SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
แบบฝึกหัด
Coulometry & Electrogrovimetry
หมายเหตุ ตัวเลขการเข้มข้นวิเคราะห์ซึ่งมีการระบุสูตรเต้มของสปีชีส์และจะ
เป็นความเข้มข้นที่สมดุลสำาหรับไอออน
20-1 อธิบายความแตกต่างโดยสังเขปสำาหรับพจน์ต่อไปนี้
ก. โพลาไรเซชันความเข้มข้น และโพลาไรเซชันไคเนติกส์
ข. Amperostat และ Potentiostat
ค. a coulomp และ a faraday
ง. ขั้วทำางานและขั้วช่วย
จ. วงจรอิเล็กโทรลิซิสและวงจรควบคุมสำาหรับวิธีควบคุมศักย์
20-2 อธิบายพจน์ต่อไปนี้โดยสังเขป
ก. ความหนาแน่นกระแส
ข. ศักย์โอห์ม
ค. การไทเทรตแบบคูลอมเมตรี
ง. อิเล็กโทรลิซิสแบบควบคุมศักย์
จ. ประสิทธิภาพของกระแส
ฉ. สมมูลในทางไฟฟ้าเคมี
20-3 อธิบายกลไกสามประการที่ใช้ในการถ่ายเทสปีชีส์ที่ละลายไปยัง และ
ออกจากผิวขั้ว
20-4 การมีกระแสส่งผลต่อศักย์ของเซลล์ไฟฟ้าเคมีอย่างไร
20-5 โพลาไรเซชันความเข้มข้น และโพลาไรเซชันไคเนติกส์มีความ
คล้ายคลึงกันและแตกต่างกันอย่างไร
20-6 ตัวแปรทางการทดลองอะไรที่ส่งผลต่อ โพลาไรเซชันความเข้มข้นใน
เซลล์ไฟฟ้าเคมี
20-7 อธิบายสภาวะที่เสริมให้เกิดโพลาไรเซชันไคเนติกส์ ในเซลล์ไฟฟ้า
เคมี
20-8 วิธีอิเล็กโตรกราวิเมตรีและคูลอมเมตรีต่างจากวิธีโพเทนชิโอเมตรี
อย่างไร
20-9 ระบุสามปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะเฉพาะทางฟิสิกส์ของสารที่เกาะ
ด้วยไฟฟ้า
20-10 คาโทดีโพลาไรเซอร์ใช้ทำาอะไร
20-11 amperostat และ potentiostat มีหน้าที่อะไร
20-12 อธิบายความแตกต่างระหว่างคูลอมเมตรีแบบควบคุมกระแส
(amperostat coulometry) และคูลอมเมตรีแบบควบคุมศักย์
(potentiostatic coulometry)
20-13 เหตุใดปกติจึงต้องแยกขั้วทำางานออกจากขั้วช่วยในการวิเคราะห์คู
ลอมเมตรีแบบควบคุมศักย์
20-14 ทำาไมดดยทั่วไปจึงต้องใช้สารช่วย (auxiliary reagent) ในการ
ไทเทรตแบบคูลอม์เมตรี
20-15 คำานวณจำานงนไอออนที่เกี่ยวข้องที่ผิวของขั้วในแต่ละวินาทีที่เซลล์
ไฟฟ้าเคมีทำางานที่ 0.020 A และไอออนที่เกี่ยวข้องเป็นไอออนที่มีประจุ
ก. หนึ่ง
ข. สอง
ค. สาม
20-16 คำานวณศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกาะของ
ก. ทองแดงจากสารละลายที่มี 0.150 M Cu2+
ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH
3.00 เกิดออกซิเจนที่อาโนดที่ 1.00 atm
ข. ดีบุกจากสารละลายที่ 0.120 M Sn2+
ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH 4.00
เกิดออกซิเจนที่คาโทดที่ 770 ทอรร์
ค. ซิลเวอร์โบรไมด์บนซิลเวอร์อาโนดจากสารละลายที่มี 0.0864 M Br-
ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH 3.00 เกิดไฮโดรเจนที่คาโทดที่ 765 ทอรร์
ง. Tl2O3 จากสารละลายที่มี 4.00x10-3
M Tl+
ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH
8.00 สารละลายได้จัดให้มี 0.010 M Cu2+
ซึ่งทำาหน้าที่เป็นคาดทดดี
โพลาไรเซอร์กระบวนการคือ
Tl2O3(s) + 3H2O + 4e-
 2Tl + 6-
OH Eo
= 0.020V
20-17 คำานวณศักย์เริ่มต้นในการให้ได้กระแส 0.078 A ในเซลล์
Co/Co2+
(6.40x10-2
M)ll Zn2+
(3.75x10-3
M)lZn หากเวลล์นี้มี
ความต้านทาน 5.00Ω
20-18 เซลล์ SnlSn2+
(8.22x10-4
)ll Cd2+
(7.50x10-2
M)llCd มีความ
ต้านทาน 3.95 Ω คำานวณศักย์เริ่มต้นที่ต้องใช้ให้ได้กระแส 0.072 A
ในเซลล์นี้
20-19 ต้องการให้มีการเกาะของทองแดงจากสารละลายที่มี 0.200 M
Cu(ll) และบัฟเฟอร์ให้มี pH 4.00 เกิดออกซิเจนจากอาโนดที่ความ
ดันย่อย 740 ทอรร์ เซลล์มีความต้านทาน 362Ω อุณหภูมิคือ 25o
C
คำานวณ
ก. ศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของทองแดงจาก
สารละลายนี้
ข. ค่าการตกของ IR ที่เกี่ยวข้องกับกระแส 0.10 A ในเซลล์นี้
ค. ศักย์เริ่มต้น กำาหนดว่า โอเวอร์โวลเตจของออกซิเจนคือ 0.50 V
ภายใต้สภาวะเหล่านี้
ง. ศักย์ของเซลล์เมื่อ [Cu2+
] คือ 8.00x10-6
อนุมานว่าการตกของ
IR และโอเวอร์โวลเตจของออกซิเจนไม่เปลี่ยนแปลง
20-20 ต้องการให้มีการเกาะของนิเกิลบนคาโทดพลาตินัม (พื้นที่ =
120 ซม 2
) จากสารละลายที่มี 0.200 M Ni2+
และบัฟเฟอร์ให้มี pH
2.00 เกิดออกซิเจนที่ความดันย่อย 1.00 atm ที่อาโนดพลาตินัมซึ่งมี
พื้นที่ 80 ซม 2
เซลล์มีความต้านทาน 3.15Ω อุณหภูมิคือ 25o
C
คำานวณ
ก. ศักย์เทอร์โมไดนามิกส์ที่จำาเป็นในการเริ่มเกาะของนิเกิล
ข. ค่าการตกของ IR สำาหรับกระแส 1.10 A
ค. ความหน่าของกระแสที่อาโนดและคาโทด
ง. ศักย์ที่ให้ในตอนเริ่มต้น กำาหนดว่าโอเวอร์โวลเตจออกซิเจนบนพลา
ตินัมมีค่า ประมาณ 0.52 V ภายใต้สภาวะเหล่านี้
จ. ศักย์ที่ให้เมื่อความเข้มข้นของนิเกิลลดลงเป็น 2.00x10-4
M
20-21 ต้องการให้มีการเกาะของซิลเวอร์จากสารละลายที่มี 0.150 M
Ag(CN)2
-
0.320 M KCN และบัฟเฟอร์ให้มี pH 10.00 เกิด
ออกซิเจนที่อาโนดที่ความดันย่อย 1.00 atm เวลล์มี ความต้านทาน
2.90 Ω อุณหภูมิคือ 25 o
C คำานวณ
ก. ศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของซิลเวอร์จาก
สารละลายนี้
ข. ค่าการตกของ IR ที่เกี่ยวข้องกับกระแส 0.12 A ในเซลล์นี้
ค. ศักย์ที่ให้ในตอนเริ่มต้น กำาหนดว่า โอเวอร์โวลเตจของ O2 คือ 0.80
V ภายใต้สภาวะเหล่านี้
ง. ศักย์ของเซลล์เมื่อ [Ag(CN)2
-
] คือ 1.00x10-5
M อนุมานว่าไม่
เปลี่ยนแปลงในการตกของ IR และโอเวอร์โวลเตจของ O2
20-22 สารละลายมี 0.150 M Co2+
และ 0.0750 M Cd2+
ให้คำานวณ
ก. ความเข้มข้นของ Co2+
ในสารละลายเมื่อแคดเมืยมตัวแรกเริ่มเกาะ
ข. ศักย์คาโทดที่ต้องใช้ในการลดความเข้มเข้นของ Co2+
เป็น
1.00x10-5
M
20-23 สารละลายมี 0.0500 M BiO+
และ 0.0400 M Co2+
มี pH 2.50
ให้คำานวณ
ก. ความเข้มข้นของแคทไอออนที่ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายว่ามีค่าเท่าใดในตอนที่
ตัวที่ถูกรีดิวซ์ยากเริ่มเกาะ
ข.ศักย์คาโทดมีค่าเท่าใดเมื่อความเข้มข้นของสปีชีส์ที่รีดิวส์ได้ง่ายกว่า
คือ 1.00x10-6
M
20-24 ได้มีการเสนอการวิเคราะห์แบบอิเล็กโตรกราวิเมตรีเกี่ยวข้องกับ
การควบคุมศักย์คาโทดในการแยก BiO+
และ Sn2+
ในสารละลายที่มี
0.200 M ของแต่ละไอออนและบัฟเฟอร์ให้มี pH 1.50 คำานวณ
ก. ศักย์คาโทดทางทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของไอออนที่
ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายกว่า
ข. ความเข้มข้นที่เหลือของตัวที่ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายกว่าที่ตอนเริ่มต้นของ
การเกาะของสปีชีส์ที่ถูกรีดิวซ์ได้ยากกว่า
ค. เสนอช่วงศักย์คาโทด (เทียบกับ SCE) ที่ต้องควบคุมหากเป็นไปได้ให้
ใช้ 10-6
M เป็นเกณฑ์ในการแยกที่สมบูรณ์ในเชิงปริมาณ
20-25 เฮไลด์ไอออนสามารถเกาะบนอาโนดซิลเวอร์ได้ดังปฏิกิริยา
Ag(s) + X-
→ AgX(s) + e-
ก. ถ้าใช้ 1.00x10-5
M เป็นเกณฑ์สำาหรับการแยกที่สมบูรณ์ในเชิง
ปริมาณ ในทางทฤษฏีจะเป็นไปได้หรือไม่ในการแยก Br-
จาก I-
โดย
การควบคุมศักย์อาโนดในสารละลายที่ตอนแรกมีแต่ละไอออน 0.250
M
ข. ในการแยก Cl-
และ I-
จะเป็นไปได้หรือไม่ในทางทฤษฏีการแยก
หากสารละลายในตอนแรกมีแต่ละไอออน 0.250 M
ค. หากการแยกเป็นไปได้ในข้อ ก หรือ ข ให้หาช่วงศักย์อาโนดที่ติอง
ใช้ในการแยก (เทียบกับ SCE)
20-26 สารละลายมี 0.100 M ของแคทไอออนที่ถูกรีดิวซ์ได้สองตัวคือ A
และ B การขจัดสปีชีส์ที่ถูกรีดิวส์ได้ง่ายกว่าคือ A จะพิจารณาว่า
สมบูรณ์เมื่อ [A] ลดลงเหลือ 1.00x10-5
M ค่าความแตกต่างของศักย์
ขั้วมาตรฐานเท่าไรจึงจะทำาให้สามารถแยก A ออกไปโดยปราศจาก
การรบกวนจาก B หากกำาหนดให้ประจุของ A และ B เป็นดังนี้
A B
ก. 1 1
ข. 2 1
ค. 3 1
ง. 1 2
จ. 2 2
ฉ. 3 2
ช. 1 3
ซ. 2 3
ฌ
.
3 3
20-27 คำานวณเวลาที่ต้องใช้ในการเกาะของ 0.500 g Co(II) ภายใต้
กระแส 0.961 A ในรูป
ก. ธาตุโคบอลต์บนผิวคาโทด
ข. Co3O4 บนอาโนด
20-28 คำานวณเวลาที่ต้องใช้ใน ภายใต้กระแส 1.20 A ในการเกาะของ
สารต่อไปนี้
ก. Tl(II) ในรูปธาตุบนคาโทด
ข. Tl(II) ในรูป Tl2O3 บนคาโทด
ค. Tl(l) ในรูปธาตุบนคาโทด
20-29 สารตัวอย่างกรดอินทรีย์บริสุทธิ์ 0.156 g นำามาสะเทินด้วยไฮดร
อกไซด์ไอออนที่ผลิตจากกระแสคงที่ 0.0401 A เป็นเวลา 5 นาที 24
วินาที คำานวณนำ้าหนักสมมูลของกรด (มวลของกรดที่มีโปรตอน 1 โมล)
20-30 ความเข้มข้นของ CN-
ในสารละลายสำาหรับเคลือบ 10.0 ml หาก
ได้ดดยการไตเทรตกับไฮโดรเจนไอออนจนถึงจุดยุติเมทิลออเรนจ์ การ
เปลี่ยนสีเกิดขึ้นหลังผ่านกระแส 43.4 mA เป็นเวลา 3 นาที 22 วินาที
คำานวณกรัมของ NaCN ต่อลิตรของสารละลาย
20-31 HgNH3Y2-
เกินพอถูกเติมลงไปใน 25.00ml ของนำ้าบ่อ หาความ
กระด่างของนำ้าในรูป ppm CaCO3 หาก EDTA ที่ต้องใช้ในการไต
เทรตถูกสร้างขึ้นที่คาโทดปรอทโดยใช้กระแส 31.6 mA เป็นเวลา
2.02 นาที
20-32 I2 ที่ผลิตโดยใช้ไฟฟ้า นำามาหาปริมาณ H2S ในนำ้าตัวอย่าง
100.0 ml เมื่อเติม KI มากเกินพอ การไตเทรตต้องใช้กระแส 36.32
mA เป็นเวลา 10.12 นาที ปฏิกิริยาคือ H2S + I2 → S(s) + 2H+
+ 2I-
แสดงผลการวิเคราะห์ในรูป ppm H2S
20-33 ไนโตรเบนซีนในของผสมอินทรีย์ 210 mg ถูกรีดิวซ์ไปเป็นฟีนิล
ไฮดรอกซิลเอมีนที่ศักย์คงที่ -0.96 V (เทียบกับขั้วอ้างอิง SCE) ของคา
โทดปรอท C6H5NO2 + 4H+
+4e-
→ C6H5NHOH + H2O ละลาย
สารตัวอย่างในเมทานอล 100 ml หลังจากแยกสลายด้วยไฟฟ้าเป็น
เวลา 30 นาทีก็ระบุได้ว่าปฏิกิริยาสมบูรณ์ คุลอมมิเตอร์ไฟฟ้าที่ต่อกับ
เซลล์ระบุว่าการรีดักชันต้องใช้ 26.74 C คำานวณเป็นเปอร์เซ็นต์
C6H5NO2 ในตัวอย่าง
20-34 ฟีนอลในนำ้าจากเตา วิเคราะห์ได้โดยใช้วิธีคูลอมเมตรี สาร
ตัวอย่าง 100 ml ถูกนำามาทำาให้เป็นกรดเล็กน้อย แล้วเติม KBr มาก
เกินพอ แล้วผลิต Br2 จากปฏิกิริยา C6H5OH + 3Br2 →
Br3C5H2OH(s) + 2HBr โดยใช้กระแสคงที่ 0.0313 A เป็นเวลา 7
นาทีและ 33 วินาที แสดงผลของการวิเคราะห์ในรูปส่วนของ C6H5OH
ต่อนำ้าล้านส่วน (อนุมานว่าความหนาแน่นของนำ้าคือ 1.00 g/ml)
20-35 ที่ศักย์ -1.0 V (Vs, SCE) CCl4 ในเมทานอลถูกรีดิวซ์เป็น CHCl3
ที่คาดทดปรอท:
2CCl4 + 2H+
+ 2e-
+2Hg(e) → 2CHCl3 + Hg2Cl3(s) ที่
-1.80 V CHCl3 ทำาปฏิกิริยาต่อไปได้เป็น CH4:
2CHCl4 + 6H+
+ 6e-
+6Hg(e) → 2CH4 + 3Hg2Cl2(s)
สารตัวอย่าง 0.750 g มี CCL4 และสปีชีส์อินทรีย์เฉื่อยนำามาละลาย
ในเมทานอลและแยกสลายด้วยไฟฟ้า -1.0 V จนกระทั่งกระแสมีค่าใกล้
0 คูลอมมิเตอร์ระบุว่าต้องใช้ 11.63 C ในการทำาปฏิกิริยาสมบูรณ์
จากนั้นศักย์ของคาดทดถูกปรับให้เป็น -1.8 V โดยที่ในการทำาการ
ไทเทรตสมบูรณ์ที่ศักย์นี้ต้องใช้อีก 68.6 C คำานวณเปอร์เซ็นต์ CCl4
และ CHCl3 ในของผสม
20-36 สารตัวอย่าง 0.1309 g มีเฉพาะ CHCl3 และ CH2Cl2 นำามา
ละลายในเมทานอลและแยกสลายด้วยไฟฟ้าในเซลล์ที่มีคาโทดปรอท
ศักย์ของคาโทดถูกรักษาไว้ให้คงที่ที่ -1.80 V (Vs, SCE) สารทั้งสองถู
กรีดิวส์ไปเป็น CH4 (ดูปฏิกริยาในข้อ 20-25) คำานวณเปอร์เซ็นต์
CHCl3 และ CH2Cl2 หากต้องใช้ 306.7 C ในการทำาให้รีดักชัน
สมบูรณ์
20-37 C6H5NH2 ปริมาณเล็กน้อยสามารถหาปริมาณได้โดยการให้ทำา
ปฏิกิริยากับ Br2 ที่สร้างขึ้นด้วยไฟฟ้า
3Br2 +  + 3H+
+ 3Br-
จากนั้นกลับขั้วของขั้วทำางาน แล้วหาปริมาณ Br2 มากเกินพอโดยการไท
เตรตแบบวัดปริมาณไฟฟ้าซึ่งอาศัยการสร้าง Cu(I).
Br2 + 2Cu+
→ 2Br-
+ 2Cu2+
เติม KBr และ CuSO4 ในปริมาณที่เหมาะสมลงไปในสารละลาย 25.0 ml
ที่มีอะนิลีน คำานวณจำานวนไมโครกรัมของ C6H5NH2 ในสารตัวอย่างจาก
ข้อมูลต่อไปนี้
ขั้วทำางานทำา
หน้าที่เป็น
เวลา(นาที) ในการผลิตดดยมี
กระแสคงที่ 151 MA
อาโนด 3.76
คาโทด 0.270
20-38 ควิโนนสามารถถูกรีดิวซ์โดยไฮโดรควิโนนด้วย Sn (II) ที่ผลิตโดย
ใช้ไฟฟ้า:
+ Sn2+
+ 2H+
 + Sn4+
จากนั้นกลับขั้วของขั้วทำางาน แล้วออกซิไดซ์ Sn(II) มากเกินพอด้วย Br2
ที่ผลิตโดยการไทเทรตแบบวัดปริมาณไฟฟ้า
Sn2+
+ Br2  Sn4+
+ 2Br-
เติม SnCl4 และ KBr ในปริมาณที่เหมาะสมลงไปในตัวอย่าง 50.0 ml
คำานวณนำ้าหนักของ C6H4O2 ในตัวอย่างจากข้อมูลต่อไปนี้
ขั้วทำางานทำา
หน้าที่เป็น
เวลา(นาที) ในการผลิตโดยมี
กระแสคงที่ 1.062 MA
อาโนด 8.31
คาโทด 0.691

Contenu connexe

Tendances

ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Chicciiz Pu
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 25639GATPAT1
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6oraneehussem
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 

Tendances (19)

s
ss
s
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
2 the mole
2 the  mole2 the  mole
2 the mole
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563
 
Onet เคมี M6
Onet เคมี M6Onet เคมี M6
Onet เคมี M6
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 

Similaire à แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry

Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02SasipraphaTamoon
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-textnantita
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีatichat44164
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 25609GATPAT1
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
2543october
2543october2543october
2543octoberawirut
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีWattana123456
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้าkanjanachem
 

Similaire à แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry (20)

Metal
MetalMetal
Metal
 
Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02Quemarch48 130814115357-phpapp02
Quemarch48 130814115357-phpapp02
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Ec electrochem-text
Ec electrochem-textEc electrochem-text
Ec electrochem-text
 
Electric chem8
Electric chem8Electric chem8
Electric chem8
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560กสพท. เคมี 2560
กสพท. เคมี 2560
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
2543october
2543october2543october
2543october
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมี
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 

Plus de Pipat Chooto

Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercisePipat Chooto
 
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductPipat Chooto
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำPipat Chooto
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆPipat Chooto
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 

Plus de Pipat Chooto (18)

Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercise
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
 
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry

  • 1. แบบฝึกหัด Coulometry & Electrogrovimetry หมายเหตุ ตัวเลขการเข้มข้นวิเคราะห์ซึ่งมีการระบุสูตรเต้มของสปีชีส์และจะ เป็นความเข้มข้นที่สมดุลสำาหรับไอออน 20-1 อธิบายความแตกต่างโดยสังเขปสำาหรับพจน์ต่อไปนี้ ก. โพลาไรเซชันความเข้มข้น และโพลาไรเซชันไคเนติกส์ ข. Amperostat และ Potentiostat ค. a coulomp และ a faraday ง. ขั้วทำางานและขั้วช่วย จ. วงจรอิเล็กโทรลิซิสและวงจรควบคุมสำาหรับวิธีควบคุมศักย์ 20-2 อธิบายพจน์ต่อไปนี้โดยสังเขป ก. ความหนาแน่นกระแส ข. ศักย์โอห์ม ค. การไทเทรตแบบคูลอมเมตรี ง. อิเล็กโทรลิซิสแบบควบคุมศักย์ จ. ประสิทธิภาพของกระแส ฉ. สมมูลในทางไฟฟ้าเคมี 20-3 อธิบายกลไกสามประการที่ใช้ในการถ่ายเทสปีชีส์ที่ละลายไปยัง และ ออกจากผิวขั้ว 20-4 การมีกระแสส่งผลต่อศักย์ของเซลล์ไฟฟ้าเคมีอย่างไร 20-5 โพลาไรเซชันความเข้มข้น และโพลาไรเซชันไคเนติกส์มีความ คล้ายคลึงกันและแตกต่างกันอย่างไร 20-6 ตัวแปรทางการทดลองอะไรที่ส่งผลต่อ โพลาไรเซชันความเข้มข้นใน เซลล์ไฟฟ้าเคมี 20-7 อธิบายสภาวะที่เสริมให้เกิดโพลาไรเซชันไคเนติกส์ ในเซลล์ไฟฟ้า เคมี 20-8 วิธีอิเล็กโตรกราวิเมตรีและคูลอมเมตรีต่างจากวิธีโพเทนชิโอเมตรี อย่างไร 20-9 ระบุสามปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะเฉพาะทางฟิสิกส์ของสารที่เกาะ ด้วยไฟฟ้า 20-10 คาโทดีโพลาไรเซอร์ใช้ทำาอะไร
  • 2. 20-11 amperostat และ potentiostat มีหน้าที่อะไร 20-12 อธิบายความแตกต่างระหว่างคูลอมเมตรีแบบควบคุมกระแส (amperostat coulometry) และคูลอมเมตรีแบบควบคุมศักย์ (potentiostatic coulometry) 20-13 เหตุใดปกติจึงต้องแยกขั้วทำางานออกจากขั้วช่วยในการวิเคราะห์คู ลอมเมตรีแบบควบคุมศักย์ 20-14 ทำาไมดดยทั่วไปจึงต้องใช้สารช่วย (auxiliary reagent) ในการ ไทเทรตแบบคูลอม์เมตรี 20-15 คำานวณจำานงนไอออนที่เกี่ยวข้องที่ผิวของขั้วในแต่ละวินาทีที่เซลล์ ไฟฟ้าเคมีทำางานที่ 0.020 A และไอออนที่เกี่ยวข้องเป็นไอออนที่มีประจุ ก. หนึ่ง ข. สอง ค. สาม 20-16 คำานวณศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกาะของ ก. ทองแดงจากสารละลายที่มี 0.150 M Cu2+ ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH 3.00 เกิดออกซิเจนที่อาโนดที่ 1.00 atm ข. ดีบุกจากสารละลายที่ 0.120 M Sn2+ ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH 4.00 เกิดออกซิเจนที่คาโทดที่ 770 ทอรร์ ค. ซิลเวอร์โบรไมด์บนซิลเวอร์อาโนดจากสารละลายที่มี 0.0864 M Br- ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH 3.00 เกิดไฮโดรเจนที่คาโทดที่ 765 ทอรร์ ง. Tl2O3 จากสารละลายที่มี 4.00x10-3 M Tl+ ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH 8.00 สารละลายได้จัดให้มี 0.010 M Cu2+ ซึ่งทำาหน้าที่เป็นคาดทดดี โพลาไรเซอร์กระบวนการคือ Tl2O3(s) + 3H2O + 4e-  2Tl + 6- OH Eo = 0.020V 20-17 คำานวณศักย์เริ่มต้นในการให้ได้กระแส 0.078 A ในเซลล์ Co/Co2+ (6.40x10-2 M)ll Zn2+ (3.75x10-3 M)lZn หากเวลล์นี้มี ความต้านทาน 5.00Ω 20-18 เซลล์ SnlSn2+ (8.22x10-4 )ll Cd2+ (7.50x10-2 M)llCd มีความ ต้านทาน 3.95 Ω คำานวณศักย์เริ่มต้นที่ต้องใช้ให้ได้กระแส 0.072 A ในเซลล์นี้ 20-19 ต้องการให้มีการเกาะของทองแดงจากสารละลายที่มี 0.200 M Cu(ll) และบัฟเฟอร์ให้มี pH 4.00 เกิดออกซิเจนจากอาโนดที่ความ
  • 3. ดันย่อย 740 ทอรร์ เซลล์มีความต้านทาน 362Ω อุณหภูมิคือ 25o C คำานวณ ก. ศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของทองแดงจาก สารละลายนี้ ข. ค่าการตกของ IR ที่เกี่ยวข้องกับกระแส 0.10 A ในเซลล์นี้ ค. ศักย์เริ่มต้น กำาหนดว่า โอเวอร์โวลเตจของออกซิเจนคือ 0.50 V ภายใต้สภาวะเหล่านี้ ง. ศักย์ของเซลล์เมื่อ [Cu2+ ] คือ 8.00x10-6 อนุมานว่าการตกของ IR และโอเวอร์โวลเตจของออกซิเจนไม่เปลี่ยนแปลง 20-20 ต้องการให้มีการเกาะของนิเกิลบนคาโทดพลาตินัม (พื้นที่ = 120 ซม 2 ) จากสารละลายที่มี 0.200 M Ni2+ และบัฟเฟอร์ให้มี pH 2.00 เกิดออกซิเจนที่ความดันย่อย 1.00 atm ที่อาโนดพลาตินัมซึ่งมี พื้นที่ 80 ซม 2 เซลล์มีความต้านทาน 3.15Ω อุณหภูมิคือ 25o C คำานวณ ก. ศักย์เทอร์โมไดนามิกส์ที่จำาเป็นในการเริ่มเกาะของนิเกิล ข. ค่าการตกของ IR สำาหรับกระแส 1.10 A ค. ความหน่าของกระแสที่อาโนดและคาโทด ง. ศักย์ที่ให้ในตอนเริ่มต้น กำาหนดว่าโอเวอร์โวลเตจออกซิเจนบนพลา ตินัมมีค่า ประมาณ 0.52 V ภายใต้สภาวะเหล่านี้ จ. ศักย์ที่ให้เมื่อความเข้มข้นของนิเกิลลดลงเป็น 2.00x10-4 M 20-21 ต้องการให้มีการเกาะของซิลเวอร์จากสารละลายที่มี 0.150 M Ag(CN)2 - 0.320 M KCN และบัฟเฟอร์ให้มี pH 10.00 เกิด ออกซิเจนที่อาโนดที่ความดันย่อย 1.00 atm เวลล์มี ความต้านทาน 2.90 Ω อุณหภูมิคือ 25 o C คำานวณ ก. ศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของซิลเวอร์จาก สารละลายนี้ ข. ค่าการตกของ IR ที่เกี่ยวข้องกับกระแส 0.12 A ในเซลล์นี้ ค. ศักย์ที่ให้ในตอนเริ่มต้น กำาหนดว่า โอเวอร์โวลเตจของ O2 คือ 0.80 V ภายใต้สภาวะเหล่านี้ ง. ศักย์ของเซลล์เมื่อ [Ag(CN)2 - ] คือ 1.00x10-5 M อนุมานว่าไม่ เปลี่ยนแปลงในการตกของ IR และโอเวอร์โวลเตจของ O2 20-22 สารละลายมี 0.150 M Co2+ และ 0.0750 M Cd2+ ให้คำานวณ
  • 4. ก. ความเข้มข้นของ Co2+ ในสารละลายเมื่อแคดเมืยมตัวแรกเริ่มเกาะ ข. ศักย์คาโทดที่ต้องใช้ในการลดความเข้มเข้นของ Co2+ เป็น 1.00x10-5 M 20-23 สารละลายมี 0.0500 M BiO+ และ 0.0400 M Co2+ มี pH 2.50 ให้คำานวณ ก. ความเข้มข้นของแคทไอออนที่ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายว่ามีค่าเท่าใดในตอนที่ ตัวที่ถูกรีดิวซ์ยากเริ่มเกาะ ข.ศักย์คาโทดมีค่าเท่าใดเมื่อความเข้มข้นของสปีชีส์ที่รีดิวส์ได้ง่ายกว่า คือ 1.00x10-6 M 20-24 ได้มีการเสนอการวิเคราะห์แบบอิเล็กโตรกราวิเมตรีเกี่ยวข้องกับ การควบคุมศักย์คาโทดในการแยก BiO+ และ Sn2+ ในสารละลายที่มี 0.200 M ของแต่ละไอออนและบัฟเฟอร์ให้มี pH 1.50 คำานวณ ก. ศักย์คาโทดทางทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของไอออนที่ ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายกว่า ข. ความเข้มข้นที่เหลือของตัวที่ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายกว่าที่ตอนเริ่มต้นของ การเกาะของสปีชีส์ที่ถูกรีดิวซ์ได้ยากกว่า ค. เสนอช่วงศักย์คาโทด (เทียบกับ SCE) ที่ต้องควบคุมหากเป็นไปได้ให้ ใช้ 10-6 M เป็นเกณฑ์ในการแยกที่สมบูรณ์ในเชิงปริมาณ 20-25 เฮไลด์ไอออนสามารถเกาะบนอาโนดซิลเวอร์ได้ดังปฏิกิริยา Ag(s) + X- → AgX(s) + e- ก. ถ้าใช้ 1.00x10-5 M เป็นเกณฑ์สำาหรับการแยกที่สมบูรณ์ในเชิง ปริมาณ ในทางทฤษฏีจะเป็นไปได้หรือไม่ในการแยก Br- จาก I- โดย การควบคุมศักย์อาโนดในสารละลายที่ตอนแรกมีแต่ละไอออน 0.250 M ข. ในการแยก Cl- และ I- จะเป็นไปได้หรือไม่ในทางทฤษฏีการแยก หากสารละลายในตอนแรกมีแต่ละไอออน 0.250 M ค. หากการแยกเป็นไปได้ในข้อ ก หรือ ข ให้หาช่วงศักย์อาโนดที่ติอง ใช้ในการแยก (เทียบกับ SCE) 20-26 สารละลายมี 0.100 M ของแคทไอออนที่ถูกรีดิวซ์ได้สองตัวคือ A และ B การขจัดสปีชีส์ที่ถูกรีดิวส์ได้ง่ายกว่าคือ A จะพิจารณาว่า สมบูรณ์เมื่อ [A] ลดลงเหลือ 1.00x10-5 M ค่าความแตกต่างของศักย์
  • 5. ขั้วมาตรฐานเท่าไรจึงจะทำาให้สามารถแยก A ออกไปโดยปราศจาก การรบกวนจาก B หากกำาหนดให้ประจุของ A และ B เป็นดังนี้ A B ก. 1 1 ข. 2 1 ค. 3 1 ง. 1 2 จ. 2 2 ฉ. 3 2 ช. 1 3 ซ. 2 3 ฌ . 3 3 20-27 คำานวณเวลาที่ต้องใช้ในการเกาะของ 0.500 g Co(II) ภายใต้ กระแส 0.961 A ในรูป ก. ธาตุโคบอลต์บนผิวคาโทด ข. Co3O4 บนอาโนด 20-28 คำานวณเวลาที่ต้องใช้ใน ภายใต้กระแส 1.20 A ในการเกาะของ สารต่อไปนี้ ก. Tl(II) ในรูปธาตุบนคาโทด ข. Tl(II) ในรูป Tl2O3 บนคาโทด ค. Tl(l) ในรูปธาตุบนคาโทด 20-29 สารตัวอย่างกรดอินทรีย์บริสุทธิ์ 0.156 g นำามาสะเทินด้วยไฮดร อกไซด์ไอออนที่ผลิตจากกระแสคงที่ 0.0401 A เป็นเวลา 5 นาที 24 วินาที คำานวณนำ้าหนักสมมูลของกรด (มวลของกรดที่มีโปรตอน 1 โมล) 20-30 ความเข้มข้นของ CN- ในสารละลายสำาหรับเคลือบ 10.0 ml หาก ได้ดดยการไตเทรตกับไฮโดรเจนไอออนจนถึงจุดยุติเมทิลออเรนจ์ การ เปลี่ยนสีเกิดขึ้นหลังผ่านกระแส 43.4 mA เป็นเวลา 3 นาที 22 วินาที คำานวณกรัมของ NaCN ต่อลิตรของสารละลาย 20-31 HgNH3Y2- เกินพอถูกเติมลงไปใน 25.00ml ของนำ้าบ่อ หาความ กระด่างของนำ้าในรูป ppm CaCO3 หาก EDTA ที่ต้องใช้ในการไต
  • 6. เทรตถูกสร้างขึ้นที่คาโทดปรอทโดยใช้กระแส 31.6 mA เป็นเวลา 2.02 นาที 20-32 I2 ที่ผลิตโดยใช้ไฟฟ้า นำามาหาปริมาณ H2S ในนำ้าตัวอย่าง 100.0 ml เมื่อเติม KI มากเกินพอ การไตเทรตต้องใช้กระแส 36.32 mA เป็นเวลา 10.12 นาที ปฏิกิริยาคือ H2S + I2 → S(s) + 2H+ + 2I- แสดงผลการวิเคราะห์ในรูป ppm H2S 20-33 ไนโตรเบนซีนในของผสมอินทรีย์ 210 mg ถูกรีดิวซ์ไปเป็นฟีนิล ไฮดรอกซิลเอมีนที่ศักย์คงที่ -0.96 V (เทียบกับขั้วอ้างอิง SCE) ของคา โทดปรอท C6H5NO2 + 4H+ +4e- → C6H5NHOH + H2O ละลาย สารตัวอย่างในเมทานอล 100 ml หลังจากแยกสลายด้วยไฟฟ้าเป็น เวลา 30 นาทีก็ระบุได้ว่าปฏิกิริยาสมบูรณ์ คุลอมมิเตอร์ไฟฟ้าที่ต่อกับ เซลล์ระบุว่าการรีดักชันต้องใช้ 26.74 C คำานวณเป็นเปอร์เซ็นต์ C6H5NO2 ในตัวอย่าง 20-34 ฟีนอลในนำ้าจากเตา วิเคราะห์ได้โดยใช้วิธีคูลอมเมตรี สาร ตัวอย่าง 100 ml ถูกนำามาทำาให้เป็นกรดเล็กน้อย แล้วเติม KBr มาก เกินพอ แล้วผลิต Br2 จากปฏิกิริยา C6H5OH + 3Br2 → Br3C5H2OH(s) + 2HBr โดยใช้กระแสคงที่ 0.0313 A เป็นเวลา 7 นาทีและ 33 วินาที แสดงผลของการวิเคราะห์ในรูปส่วนของ C6H5OH ต่อนำ้าล้านส่วน (อนุมานว่าความหนาแน่นของนำ้าคือ 1.00 g/ml) 20-35 ที่ศักย์ -1.0 V (Vs, SCE) CCl4 ในเมทานอลถูกรีดิวซ์เป็น CHCl3 ที่คาดทดปรอท: 2CCl4 + 2H+ + 2e- +2Hg(e) → 2CHCl3 + Hg2Cl3(s) ที่ -1.80 V CHCl3 ทำาปฏิกิริยาต่อไปได้เป็น CH4: 2CHCl4 + 6H+ + 6e- +6Hg(e) → 2CH4 + 3Hg2Cl2(s) สารตัวอย่าง 0.750 g มี CCL4 และสปีชีส์อินทรีย์เฉื่อยนำามาละลาย ในเมทานอลและแยกสลายด้วยไฟฟ้า -1.0 V จนกระทั่งกระแสมีค่าใกล้ 0 คูลอมมิเตอร์ระบุว่าต้องใช้ 11.63 C ในการทำาปฏิกิริยาสมบูรณ์ จากนั้นศักย์ของคาดทดถูกปรับให้เป็น -1.8 V โดยที่ในการทำาการ ไทเทรตสมบูรณ์ที่ศักย์นี้ต้องใช้อีก 68.6 C คำานวณเปอร์เซ็นต์ CCl4 และ CHCl3 ในของผสม
  • 7. 20-36 สารตัวอย่าง 0.1309 g มีเฉพาะ CHCl3 และ CH2Cl2 นำามา ละลายในเมทานอลและแยกสลายด้วยไฟฟ้าในเซลล์ที่มีคาโทดปรอท ศักย์ของคาโทดถูกรักษาไว้ให้คงที่ที่ -1.80 V (Vs, SCE) สารทั้งสองถู กรีดิวส์ไปเป็น CH4 (ดูปฏิกริยาในข้อ 20-25) คำานวณเปอร์เซ็นต์ CHCl3 และ CH2Cl2 หากต้องใช้ 306.7 C ในการทำาให้รีดักชัน สมบูรณ์ 20-37 C6H5NH2 ปริมาณเล็กน้อยสามารถหาปริมาณได้โดยการให้ทำา ปฏิกิริยากับ Br2 ที่สร้างขึ้นด้วยไฟฟ้า 3Br2 +  + 3H+ + 3Br- จากนั้นกลับขั้วของขั้วทำางาน แล้วหาปริมาณ Br2 มากเกินพอโดยการไท เตรตแบบวัดปริมาณไฟฟ้าซึ่งอาศัยการสร้าง Cu(I). Br2 + 2Cu+ → 2Br- + 2Cu2+ เติม KBr และ CuSO4 ในปริมาณที่เหมาะสมลงไปในสารละลาย 25.0 ml ที่มีอะนิลีน คำานวณจำานวนไมโครกรัมของ C6H5NH2 ในสารตัวอย่างจาก ข้อมูลต่อไปนี้ ขั้วทำางานทำา หน้าที่เป็น เวลา(นาที) ในการผลิตดดยมี กระแสคงที่ 151 MA อาโนด 3.76 คาโทด 0.270 20-38 ควิโนนสามารถถูกรีดิวซ์โดยไฮโดรควิโนนด้วย Sn (II) ที่ผลิตโดย ใช้ไฟฟ้า: + Sn2+ + 2H+  + Sn4+ จากนั้นกลับขั้วของขั้วทำางาน แล้วออกซิไดซ์ Sn(II) มากเกินพอด้วย Br2 ที่ผลิตโดยการไทเทรตแบบวัดปริมาณไฟฟ้า
  • 8. Sn2+ + Br2  Sn4+ + 2Br- เติม SnCl4 และ KBr ในปริมาณที่เหมาะสมลงไปในตัวอย่าง 50.0 ml คำานวณนำ้าหนักของ C6H4O2 ในตัวอย่างจากข้อมูลต่อไปนี้ ขั้วทำางานทำา หน้าที่เป็น เวลา(นาที) ในการผลิตโดยมี กระแสคงที่ 1.062 MA อาโนด 8.31 คาโทด 0.691