องทางเข้าของ อากาศความดันสูงทีถูกอัดเข้ามาจากเครืองอัดอากาศ ชั*นในเป็นท่อโลหะซ้อนกันอยู่โดยเจาะรูเลก็ๆ ไว้เป็น ระยะๆ เพือให้อากาศความดันสูงเข้าไปผสมกับเชื*อเพลิงทำให้เกดการลุกไหม้ขยายตัวมีอุณหภูมิและความ ดันสูงส่งเข้าไปขับเคลือนกังหัน ท่อภายในห้องเผาไหม้ทีถูกถอดออกมาตรวจสอบและบำรุงรักษาตาม นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
  • 25. 22 ระยะเวลาทีกำหนด โดยจะทำความสะอาดรูทีท่อซึงอาจมีสิงสกปรก เช่น เศษเขม่า หรือผงถ่านสะสม ตกค้างอยู่ เป็นการเพมิประสิทธิภาพในการเผาไหม้อีกวิธีหนึง ห้องเผาไหม้นี*ส่วนมากจะติดตั*งอยู่ตรงกลางระหว่างเครืองอัดอากาศและกังหันตรงส่วนหัวของห้องเผาไหม้ จะมีหัวฉีดเชื*อเพลิง ( ก๊าซหรือน*ำมันดีเซล ) ซึงห้องเผาไหม้จะมีหัวฉีดเชื*อเพลิงตั*งแต่ 6 – 18 หัว และจะมี หัวฉีดเชื*อเพลิงให้ลุกไหม้โดยควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เพือให้การเผาไหม้สมบรูณ์ เป็นไปอย่าง ต่อเนืองและมีประสิทธิภาพ 5.8) กังหันก๊าซแบบ 2 ตอน ( Two Stage Gas Turbine ) โดยทัวๆ ไป กังหันก๊าซจะมีเพียงหนึงชุดประกอบอยู่ร่วมกับเครืองอัดอากาศและห้องเผาไหม้ เรียกว่า เครืองกังหันก๊าซแบบตอนเดียว แต่เพือเป็นการเพมิประสิทธิภาพและกำลังงานในระบบ ก็จะเพิม จำนวนกังหันก๊าซและเครืองอัดอากาศขึ*นอีกอย่างละชุด รวมเป็น 2 ชุด จะสามารถเพิมประสิทธิภาพใน การทำงานขึ*นอีกประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ ซึงจะเรียกว่าเครืองกังหันก๊าซแบบสอง 2 ตอน หรือถ้า ต้องการประสิทธิภาพการทำงานให้สูงขึ*นก็เพมิจำนวนกังหันก๊าซและเครืองอัดอากาศขึ*นไปได้อีก การทำงาน การทำงานของกังหันก๊าซแบบ 2 ตอน คือ เริมจากเครืองอัดอากาศความดันตําดูดอากาศจาก ภายนอกเข้ามาทำการอัดอากาศจากปกติให้มีความดันมากข*ึน แต่ยังคงเป็นความดันตําอยู่ อากาศอัดจำนวน นี*จะมีความร้อนอยู่ในตัวจึงต้องผ่านเครืองระบายความร้อนให้อุณหภูมิลดลง โดยยังมีความดันเท่าเดิม ส่งผ่านไปยังเครืองอัดอากาศทีมีความดันสูงอัดอากาศให้สูงขึ*นมากกว่าอากาศปกติ 8 – 10 เท่า และผ่านเข้า ห้องถ่ายเท่ความร้อนเข้าไปยังห้องเผาไหม้เพือช่วยให้การลุกไหม้ของเชื*อเพลิงเกิดการขยายตัว มีความร้อน และอุณหภูมิสูงถึงประมาณ 900 C ส่งเข้าไปขับดันกังหันความดันสูงชุดแรก ทำให้กังหันหมุน อุณหภูมิของก๊าซร้อนนี*จะผ่านออกมาจากกังหันก๊าซความดันสูงและผ่านเข้าห้องเผาไหม้ชุดที 2 เกิดความ ร้อนอุณหภูมิสูงขยายตัวส่งออกไปขับดันกังหันก๊าซความดันตําอีกเครืองหนึงทีอยู่บนเพลาเดียวกันกับกังหัน ชุดแรกขับเพลาให้มีกำลังหมุนเร็วข*ึน ซึงจะมีความเร็วรอบประมาณ 3000 รอบต่อนาที โดยผ่านชุดเกียร์ ซึงควบคุมความเร็วรอบให้คงทีและส่งกำลังไปหมุนเครืองกำเนิดไฟฟ้าทีใช้ความเร็วรอบคงที คือ 3000 รอบต่อนาที เพือผลิตความถีให้ได้ 50 เฮิรตซ์ ส่งกำลังไฟฟ้าออกไปโดยมีพิกัดของเครืองกำเนิดไฟฟ้า เป็นกิโลโวลต์แอมแปร์ นายณัฐวุฒิ ค่าไทยสง คอ.บ.3.11 ก วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก