SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
ประชากร
Population
ประชากร หมายถึง กลุ่มของสิ่งมี
ชีวิตที่เป็น ชนิดเดียวกัน (the
same species) อาศัยอยู่ใน
บริเวณเดียวกัน (the same place)
ใน ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (time
period) ประชากร (Population)
ประชากร = ชนิด + สถานที่ + ช่วง
เวลา ประชากร = ?
• สังคม (Community) หมายถึง
ประชากร (Population) ของสิ่งมีชีวิต
ทั้งพืชและสัตว์ที่พบในเนื้อที่แห่งใดแห่ง
หนึ่ง เช่น สังคมของป่าผลัดใบ หรือ
สังคมทุ่งนา เป็นต้น
• ประชากร (Population) หมายถึง กลุ่ม
ของสมาชิกของสิ่งมีชีวิตในสปีชีส์
เดียวกัน ที่พบในเนื้อที่แห่งใดแห่งหนึ่ง
เช่น
ประชากรของแมลงหวี่ในขวดเพาะ
เลี้ยง หรือประชากรของกวางป่าในเขา
ใหญ่
ความหนาแน่นของประชากร
1.ความหนาแน่นอย่างหยาบ (crude density)
ความหนาแน่นของประชากรต่อ พื้นที่ทั้งหมด
ของที่อยู่อาศัย ตัวอย่าง พื้นที่ป่า 5 ไร่ มีตั๊กแตน
อยู่ 500 ตัว จงหาความหนาแน่นของประชากร
ตั๊กแตน
2.ความหนาแน่นเชิงนิเวศ (ecological
density)ความหนาแน่นของประชากรต่อ พื้นที่
อาศัยอยู่จริง ของสิ่งมีชีวิตนั้น ตัวอย่าง ในพื้นที่
ป่า 50 ไร่ ซึ่งมีบริเวณพื้นที่ปลูกผักรวม 10 ไร่
มีประชากรหนอนกระทู้ 50,000 ตัว จง
http://ns.dkt.ac.th/~lib/krububpa/page/thai/t3.html
การหาความหนาแน่นของประชากร
1.วิธีวัดความหนาแน่นสมบูรณ์ หรือความหนาแน่น
ที่แท้จริง
(absolute density)
1.1 การนับทั้งหมด (total counts) สัตว์พวกที่มีกระดูก
สันหลัง(vertebrate) ไม้ยืนต้น (tree)
1.2 การสุ่มตัวอย่าง (sampling method)
1.2.1 การสุ่มตัวอย่างแบบวางแปลง (quadrant
sampling method)สิ่งมีชีวิตอยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่น้อย
เช่น พืช สาหร่าย เพรียงหัวหอม
1.2.2 การทาเครื่องหมายและจับซำ้า(mark and
recapture method) สัตว์ที่เคลื่อนที่เร็วขึ้น เช่น
การทำาเครื่องหมายสัตว์ที่จับแล้วปล่อย เมื่อจับใหม่จะ
  ได้ทั้งตัวที่มีเครื่องหมายและตัวที่ไม่มีเครื่องหมาย ข้อ
ควรคำานึงก็คือว่าในขณะที่ใช้วิธีนี้สัตว์ต้องไม่มีการ
อพยพเข้า อพยพออก หรือมีการเกิด การตาย จึงจะได้
จำานวนที่ใกล้เคียงความจริงสามารถคำานวณได้จาก
 สูตร
P = T2M1/M2
       เมื่อ   P =                          ประชากรที่ต้องการทราบ
T2 = จำานวนสัตว์ทั้งหมดที่จับได้ครั้งหลังทั้งที่มี
เครื่องหมายและไม่มีเครื่องหมาย
M1 = จำานวนสัตว์ที่จับได้ครั้งแรกและทำาเครื่องหมาย
   ทั้งหมดแล้วปล่อย
M2 =          จำานวนสัตว์ที่มีเครื่องหมายที่จับได้ครั้งหลัง
2.ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (relative density)เป็นการ
วัดความหนาแน่นของประชากรต่อหน่วยพื้นที่หรือ
ปริมาตร จำานวนประชากรที่คำานวณได้จากการสุ่ม
“ ”ตัวอย่างเป็น เครื่องชี้ (index) บอกขนาดของ
ประชากร โดยบอกเป็นค่าความหนาแน่นต่อ หน่วยคงที่
ใดๆ
เช่น ต่อกับดักหรือต่อใบพืช และมีความสัมพันธ์กับ
ประชากรแท้จริงค่อนข้างจะคงที่ ใช้ได้ในเชิงเปรียบ
เทียบเท่านั้น การหาความหนาแน่นสัมพัทธ์มีหลายวิธี
  เช่น 1. ใช้กับดัก เช่น กับดักแมลงวัน แสงไฟล่อแมลง
การขุดหลุมดักแมลงปีกแข็ง เครื่องดูดจับแมลง จำานวน
ที่จับได้ขึ้นอยู่กับความว่องไวของแมลง จำานวนที่มีอยู่
   และความชำานาญของผู้ใช้กับดัก เป็นต้น
3. ความถี่ในการกระพริบแสง เช่น มีการนับจำานวน
หิ่งห้อยจากการกระพริบแสงช่วงตอนกลางคืน เพื่อใช้
              เป็นดรรชนีบอกขนาดของประชากร
4. จำานวนร่องรอยที่สัตว์ทำาไว้ เช่น ปลอกดักแด้ รู
              จิ้งหรีด กองดินที่จั๊กจั่นบางชนิดทำาขึ้น
5. ปริมาณอาหารที่กิน เช่น การวัดประชากรหนูโดย
ใช้จำานวนเหยื่อที่หนูกินเป็นดรรชนี วิธีนี้ใช้เพื่อ
ประเมินผลของการใช้ยาเบื่อหนูต่อประชากรหนูเมื่อ
              ก่อนและหลังเบื่อยา เป็นต้น
6. ความถี่ ใช้เปอร์เซ็นต์ของจำานวน ควอแดรทที่มีสิ่งมี
              ชีวิตชนิดนั้นอยู่เป็นดรรชนี
7. จำานวนประชากรที่จับได้แต่ละครั้ง เป็นเครื่องชี้บอก
ความมากน้อยของประชากรวิธีวัดความหนาแน่น
7. จำำนวนประชำกรที่จับได้แต่ละครั้ง เป็นเครื่องชี้บอก
ควำมมำกน้อยของประชำกรวิธีวัดควำมหนำแน่น
สัมพัทธ์มีประโยชน์ในกำรช่วยสนับสนุนผลจำกกำร
วัดโดยตรงให้มีควำมแน่ชัดยิ่งขึ้น เมื่อกำรนับจำำนวน
สัตว์หลำยชนิดเป็นไปได้ยำก ก็จำำเป็นต้องยอมรับผล
ของกำรนับด้วยวิธีวัดควำมหนำแน่นสัมพัทธ์ซึ่งใช้
ดรรชนีต่ำงๆ เป็นตัวบ่งชี้จำำนวนประชำกร
กำรแพร่กระจำยของประชำกร
กำรกระจำยตัวของประชำกรถูกกำำหนดโดย
ขอบเขตทำงภูมิศำสตร์ที่ประชำกรนั้นปรำกฏยู่ อัน
ได้แก่
1. ปัจจัยทำงกำยภำพ เช่น แสง นำ้ำ อุณหภูมิ
สำรอำหำร
2. ปัจจัยทำงชีวภำพ ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่ำง
ชนิด สิ่งมีชีวิต เช่น กำรแก่งแย่ง กำรล่ำ
หรือ สภำวะปรสิต
3. สถำนะทำงภูมิศำสตร์ ที่สำำคัญได้แก่สิ่งที่ขวำงกั้น
รูปแบบกำรแพร่กระจำยของ
ประชำกร
1. กำรรวมกลุ่ม (Clumped)
- พบมำกที่สุด
- สิ่งแวดล้อมไม่สมำ่ำเสมอ
2. สมำ่ำเสมอ (Uniform)
- พบไม่บ่อย
- กำรแก่งแย่งรุนแรง
3. อิสระ (Random)
- ค่อนข้ำงหำยำก
- สิ่งแวดล้อมสมำ่ำเสมอ
- กำรต่อสู่ไม่รุนแรง
ขนำดของประชำกร
ในแหล่งที่อยู่แต่ละแห่งจะมีจำำนวนกลุ่มสิ่งมีชีวิตหรือ
จำำนวนประชำกรแตกต่ำงกันไป กำรศึกษำขนำด
หรือลักษณะควำมหนำแน่นของจำำนวนประชำกรใน
     แหล่งที่อยู่หนึ่งๆสำมำรถศึกษำได้จำก
     กำรอพยพเข้ำของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
-     กำรอพยพออกของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
-     กำรเกิดของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
- กำรตำยของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
 จำกกำรศึกษำดังกล่ำว ทำำให้สำมำรถแบ่งขนำดของ
ประชำกรออกเป็น 3     ขนำดดังนี้
1.           ประชำกรที่มีขนำดคงที่
 อัตรำกำรเกิด +  อัตรำกำรอพยพเข้ำ = อัตรำกำร
ตำย +     อัตรำกำรอพยพออก
2.          ประชำกรมีขนำดเพิ่มขึ้น
อัตรำกำรเกิด +  อัตรำกำรอพยพออก > อัตรำกำร
 ตำย +     อัตรำกำรอพยพเข้ำ
3.          ประชำกรมีขนำดลดลง
 อัตรำกำรเกิด +  อัตรำกำรอพยพเข้ำ < อัตรำกำร
 ตำย + อัตรำกำรอพยพออก
hcs.osu.edu
/hcs604_1/lab1.htm
:
 ปัจจัยที่ทำำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง กำรศึกษำขนำด
 ของประชำกรในแหล่งที่อยู่ ดูได้จำกอัตรำกำรเกิด
อัตรำกำรตำ อัตรำกำรอพยพเข้ำและอัตรำกำรอพยพ
ออกจำกแหล่งที่อยู่โดยอัตรำกำรเปลี่ยนแปลงของ
อัตรำดังกล่ำวเกิดจำกปัจจัยทั้งภำยในและภำยนอก
   แหล่งที่อยู่
กำรเปลี่ยนแปลงของสภำพแวดล้อม : สภำพแวดล้อม
ที่ไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงเลยหรือเกิดกำรเปลี่ยนแปลง
อย่ำงรวดเร็วและรุนแรง สำมำรถลดจำำนวนประชำกร
   ลงได้ กิจกรรมต่ำงๆของมนุษย์ : กำรถำงป่ำ กำรทำำ
ไร่เลื่อนลอย เพื่อทำำฟำร์มสัตว์หรือเพื่อกำรเกษตร
เป็นกำรลดขนำดของที่อยู่อำศัยของสิ่งมีชีวิตบำง
   ชนิดในธรรมชำติ
ทรัพยำกรมีอยู่จำำกัด : บำงครั้งสิ่งมีชีวิตก็อำจจำำเป็น
ต้องต่อสู่แย่งชิงสิทธิ์ครอบครองทรัพยำกรที่มีอย่ำง
   จำำกัด ทำำให้เกิดกำรล้มตำย
กำรเจริญเติบโตอย่ำงรวดเร็ว : พืชหรือสิ่งมีชีวิตที่มี
   กำรเจริญเติบโต อย่ำงรวดเร็ว ทำำให้เกิดควำมหนำ
   แน่นจำำเป็นจะต้องหำแหล่งที่อยู่ใหม่เพิ่มขึ้น
ศัตรูทำงธรรมชำติและเชื้อโรค : กำรแพร่กระจำยของ
ศัตรูทำงธรรมชำติหรือกำรละบำดของเชื้อโรค เป็น
สำเหตุหนึ่งที่ทำำให้เกิดจำำนวนประชำกรลดน้อยลง
รูปแบบการเพิ่มของประชากร
  ประเด็นสำาคัญประเด็นหนึ่งที่มีผลต่ออัตราการเกิด
 ของสิ่งมีชีวิต และทำาให้เกิดรูปแบบของการเพิ่ม
   ประชากร คือ รูปแบบของการสืบพันธุ์ประชากร
ของสิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีรูปแบบการสืบพันธุ์เพื่อเพิ่ม
ประชากรอยู่ 2 รูปแบบคือ1. สมาชิกของประชากรมี
 การสืบพันธ์เพียงครั้งเดียวในช่วงชีวิต สิ่งมีชีวิต
พวกนี้จะผลิตลูกหลานจำานวนมาก/  ครั้ง จึงทำาให้
 ประชากรเพิ่มอย่างรวดเร็ว เป็นการเพิ่มประชากร
แบบ exponential growth  หรือแบบทวีคุณ ซึ่งสามารถ
แสดงได้ด้วยกราฟลักษณะดังนี้
2. สมาชิกของประชากรมีโอกาสในการสืบพันธุ์ได้
 หลายครั้งในช่วงชีวิต สิ่งมีชีวิตพวกนี้จะผลิตลูก
หลานจำานวนน้อย/  ครั้ง ลูกอ่อนได้รับการดูแลอย่าง
   ดีจากแม่ จึงทำาให้อัตราการตายตำ่า มีวัฏจักรชีวิต
 ยาวนาน เป็นการเพิ่มประชากรแบบ logistic
growth ซึ่งสามารถแสดงได้ด้วยกราฟลักษณะดังนี้
ทฤษฎีประชากรของ Thomas Malthus
 นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้เสนอทฤษฎี
 ประชากร โดยมีสาระสำาคัญดังนี้1. อาหารและ
 เครื่องยังชีพ จะมีการเพิ่มจำานวนในอัตรา
 เลขคณิต คือ1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, . . . . . .
2.  ประชากร จะมีการเพิ่มจำานวนแบบ
 เรขาคณิต คือ1, 2, 4, 8, 16, 32,
64, . . . . . . .ซึ่งแสดงได้ด้วยกราฟลักษณะดังนี้
การรอดชีวิตของประชากร
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีแบบแผนในการรอดชีวิต
ของประชากรซึ่งอยู่กับช่วง อายุขัย (life span) ของสิ่งมี
ชีวิตแต่ละชนิด สิ่งมีชีวิตบางชนิดจะมีช่วงชีวิตสั้นๆ
แต่ในสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ช้าง และคนที่มีช่วงอายุ
ยาวนานเฉลี่ย 70-120 ปีกราฟการรอดชีวิตของ
ประชากรมี 3         รูปแบบ
1.สิ่งมีชีวิตมีการรอดชีวิตในวัยแรกเกิดและคงที่เมื่อ
โตขึ้น หลังจากนั้นอัตราการรอดชีวิตจะตำ่าเมื่อสูงวัย
ขึ้นสิ่งมีชีวิตดังกล่าว เช่น มนุษย์ ช้าง ม้า
        สุนัข
2. สิ่งมีชีวิตมีรูปแบบการรอดชีวิตเท่ากันทุกวัย เช่น
        ไฮดรา นก เต่าเป็นต้น
กราฟการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิต
(survivalship curve)
 การเติบโตของประชากรมนุษย์ อันที่จริง
แล้วประชากรมนุษย์มีแบบแผนการเติบโตเช่น
เดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ถ้าหากลองพิจารณาดูกราฟ
การเติบโตของประชากรตั้งแต่อดีตที่ผ่านมาหลาย
  พันปีจนกระทั่งปัจจุบัน จะเห็นว่าในระยะแรกการ
 เติบโตของประชากรค่อนข้างตำ่า และคงที่นับพันๆ
ปี จากนั้นประชากรก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังภาพ
ที่ 22-13
ปัจจัยที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงขนาด
   ประชากรของมนุษย์
• ในการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิต
ขึ้นอยู่กับอัตราการเกิด อัตราการตาย และอัตรา
  การอพยพ ในประชากรมนุษย์ก็เช่นเดียวกันพบ
 ว่าใน การศึกษาเรื่องประชากร
 มนุษย์ (demography) นักประชากรศาสตร์จะใช้
 อัตราการเกิด หรือ อัตราการเกิดเชิง
ประเมิน(crude birth rate) และอัตราการตาย
   หรือ อัตราการตายเชิงประเมิน (crude death
rate) ในการนำาเสนอข้อมูลในภาพรวมอย่างคร่าวๆ
ดังภาพที่ 22-14
•  ภาพที่ 22-14 อัตราการเกิดเชิงประเมินและอัตราการตายเชิง
ประเมินของประชากรมนุษย์ในทวีปต่างๆ ในปี พ.ศ. 2540
(ที่มา :  ข้อมูลจาก Miller, 2542)
    อัตราการเกิดเชิงประเมิน หมายถึง จำานวน
สิ่งมีชีวิตที่เกิดต่อจำานวนสิ่งมีชีวิต 1,000
หน่วยในประชากรนั้นในรอบปี เขียนแทนสูตร
ได้เป็น
อัตราการตายเชิงประเมิน หมายถึง จำานวนสิ่ง
มีชีวิตที่ตายต่อจำานวนสิ่งมีชีวิต 1,000 หน่วย
ในประชากรนั้นในรอบปี เขียนแทนสูตรได้เป็น
  โครงสร้างอายุประชากรมนุษย์
  ประชากรมนุษย์มีการเจริญเติบโตและสืบพันธุ์
ผลิตลูกเป็นรุ่นๆ ประชากรมนุษย์ในแต่ละรุ่นก็จะ
เจริญเติบโตต่อไปและสืบพันธุ์ให้ลูกให้หลานรุ่นแล้ว
  รุ่นเล่า จากลักษณะของการเติบโตของประชากรดัง
  กล่าว ทำาให้สามารถแบ่งอายุช่วงประชากรมนุษย์
ออกเป็น 3 กลุ่มคือ วัยก่อนเจริญพันธุ์(per
-reproductive) ช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิด- 14  ปี วัย
 เจริญพันธุ์ (reproductive) ช่วงอายุตั้งแต่ 15-44 ปี
   และ วัยหลังเจริญพันธุ์ (post- reproductive) ช่วง
อายุตั้งแต่ 45  ปีขึ้นไป ประชากรที่มีช่วงอายุที่แตก
ต่างกันนี้ประกอบเป็น แผนภาพโครงสร้างอายุของ
 ประชากร (age structure diagram) ซึ่งแสดงในรูป
ดังนั้นพีระมิดโครงสร้างของประชากรก็มีฐานกว้าง
  ปลายยอดแหลม ถ้าหากขนาดของกลุ่มประชากร
ในวัยเจริญพันธ์เท่ากับขนาดของกลุ่มประชากรในวัย
  ก่อนเจริญพันธุ์ พีระมิดโครงสร้างอายุของประชากร
  ก็จะเป็นรูประฆังควำ่า และถ้าหากว่าขนาดของ
ประชากรในวัยก่อนเจริญพันธุ์มีขนาดเล็กกว่า
  ประชากรในวัยเจริญพันธุ์ พีระมิดโครงสร้างอายุ
  ของประชากรก็จะเป็นรูปดอกบัวตูม พีระมิด
โครงสร้างของประชากรแบบต่างๆ แสดงดังภาพที่
22-15
ภาพที่ 22-15 พีระมิดโครงสร้างอายุประชากรมนุษย์
           แบบต่างๆ
ก.               พีระมิดฐานกว้างยอดแหลม
ข.พีระมิดทรงรูปกรวยปากแคบ
ค.  พีระมิดรูประฆังควำ่า
ง.พีระมิดรูปดอกบัวตูม
 จากพีระมิดโครงสร้างอายุประชากรทำาให้
สามารถคาดคะเนแนวโน้มของประชากรในประ
         เทศนั้นๆ ได้เช่น
แบบ ก. พีระมิดฐานกว้าง ยอดแหลม แสดงถึง
  โครงสร้างประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว พบ
โครงสร้างของประชากรแบบนี้ได้ในประเทศ
กัวเตมาลา ซาอุดิอาระเบีย และประเทศใน
         แอฟริกา เช่น เคนยา และไนจีเรีย เป็นต้น
 
แบบ ข. พีระมิดทรงรูปกรวย ปากแคบ แสดงถึง
โครงสร้างของประชากรเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ พบ
โครงสร้างอายุประชากรแบบนี้ได้ใน ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา และไทย
          เป็นต้น
แบบ ค. พีระมิดรูประฆังควำ่า แสดงถึง
  โครงสร้างประชากรขนาดคงที่ พบโครงสร้าง
อายุประชากรแบบนี้ได้ในประเทศสเปน
          เดนมาร์ก ออสเตรีย และอิตาลี เป็นต้น
แบบ ง. พีระมิดรูปดอกบังตูม แสดงโครงสร้าง
  ของประชาการลดลง พบโครงสร้างอายุ
ประชากรแบบนี้ได้ในประเทศเยอรมัน
อังการี สวีเดน บัลกาเรีย สิงคโปร์ เป็นต้น
  นอกจากนี้ลักษณะโครงสร้างอายุประชากรสามารถ
  สะท้อนภาพของประชากรจากอดีตถึงปัจจุบันได้ และยัง
สามารถใช้คาดคะเนขนาดของประชากรในอนาคตได้อีก
  ด้วย ดังแสดงในภาพที่ 22-16
ภาพที่ 22-16 พีระมิดโครงสร้างของประชากรมนุษย์ในปี
พ.ศ. 2528 และ พ.ศ. 2568
ก.ประเทศที่กำาลังพัฒนา ข.ประเทศที่พัฒนา
ประกอบทางชีวภาพที่สำาคัญของระบบนิเวศ
ทำาหน้าที่เป็นทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้สลาย
สารอินทรีย์ ถ้าหากกลุ่มของสิ่งมีชีวิตทั้ง 3
กลุ่มนี้มีขนาดสัดส่วน และการกระจายที่
เหมาะสมแล้วจะทำาให้ระบบนิเวศเกิดความ
  สมดุล แต่โดยความเป็นจริงแล้วพบว่ากลุ่ม
  สิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้บริโภคจะมีมากที่สุด โดย
  เฉพาะประชากรมนุษย์ ทำาให้เกิดการใช้
  ทรัพยากรธรรมชาติในระบบนิเวศมากขึ้น
มนุษย์เป็นประชากรในระบบนิเวศที่บริโภค
  ทรัพยากรที่มีอยู่ในธรรมชาติมากที่สุด
  ทำาให้ทรัพยากรที่มีอยู่นั้นเสียสมดุล ก่อให้
เกิดปัญหาและผลกระทบต่างๆ ต่อสิ่ง
ประชากร Population

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานพัน พัน
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 

What's hot (20)

แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Viewers also liked

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนAon Narinchoti
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากรบทที่ 22 ประชากร
บทที่ 22 ประชากร
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ประชากร
ประชากรประชากร
ประชากร
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 

Similar to ประชากร Population

บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 

Similar to ประชากร Population (6)

บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 

ประชากร Population