SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในจังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนมและจังหวัด
มุกดาหาร ณ ห้องบุษบา ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพฯ วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม 2558 เวลา 9.15 –
12.00 น.
สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทาการศึกษา การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษใน
จังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนมและจังหวัดมุกดาหาร เพื่อศึกษาข้อมูลใน 3 จังหวัดทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ที่มีสะพานเชื่อมไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ติดพื้นที่ชายแดน โดยการศึกษาจะเน้น
การลงทุน และกิจการเป้าหมายที่สาคัญในพื้นที่แต่ละจังหวัด Model ที่เหมาะสมสาหรับแต่ละจังหวัด โดย
การศึกษาจะคู่ขนานกับข้อมูล คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) โดยอ้างอิงข้อมูลจาก
กนพ. และรายละเอียดจากการศึกษาเพิ่มเติม การศึกษาจะผสมผสานระหว่างพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งในระยะที่
1 และ 2 เป้าหมายสร้างเมืองเมืองชายแดน ให้มีความเชื่อมโยงภูมิภาค ส่งเสริมกลุ่มคลัสเตอร์ เน้นกิจกรรมเพิ่ม
มูลค่า ไม่เป็นเมืองผ่านแต่เป็นประตูเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต สนับสนุน SMEs ไทย และแก้ไขปัญหา
แรงงานต่างด้าว
พื้นที่แม่สอดและมุกดาหารเป็นพื้นที่ต้นแบบในการดาเนินลักษณะเศรษฐกิจพิเศษในช่วงแรก ก่อนมีการกาหนด
พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษในปัจจุบัน แนวทางการกาหนดพื้นที่ในจังหวัดมุกดาหารจะจัดตั้งพื้นที่ติดกับสะหวันนะ
เขต เนื่องจากเศรษฐกิจมุกดาหารต้องพึ่งพาพื้นที่สะหวันนะเขตซึ่งมีประชากรอยู่อาศัยประมาณ 1 ล้านคน จังหวัด
นครพนมจังหวัดหนองคายจะใช้พื้นที่ตามตะเข็บชายแดน และมีการเสนอ กาหนดค่าเช่าเป็น บาท / ไร่ ในพื้นที่
เขตเศรษฐกิจพิเศษจะมีการปรับทุก 5 ปี ปีละ 15% ในระยะเวลาเช่า 50 ปี แต่จะมีการพิจารณาอัตราค่าเช่าใหม่
อีกครั้ง
การกาหนดสิทธิประโยชน์สาหรับนักลงทุน ต้องเป็นกิจการเป้าหมายที่กาหนดไว้ถึงจะได้สิทธิประโยชน์มากที่สุด
ซึ่งสิทธิประโยชน์จะประกอบไปด้วย
- ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
- ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้จากการลงทุน
- ได้รับอนุญาตหักค่าใช้จ่ายเช่น ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า ค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่าย เป็นเวลา 10 ปี ตั้งแต่
เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการ
- หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวก
- ยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่องจักร
- ยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบและวัสดุที่จาเป็น
- อนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ
- สิทธิและประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (รายละเอียดยังไม่ปรากฎชัดเจน)
รูปแบบเขตเศรษฐกิจพิเศษที่เหมาะสมกับประเทศไทย มีทั้งในภาคของการผลิต การค้าบริการ อุตสาหกรรมที่ใช้
แรงงานเข้มข้น อุตสาหกรรมที่พึ่งพาวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน ธุรกิจสนับสนุนการท่องเที่ยว ธุรกิจบริการที่
รองรับการขยายตัวของชุมชน แต่ปัญหาของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้นจะมีปัญหากับภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากขาดแคลนแรงงาน และกิจการที่ได้กาหนดจากการประชุม กนพ. จะประกอบด้วย
13 กิจการ ที่มุ่งเน้นทางด้านธุรกิจด้านการผลิต แต่ยังคงขาดในส่วนของการค้า และศูนย์การค้า แต่ในพื้นที่ยังคง
ประสบปัญหาความไม่ชัดเจนของกิจการที่ควรได้รับการสนับสนุน และเอกชนยังไม่สนใจในการลงทุน แต่จะเน้น
การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านมากกว่า เนื่องจากค่าแรงถูก และ ได้รับสิทธิ์ GSP จุดการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบและ
สินค้ายังอยู่ห่างไกลยากต่อการขนส่งสินค้าไปตลาดหลัก เช่น US EU JP การปรับตัวของราคาที่ดินอย่างต่อเนื่อง
ทาให้เกิดความคุ้มค่าในการลงทุนยากขึ้น
เปรียบเทียบตัวอย่างรูปแบบการศึกษาการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในต่างประเทศ
 การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษส่วนใหญ่จะจัดตั้งอยู่ในประเทศที่มีภาวะทางเศรษฐกิจที่ต่ากว่า
สหรัฐอเมริกา นักลงทุนมีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในฝั่งเม็กซิโก เยอรมันมีการตั้งในโปแลนด์ สิงคโปร์
ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย เพื่อลดปัญหาแรงงานไปกลับ
 การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษใน สปป.ลาว ซึ่งมีแนวโน้มการขยายตัวมากขึ้น โดยมีระยะการจัดตั้ง ตั้งแต่
ชายแดนจีน – สะหวันนะเขต ซึ่งสะหวันนะเขตจะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีความเจริญก้าวหน้ามากที่สุด
ใน สปป.ลาว
รูปแบบการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดนฝั่งไทย ในมุมมองความแตกต่างระหว่างเขตเศรษฐกิจพิเศษ
กับนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งแต่เดิมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยไม่มีนิคมอุตสาหกรรม การผลักดัน จะแบ่งได้เป็น
2 แบบ คือ การผลักดันและสนับสนุนระดับพิเศษในรูปแบบต่างๆ จากภาครัฐ และ ธุรกิจใหม่ที่รัฐต้องการผลักดัน
เป็นธุรกิจยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งในส่วนของธุรกิจที่เป็นยุทธศาสตร์ชาติ เป็นลักษณะ New Growth Model หรือ
อุตสาหกรรมที่เน้นนวัตกรรม โดยไม่มุ่งเน้นอุตสาหกรรมแรงงานเข้มข้น ซึ่งหากมองแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย จะเริ่มจาก Eastern Seaboard ที่อาจยกว่าเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษไทยในยุคแรก และก้าวเข้าสู่
ประเทศกาลังพัฒนาซึ่งไทยอยู่ในระดับนี้ และปัจจุบันเป็นประเทศอยู่ในข่ายกับดักรายได้ปาน และสุดท้ายจะเป็น
ระดับของประเทศที่พัฒนาแล้วจะอยู่ในระดับ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เช่น US JP เป็นต้น
กรอบการกาหนดรูปแบบกิจการเป้าหมายของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ควรมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จาก
พื้นที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านที่สามารถครอบคลุมเชื่อมโยงช่องทาง จีนตอนใต้ เวียดนาม สปป.ลาว กัมพูชา ทาให้
สินค้ามีต้นทุนต่าได้จาก ต้นทุน Logistics ที่ต่าลง โดยการดาเนินงานในพื้นที่ควรประกอบด้วยการทางานร่วม
ระหว่าง ต่างประเทศ ส่วนกลางของไทย และระดับจังหวัด
จากข้อมูลการศึกษา ได้เสนอรูปแบบกิจการ ใน 3 ด้าน
- การค้า เป็นศูนย์การค้าส่งอาเซียน พัฒนาประเทศให้พ้นความเป็น OEM ที่มีสัดส่วนรายได้ต่าสุด แต่ต้อง
ลงทุนมากที่สุด ใช้แนวทางจากยุทธศาสตร์ Trading Nation ในการเป็นชาติการค้า ศูนย์กลางภูมิภาค
อาเซียนและระดับโลก ดาเนินกลยุทธ์ตามความเชี่ยวชาญและความสามารถของประเทศ เป็นผู้จัดหา
แหล่งสินค้า บริการ ความชานาญด้านการตลาด การศึกษารูปแบบตลาดจาก Model ตลาดอี้อู ที่เป็น
ศูนย์กลางการค้าส่ง และชุมทางการขนส่งทางบก สนับสนุนสินค้า SMEs ที่ไม่ใช่ Brand Name โดยปัจจัย
ความสาเร็จมาจากการสนับสนุนโดย ตัวพ่อค้าเมืองอี้อู และ รัฐบาลท้องถิ่น แนวทางการดาเนินการของ
ไทย จะเป็นลักษณะสัมปทาน Sourcing สินค้า เน้นในลักษณะ Cluster โดยให้มีความหลากหลายในตัว
สินค้ามากกว่าจะเป็นเฉพาะสินค้าไทย โดยจะเป็นสินค้าไทย 50% สินค้าในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน 50%
แสดงผ่านศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ ซึ่งจะสามารถพัฒนาให้อยู่ระดับใกล้เคียงกับอี้อู และพัฒนาตลาดอิน
โดจีนของจังหวัดมุกดาหาร ให้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น
- การท่องเที่ยว เป็นศูนย์การเรียนรู้และวัฒนธรรมอาเซียน แนวคิดจาก จังหวัดนครพนม มาจากความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมที่ไม่ได้มุ่งเน้นทางด้านสถานที่แต่จะมุ่งเน้นทางด้านวัฒนธรรม วิถีการดาเนิน
ชีวิตของชุมชนเพื่อแสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่น โดยการศึกษาต้นแบบ อุตสาหกรรมเชิงวัฒนธรรม
นาแนวคิดเชิงวัฒนธรรมถ่ายทอดผ่านผลิตภัณฑ์และบริการด้านวัฒนธรรม เช่น Korea Model ที่พัฒนา
จากวัฒนธรรม สู่ อุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาให้เกิดส่วนแบ่งทางด้านการตลาดจกาการพัฒนาสินค้าทาง
วัฒนธรรม
- การผลิต เป็นอุทยานเทคโนโลยีชีวภาพ 3 จังหวัด ส่วนมากเป็นพื้นที่เกษตร พัฒนาสินค้าเกษตร และต่อ
ยอดสู่การพัฒนาสู่เทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อนาสินค้าเกษตรประยุกต์ให้เกิดประโยชน์กับมนุษย์ โดยต้อง
อาศัยการเพิ่มมูลค่า และนวัตกรรม ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในระดับของการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทาง
การเกษตร เป็นระดับก่อนที่พัฒนาสู่ระดับนวัตกรรมที่จะเป็นเทคโนโลยีชีวภาพ โดยแนวทางการผลักดัน
จากโครงการศึกษาฯ ที่นาเสนอ ในการดึงดูดนักลงทุน ในส่วนของสิทธิประโยชน์ ชักจูงนักลงทุนรายใหญ่
ในประเทศเป้าหมาย เชิ่อมโยงนักลงทุนกับผู้ประกอบการชาวไทยในห่วงโซ่การผลิต แก้ไขกฎระเบียบ
ภาครัฐ ทั้งนี้ต้องคานึงถึงระยะเวลาคืนทุนของทางภาคธุรกิจที่ใช้เวลายาวนาน
ข้อเสนอจากที่ประชุม
ผู้แทนสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย
- การดูรูปแบบการลงทุนจากบทเรียนของ Eastern Seaboard ซึ่ง ทวายอาจเป็น Eastern Seaboard
แห่งใหม่ในอนาคต
- อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น ปัจจุบันเป็นไปได้ยากเนื่องจากการทางานในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป การ
เคลื่อนย้ายแรงงานความสะดวกในการเดินทางเข้ามาทางานในเมืองใหญ่ของประเทศไทยง่ายขึ้น จูงใจ
แรงงานให้เข้ามาทางานที่ได้ค่าแรงสูงกว่าการทางานภาคอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น
- การผลักดันให้เกิด Industrial Linkage เป็นการแบ่งปันมูลค่าของสินค้าผ่านการผลิตชิ้นส่วนสินค้า
ระหว่างผู้ผลิตใน 2 ประเทศ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนจากการพึ่งพากันในการผลิต มากกว่าการมุ่งใช้แรงงาน
ในการผลิตเพื่อให้ได้ค่าจ้างแรงงานให้กับประเทศเพื่อนบ้านเท่านั้น
- การดาเนินการร่วมของการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) กับเขตเศรษฐกิจพิเศษ จัด Package เพื่อการจูงใจ
ในเรื่องของการอานวยความสะดวกให้กับผู้ลงทุน การบริการแบบเบ็ดเสร็จที่จะช่วยลดขั้นตอนและความ
ยุ่งยากกับหน่วยงานหลายหน่วยงาน
- การมุ่งเน้นนาเสนออัตลักษณ์ด้านวัฒนธรรมที่ในกลุ่มประเทศมีความใกล้เคียงกัน ซึ่งทาให้เกิดความ
เชื่อมโยงในวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน การส่งต่อด้านการท่องเที่ยวระหว่างกันในกลุ่มประเทศ เช่น กา
รทอ่งเที่ยวในนครวัด ประเทศกัมพูชา ควรมีการจัดการท่องเที่ยวมาที่พระปรางค์สามยอด จ.ลพบุรี ของ
ไทยด้วย
- ให้ความรู้ ข้อมูลที่ถูกต้องในเรื่องประวัติศาสตร์ สถานที่ กับบุคลากรที่ดูแลเกี่ยวกับเรื่องการถ่ายทอด
ข้อมูลด้านวัฒนธรรม
- การดึงดูดนักวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และนวัตกรรม โดยให้ Incentive ในการเข้ามาเป็นนักวิจัยพัฒนา
เช่น Free Visa กับ นักวิจัยชาวญี่ปุ่น ที่เกษียณอายุ
- การนาสินค้าเศรษฐกิจ ข้าว มันสาปะหลัง ยางพารา มาใช้ในการผลิต Bio Plastic แทนเพื่อให้เกิดการ
สร้างเทคโนโลยีชีวภาพ ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับตัวสินค้ามากขึ้นจากราคาซื้อชายในลักษณะของวัตถุดิบ
ผู้แทน กนอ.
- กรมโรงงานจะดูแลโรงงานนอกนิคม สาหรับ กนอ. จะมี พรบ. การนิคม สามารถประกาศเขตพื้นที่
อุตสาหกรรมได้และจะอยู่ในอานาจ กนอ. ทาให้ การนิคมยังไม่มีอานาจในการควบคุมในพื้นที่ทั้งหมด
นอกจากพื้นที่ที่ กนอ.ประกาศเขตนิคม ซึ่ง กนอ. จะมีบทบาทเป็นทั้ง Regulator และ Developer
- เขตเศรษฐกิจพิเศษของไทยยังเป็นลักษณะแบบเชิงเดี่ยว ซึ่งจะเป็นภาคอุตสาหกรรมอย่างเดียว ไม่รวมใน
เรื่องพาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัย ย่านการค้า แต่ใน สปป.ลาวใช้ Model อยู่ในปัจจุบัน จะแตกต่างจากไทย
ซึ่งยังคงไม่มีการตั้ง ที่อยู่อาศัย ย่านการค้า เนื่องจากยังขัดกับพฤติกรรมของคนไทยที่กังวลภาคอุตสากรรม
ที่จะมีมลภาวะที่กระทบต่อการอยู่อาศัย เช่น มาบตาพุด
- กนอ. จะมีการพัฒนานิคมฯ 3 แห่ง ในปี 2559 คือ แม่สอด สระแก้ว สงขลา ตามลาดับ โดยได้รับ
งบประมาณสนับสนุน 75 ล้านบาทในระยะแรก
- ความเหมาะสมนิคมฯ ไปอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไทยเป็นประเทศที่ผลิตเพื่อการส่งออกจากภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือส่งออกไปยัง ท่าเรือ LCB ปัญหาคือการขนส่งและโลจิสติกส์วัตถุดิบเข้าไปไมถึงพื้นที่
ไม่คุ้มทุนจึงยังไม่เกิดในรูปธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแต่จะมีความเป็นไปได้ทางภาคตะวันออกแทน
ผู้แทนสานักงานสถิติแห่งชาติ
- ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร มูลค่าการค้าจะมีมากในจังหวัด
สกลนคร ซึ่งมาจากยอดขายวัสดุก่อสร้างส่งออกไปยัง สปป.ลาว และนครพนมเป็นจุดเชื่อมทางการค้าที่ดี
ที่สุดในเส้นทาง R8 และ R12 เชื่อมเวียดนาม และมณฑลกวางซี ของจีน แต่ทั้งสองเส้นทางจะไม่อยู่ใน
CBTA ยังใช้ขนส่งไม่ได้ ในพื้นที่วัยแรงงาลดลง และเป็นแรงงานภาคการเกษตรเป็นส่วนมาก กิจการ
ทางด้านการแพทย์จะมีประโยชน์ในพื้นที่เนื่องจากคนมีฐานะจะมารับการรักษาในประเทศไทยจึงเป็น
โอกาสในการขยายกิจการทางด้านนี้ รวมถึงการผลักดันให้คนไทยไปศึกษาต่อในประเทศเพื่อนบ้าน
เหมือนกับที่ประเทศเพื่อนบ้านส่งนักศึกษาเข้ามาศึกษาต่อในประเทศไทย
- การบูรณาการระหว่างเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ร่วมกับ นักวิเคราะห์ นักวิชาการ ของสภาพัฒน์ เพื่อลดการขาด
นักวิเคราะห์สาหรับการประชุมแผนปฎิบัติการในระดับพื้นที่
ผู้แทน สศช.
- กิจการเป้าหมายะจะมีส่วนช่วยในการดึงดูดนักลงทุน ใช้แรงงาน และผลผลิตจากประเทศเพื่อนบ้าน และ
ต้องไม่ใช่อุตสาหกรรมหนักและไม่กระทบกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งสาหรับกิจการที่จะคัดเลือกขึ้นมาเป็นกิจการ
เป้าหมายทาง BOI จะมีการพิจารณาอีกครั้งนอกจากการคัดเลือกจาก กนพ.ซึ่งอาจจะมีการปรับเพิ่ม
กิจการเป้าหมายในอนาคต
- เขตเศรษฐกิจพิเศษจะมีส่วนช่วยในการจัดระเบียบพื้นที่ชายแดน เนื่องจากความอ่อนไหวทางด้าน
สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง จะมีการประเมินข้อดี ข้อเสีย สาหรับกิจการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ชาติ
- รูปแบบการบริหารจัดการ กนพ. มีคณะอนุกรรมการ 6 ชุด การขับเคลือนในระดับพื้นที่ จะมีผู้ว่าราชการ
จังหวัด อยู่ใน 10 พื้นที่ เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว มีศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการลงทุนและ
แรงงาน เชื่อมโยงศูนย์ เข้าส่วนกลาง กับ 38 หน่วยงาน โดยจะมีการเริ่มต้นที่ ตาก และ สระแก้ว ในระยะ
เริ่มต้น
- การออกหนังสือคู่มือนักลงทุนส่วนกลางและระดับพื้นที่
ตัวแทน สนง.ผังเมือง
- กฎกระทรวงของผังเมืองรวม หากพื้นที่ไหนยังไม่มีผังเมืองรวม สามารถใช้กฎกระทรวงมหาดไทย กับกรม
โยธาธิการ ในพื้นที่สีเขียวยังคงอยู่ระหว่างขั้นตอนประกาศใช้ด้านกฎหมาย แต่ระยะแรกสามารถใช้
กฎหมายเทศบัญญัติควบคุมได้ แต่ต้องมี พรบ.ควบคุมอาคารก่อน
- สาหรับพื้นที่ในจังหวัดหนองคายจะมีการ Revise ผังเมืองใหม่ปี 2559 เนื่องจากพื้นที่ที่สามารถจัดสรร
เป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษจะมีพื้นที่น้อยเกินไปสาหรับการพัฒนาต่อ
- การวางผังควรคานึงถึงองค์ประกอบที่อยู่ในผังที่จะเอื้อประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ โดยอาจอาศัยมุมมองทาง
ภาคธุรกิจประกอบการวางผังเพื่อให้เกิดประโยชน์กับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่
สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย

Contenu connexe

Plus de Nopporn Thepsithar

2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AECNopporn Thepsithar
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชนNopporn Thepsithar
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556Nopporn Thepsithar
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsNopporn Thepsithar
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Nopporn Thepsithar
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะNopporn Thepsithar
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน Nopporn Thepsithar
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06Nopporn Thepsithar
 
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingNopporn Thepsithar
 
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingNopporn Thepsithar
 
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2Nopporn Thepsithar
 

Plus de Nopporn Thepsithar (20)

2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center
 
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
 
LIFFA Presentation
LIFFA Presentation LIFFA Presentation
LIFFA Presentation
 
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
ร่างแผนพัฒนาระบบอำนวยความสะดวกทางการค้าและโซ่อุปทาน 2556 2560
 
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity BuildingPresentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
Presentation 2013-01-20 Supply Chain Capacity Building
 
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
 
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
Presentation 2012 12-02 ประสบการณ์การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านโลจิสติกส์ v2
 

2015-07-28 สรุปการเผยแพร่ผลการวิจัย การจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในจังหวัดหนองคาย

  • 1. การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในจังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนมและจังหวัด มุกดาหาร ณ ห้องบุษบา ชั้น 1 โรงแรมแมนดาริน กรุงเทพฯ วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม 2558 เวลา 9.15 – 12.00 น. สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทาการศึกษา การจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษใน จังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนมและจังหวัดมุกดาหาร เพื่อศึกษาข้อมูลใน 3 จังหวัดทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ที่มีสะพานเชื่อมไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ติดพื้นที่ชายแดน โดยการศึกษาจะเน้น การลงทุน และกิจการเป้าหมายที่สาคัญในพื้นที่แต่ละจังหวัด Model ที่เหมาะสมสาหรับแต่ละจังหวัด โดย การศึกษาจะคู่ขนานกับข้อมูล คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) โดยอ้างอิงข้อมูลจาก กนพ. และรายละเอียดจากการศึกษาเพิ่มเติม การศึกษาจะผสมผสานระหว่างพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งในระยะที่ 1 และ 2 เป้าหมายสร้างเมืองเมืองชายแดน ให้มีความเชื่อมโยงภูมิภาค ส่งเสริมกลุ่มคลัสเตอร์ เน้นกิจกรรมเพิ่ม มูลค่า ไม่เป็นเมืองผ่านแต่เป็นประตูเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต สนับสนุน SMEs ไทย และแก้ไขปัญหา แรงงานต่างด้าว พื้นที่แม่สอดและมุกดาหารเป็นพื้นที่ต้นแบบในการดาเนินลักษณะเศรษฐกิจพิเศษในช่วงแรก ก่อนมีการกาหนด พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษในปัจจุบัน แนวทางการกาหนดพื้นที่ในจังหวัดมุกดาหารจะจัดตั้งพื้นที่ติดกับสะหวันนะ เขต เนื่องจากเศรษฐกิจมุกดาหารต้องพึ่งพาพื้นที่สะหวันนะเขตซึ่งมีประชากรอยู่อาศัยประมาณ 1 ล้านคน จังหวัด นครพนมจังหวัดหนองคายจะใช้พื้นที่ตามตะเข็บชายแดน และมีการเสนอ กาหนดค่าเช่าเป็น บาท / ไร่ ในพื้นที่ เขตเศรษฐกิจพิเศษจะมีการปรับทุก 5 ปี ปีละ 15% ในระยะเวลาเช่า 50 ปี แต่จะมีการพิจารณาอัตราค่าเช่าใหม่ อีกครั้ง การกาหนดสิทธิประโยชน์สาหรับนักลงทุน ต้องเป็นกิจการเป้าหมายที่กาหนดไว้ถึงจะได้สิทธิประโยชน์มากที่สุด ซึ่งสิทธิประโยชน์จะประกอบไปด้วย - ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล - ลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับกาไรสุทธิที่ได้จากการลงทุน
  • 2. - ได้รับอนุญาตหักค่าใช้จ่ายเช่น ค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า ค่าประปา 2 เท่าของค่าใช้จ่าย เป็นเวลา 10 ปี ตั้งแต่ เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการ - หักเงินลงทุนในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอานวยความสะดวก - ยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่องจักร - ยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบและวัสดุที่จาเป็น - อนุญาตให้ใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ - สิทธิและประโยชน์ที่มิใช่ภาษีอากร (รายละเอียดยังไม่ปรากฎชัดเจน) รูปแบบเขตเศรษฐกิจพิเศษที่เหมาะสมกับประเทศไทย มีทั้งในภาคของการผลิต การค้าบริการ อุตสาหกรรมที่ใช้ แรงงานเข้มข้น อุตสาหกรรมที่พึ่งพาวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน ธุรกิจสนับสนุนการท่องเที่ยว ธุรกิจบริการที่ รองรับการขยายตัวของชุมชน แต่ปัญหาของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้นจะมีปัญหากับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากขาดแคลนแรงงาน และกิจการที่ได้กาหนดจากการประชุม กนพ. จะประกอบด้วย 13 กิจการ ที่มุ่งเน้นทางด้านธุรกิจด้านการผลิต แต่ยังคงขาดในส่วนของการค้า และศูนย์การค้า แต่ในพื้นที่ยังคง ประสบปัญหาความไม่ชัดเจนของกิจการที่ควรได้รับการสนับสนุน และเอกชนยังไม่สนใจในการลงทุน แต่จะเน้น การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านมากกว่า เนื่องจากค่าแรงถูก และ ได้รับสิทธิ์ GSP จุดการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบและ สินค้ายังอยู่ห่างไกลยากต่อการขนส่งสินค้าไปตลาดหลัก เช่น US EU JP การปรับตัวของราคาที่ดินอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดความคุ้มค่าในการลงทุนยากขึ้น เปรียบเทียบตัวอย่างรูปแบบการศึกษาการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในต่างประเทศ  การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษส่วนใหญ่จะจัดตั้งอยู่ในประเทศที่มีภาวะทางเศรษฐกิจที่ต่ากว่า สหรัฐอเมริกา นักลงทุนมีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในฝั่งเม็กซิโก เยอรมันมีการตั้งในโปแลนด์ สิงคโปร์ ตั้งอยู่ในประเทศมาเลเซีย เพื่อลดปัญหาแรงงานไปกลับ  การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษใน สปป.ลาว ซึ่งมีแนวโน้มการขยายตัวมากขึ้น โดยมีระยะการจัดตั้ง ตั้งแต่ ชายแดนจีน – สะหวันนะเขต ซึ่งสะหวันนะเขตจะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีความเจริญก้าวหน้ามากที่สุด ใน สปป.ลาว
  • 3. รูปแบบการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดนฝั่งไทย ในมุมมองความแตกต่างระหว่างเขตเศรษฐกิจพิเศษ กับนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งแต่เดิมภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยไม่มีนิคมอุตสาหกรรม การผลักดัน จะแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ การผลักดันและสนับสนุนระดับพิเศษในรูปแบบต่างๆ จากภาครัฐ และ ธุรกิจใหม่ที่รัฐต้องการผลักดัน เป็นธุรกิจยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งในส่วนของธุรกิจที่เป็นยุทธศาสตร์ชาติ เป็นลักษณะ New Growth Model หรือ อุตสาหกรรมที่เน้นนวัตกรรม โดยไม่มุ่งเน้นอุตสาหกรรมแรงงานเข้มข้น ซึ่งหากมองแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ประเทศไทย จะเริ่มจาก Eastern Seaboard ที่อาจยกว่าเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษไทยในยุคแรก และก้าวเข้าสู่ ประเทศกาลังพัฒนาซึ่งไทยอยู่ในระดับนี้ และปัจจุบันเป็นประเทศอยู่ในข่ายกับดักรายได้ปาน และสุดท้ายจะเป็น ระดับของประเทศที่พัฒนาแล้วจะอยู่ในระดับ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เช่น US JP เป็นต้น กรอบการกาหนดรูปแบบกิจการเป้าหมายของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ควรมุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จาก พื้นที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านที่สามารถครอบคลุมเชื่อมโยงช่องทาง จีนตอนใต้ เวียดนาม สปป.ลาว กัมพูชา ทาให้ สินค้ามีต้นทุนต่าได้จาก ต้นทุน Logistics ที่ต่าลง โดยการดาเนินงานในพื้นที่ควรประกอบด้วยการทางานร่วม ระหว่าง ต่างประเทศ ส่วนกลางของไทย และระดับจังหวัด จากข้อมูลการศึกษา ได้เสนอรูปแบบกิจการ ใน 3 ด้าน - การค้า เป็นศูนย์การค้าส่งอาเซียน พัฒนาประเทศให้พ้นความเป็น OEM ที่มีสัดส่วนรายได้ต่าสุด แต่ต้อง ลงทุนมากที่สุด ใช้แนวทางจากยุทธศาสตร์ Trading Nation ในการเป็นชาติการค้า ศูนย์กลางภูมิภาค อาเซียนและระดับโลก ดาเนินกลยุทธ์ตามความเชี่ยวชาญและความสามารถของประเทศ เป็นผู้จัดหา แหล่งสินค้า บริการ ความชานาญด้านการตลาด การศึกษารูปแบบตลาดจาก Model ตลาดอี้อู ที่เป็น ศูนย์กลางการค้าส่ง และชุมทางการขนส่งทางบก สนับสนุนสินค้า SMEs ที่ไม่ใช่ Brand Name โดยปัจจัย ความสาเร็จมาจากการสนับสนุนโดย ตัวพ่อค้าเมืองอี้อู และ รัฐบาลท้องถิ่น แนวทางการดาเนินการของ ไทย จะเป็นลักษณะสัมปทาน Sourcing สินค้า เน้นในลักษณะ Cluster โดยให้มีความหลากหลายในตัว สินค้ามากกว่าจะเป็นเฉพาะสินค้าไทย โดยจะเป็นสินค้าไทย 50% สินค้าในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน 50% แสดงผ่านศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ ซึ่งจะสามารถพัฒนาให้อยู่ระดับใกล้เคียงกับอี้อู และพัฒนาตลาดอิน โดจีนของจังหวัดมุกดาหาร ให้มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น - การท่องเที่ยว เป็นศูนย์การเรียนรู้และวัฒนธรรมอาเซียน แนวคิดจาก จังหวัดนครพนม มาจากความ หลากหลายทางวัฒนธรรมที่ไม่ได้มุ่งเน้นทางด้านสถานที่แต่จะมุ่งเน้นทางด้านวัฒนธรรม วิถีการดาเนิน
  • 4. ชีวิตของชุมชนเพื่อแสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่น โดยการศึกษาต้นแบบ อุตสาหกรรมเชิงวัฒนธรรม นาแนวคิดเชิงวัฒนธรรมถ่ายทอดผ่านผลิตภัณฑ์และบริการด้านวัฒนธรรม เช่น Korea Model ที่พัฒนา จากวัฒนธรรม สู่ อุตสาหกรรม เพื่อพัฒนาให้เกิดส่วนแบ่งทางด้านการตลาดจกาการพัฒนาสินค้าทาง วัฒนธรรม - การผลิต เป็นอุทยานเทคโนโลยีชีวภาพ 3 จังหวัด ส่วนมากเป็นพื้นที่เกษตร พัฒนาสินค้าเกษตร และต่อ ยอดสู่การพัฒนาสู่เทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อนาสินค้าเกษตรประยุกต์ให้เกิดประโยชน์กับมนุษย์ โดยต้อง อาศัยการเพิ่มมูลค่า และนวัตกรรม ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในระดับของการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทาง การเกษตร เป็นระดับก่อนที่พัฒนาสู่ระดับนวัตกรรมที่จะเป็นเทคโนโลยีชีวภาพ โดยแนวทางการผลักดัน จากโครงการศึกษาฯ ที่นาเสนอ ในการดึงดูดนักลงทุน ในส่วนของสิทธิประโยชน์ ชักจูงนักลงทุนรายใหญ่ ในประเทศเป้าหมาย เชิ่อมโยงนักลงทุนกับผู้ประกอบการชาวไทยในห่วงโซ่การผลิต แก้ไขกฎระเบียบ ภาครัฐ ทั้งนี้ต้องคานึงถึงระยะเวลาคืนทุนของทางภาคธุรกิจที่ใช้เวลายาวนาน ข้อเสนอจากที่ประชุม ผู้แทนสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย - การดูรูปแบบการลงทุนจากบทเรียนของ Eastern Seaboard ซึ่ง ทวายอาจเป็น Eastern Seaboard แห่งใหม่ในอนาคต - อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น ปัจจุบันเป็นไปได้ยากเนื่องจากการทางานในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไป การ เคลื่อนย้ายแรงงานความสะดวกในการเดินทางเข้ามาทางานในเมืองใหญ่ของประเทศไทยง่ายขึ้น จูงใจ แรงงานให้เข้ามาทางานที่ได้ค่าแรงสูงกว่าการทางานภาคอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น - การผลักดันให้เกิด Industrial Linkage เป็นการแบ่งปันมูลค่าของสินค้าผ่านการผลิตชิ้นส่วนสินค้า ระหว่างผู้ผลิตใน 2 ประเทศ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนจากการพึ่งพากันในการผลิต มากกว่าการมุ่งใช้แรงงาน ในการผลิตเพื่อให้ได้ค่าจ้างแรงงานให้กับประเทศเพื่อนบ้านเท่านั้น - การดาเนินการร่วมของการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) กับเขตเศรษฐกิจพิเศษ จัด Package เพื่อการจูงใจ ในเรื่องของการอานวยความสะดวกให้กับผู้ลงทุน การบริการแบบเบ็ดเสร็จที่จะช่วยลดขั้นตอนและความ ยุ่งยากกับหน่วยงานหลายหน่วยงาน
  • 5. - การมุ่งเน้นนาเสนออัตลักษณ์ด้านวัฒนธรรมที่ในกลุ่มประเทศมีความใกล้เคียงกัน ซึ่งทาให้เกิดความ เชื่อมโยงในวัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน การส่งต่อด้านการท่องเที่ยวระหว่างกันในกลุ่มประเทศ เช่น กา รทอ่งเที่ยวในนครวัด ประเทศกัมพูชา ควรมีการจัดการท่องเที่ยวมาที่พระปรางค์สามยอด จ.ลพบุรี ของ ไทยด้วย - ให้ความรู้ ข้อมูลที่ถูกต้องในเรื่องประวัติศาสตร์ สถานที่ กับบุคลากรที่ดูแลเกี่ยวกับเรื่องการถ่ายทอด ข้อมูลด้านวัฒนธรรม - การดึงดูดนักวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และนวัตกรรม โดยให้ Incentive ในการเข้ามาเป็นนักวิจัยพัฒนา เช่น Free Visa กับ นักวิจัยชาวญี่ปุ่น ที่เกษียณอายุ - การนาสินค้าเศรษฐกิจ ข้าว มันสาปะหลัง ยางพารา มาใช้ในการผลิต Bio Plastic แทนเพื่อให้เกิดการ สร้างเทคโนโลยีชีวภาพ ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับตัวสินค้ามากขึ้นจากราคาซื้อชายในลักษณะของวัตถุดิบ ผู้แทน กนอ. - กรมโรงงานจะดูแลโรงงานนอกนิคม สาหรับ กนอ. จะมี พรบ. การนิคม สามารถประกาศเขตพื้นที่ อุตสาหกรรมได้และจะอยู่ในอานาจ กนอ. ทาให้ การนิคมยังไม่มีอานาจในการควบคุมในพื้นที่ทั้งหมด นอกจากพื้นที่ที่ กนอ.ประกาศเขตนิคม ซึ่ง กนอ. จะมีบทบาทเป็นทั้ง Regulator และ Developer - เขตเศรษฐกิจพิเศษของไทยยังเป็นลักษณะแบบเชิงเดี่ยว ซึ่งจะเป็นภาคอุตสาหกรรมอย่างเดียว ไม่รวมใน เรื่องพาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัย ย่านการค้า แต่ใน สปป.ลาวใช้ Model อยู่ในปัจจุบัน จะแตกต่างจากไทย ซึ่งยังคงไม่มีการตั้ง ที่อยู่อาศัย ย่านการค้า เนื่องจากยังขัดกับพฤติกรรมของคนไทยที่กังวลภาคอุตสากรรม ที่จะมีมลภาวะที่กระทบต่อการอยู่อาศัย เช่น มาบตาพุด - กนอ. จะมีการพัฒนานิคมฯ 3 แห่ง ในปี 2559 คือ แม่สอด สระแก้ว สงขลา ตามลาดับ โดยได้รับ งบประมาณสนับสนุน 75 ล้านบาทในระยะแรก - ความเหมาะสมนิคมฯ ไปอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไทยเป็นประเทศที่ผลิตเพื่อการส่งออกจากภาค ตะวันออกเฉียงเหนือส่งออกไปยัง ท่าเรือ LCB ปัญหาคือการขนส่งและโลจิสติกส์วัตถุดิบเข้าไปไมถึงพื้นที่ ไม่คุ้มทุนจึงยังไม่เกิดในรูปธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแต่จะมีความเป็นไปได้ทางภาคตะวันออกแทน
  • 6. ผู้แทนสานักงานสถิติแห่งชาติ - ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหาร มูลค่าการค้าจะมีมากในจังหวัด สกลนคร ซึ่งมาจากยอดขายวัสดุก่อสร้างส่งออกไปยัง สปป.ลาว และนครพนมเป็นจุดเชื่อมทางการค้าที่ดี ที่สุดในเส้นทาง R8 และ R12 เชื่อมเวียดนาม และมณฑลกวางซี ของจีน แต่ทั้งสองเส้นทางจะไม่อยู่ใน CBTA ยังใช้ขนส่งไม่ได้ ในพื้นที่วัยแรงงาลดลง และเป็นแรงงานภาคการเกษตรเป็นส่วนมาก กิจการ ทางด้านการแพทย์จะมีประโยชน์ในพื้นที่เนื่องจากคนมีฐานะจะมารับการรักษาในประเทศไทยจึงเป็น โอกาสในการขยายกิจการทางด้านนี้ รวมถึงการผลักดันให้คนไทยไปศึกษาต่อในประเทศเพื่อนบ้าน เหมือนกับที่ประเทศเพื่อนบ้านส่งนักศึกษาเข้ามาศึกษาต่อในประเทศไทย - การบูรณาการระหว่างเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ร่วมกับ นักวิเคราะห์ นักวิชาการ ของสภาพัฒน์ เพื่อลดการขาด นักวิเคราะห์สาหรับการประชุมแผนปฎิบัติการในระดับพื้นที่ ผู้แทน สศช. - กิจการเป้าหมายะจะมีส่วนช่วยในการดึงดูดนักลงทุน ใช้แรงงาน และผลผลิตจากประเทศเพื่อนบ้าน และ ต้องไม่ใช่อุตสาหกรรมหนักและไม่กระทบกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งสาหรับกิจการที่จะคัดเลือกขึ้นมาเป็นกิจการ เป้าหมายทาง BOI จะมีการพิจารณาอีกครั้งนอกจากการคัดเลือกจาก กนพ.ซึ่งอาจจะมีการปรับเพิ่ม กิจการเป้าหมายในอนาคต - เขตเศรษฐกิจพิเศษจะมีส่วนช่วยในการจัดระเบียบพื้นที่ชายแดน เนื่องจากความอ่อนไหวทางด้าน สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง จะมีการประเมินข้อดี ข้อเสีย สาหรับกิจการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ - รูปแบบการบริหารจัดการ กนพ. มีคณะอนุกรรมการ 6 ชุด การขับเคลือนในระดับพื้นที่ จะมีผู้ว่าราชการ จังหวัด อยู่ใน 10 พื้นที่ เพื่อให้เกิดการแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว มีศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการลงทุนและ แรงงาน เชื่อมโยงศูนย์ เข้าส่วนกลาง กับ 38 หน่วยงาน โดยจะมีการเริ่มต้นที่ ตาก และ สระแก้ว ในระยะ เริ่มต้น - การออกหนังสือคู่มือนักลงทุนส่วนกลางและระดับพื้นที่
  • 7. ตัวแทน สนง.ผังเมือง - กฎกระทรวงของผังเมืองรวม หากพื้นที่ไหนยังไม่มีผังเมืองรวม สามารถใช้กฎกระทรวงมหาดไทย กับกรม โยธาธิการ ในพื้นที่สีเขียวยังคงอยู่ระหว่างขั้นตอนประกาศใช้ด้านกฎหมาย แต่ระยะแรกสามารถใช้ กฎหมายเทศบัญญัติควบคุมได้ แต่ต้องมี พรบ.ควบคุมอาคารก่อน - สาหรับพื้นที่ในจังหวัดหนองคายจะมีการ Revise ผังเมืองใหม่ปี 2559 เนื่องจากพื้นที่ที่สามารถจัดสรร เป็นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษจะมีพื้นที่น้อยเกินไปสาหรับการพัฒนาต่อ - การวางผังควรคานึงถึงองค์ประกอบที่อยู่ในผังที่จะเอื้อประโยชน์ต่อภาคธุรกิจ โดยอาจอาศัยมุมมองทาง ภาคธุรกิจประกอบการวางผังเพื่อให้เกิดประโยชน์กับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่ สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย