SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
www.company.com
เฉลยแบบฝึกหัด 324-341
Electrogravimetry and Coulometry
Company
LOGO
www.company.com
20-1 อธิบายความแตกต่างโดยสังเขปสำาหรับพจน์ต่อไปนี้
ก. โพลาไรเซชันความเข้มข้น และโพลาไรเซชันไค
เนติกส์
2
โพลาไรเซชันความเข้มข้น คือสภาวะซึ่งกระแสในเซลล์
ไฟฟ้าเคมีถูกจำากัดด้วยอัตราที่สารตั้งต้นถูกนำาเข้าหรือ
ออกจากผิวขั้ว
โพลาไรเซชันไคเนติกส์ คือสภาวะซึ่งกระแสในเซลล์
ไฟฟ้าเคมีถูกจำากัดด้วยอัตราที่อิเล็กตรอนถูกถ่ายโอน
ระหว่างผิวขั้วและสารตั้งต้นในสารละลาย
สำาหรับโพลาไรเซชันแบบใดแบบหนึ่งที่กล่าวมา กระแสจะ
ไม่ขึ้นกับเซลล์อีกต่อไป
www.company.com
20-1 อธิบายความแตกต่างโดยสังเขปสำาหรับ
พจน์ต่อไปนี้
ข. Amperostat และ Potentiostat
An amperostat คือแหล่งกระแสคงที่ซึ่งจะรับรู้การลดลง
ของกระแสในเซลล์และตอบสนองโดยการเพิ่มศักย์ที่ให้
กับเซลล์จนกระแสกลับไปสู่ระดับเดิม
A potentiostat คือเครื่องมือที่รักษาศักย์ของขั้วในระดับ
คงที่ตามที่กำาหนดไม่ว่าขนาดของกระแสของเซลล์จะเป็น
เท่าใด
3
www.company.com
20-1 อธิบายความแตกต่างโดยสังเขปสำาหรับ
พจน์ต่อไปนี้
ค. a coulomb และ a faraday
• ทั้งคูลอมบ์และฟาราเดย์เป็นหน่วยสำาหรับปริมาณประจุ
หรือไฟฟ้า โดยคูลอมบ์คือปริมาณประจุที่ถ่ายเทโดย
กระแสหนึ่งแอมแปร์ในหนึ่งนาที ส่วนฟาราเดย์เท่ากับ
96,485 คูลอมบ์หรือหนึ่งโมลของอิเล็กตรอน
4
www.company.com
20-1 อธิบายความแตกต่างโดยสังเขปสำาหรับ
พจน์ต่อไปนี้
ง. ขั้วทำางานและขั้วช่วย
ขั้วทำางานคือขั้วที่เกิดปฏิกิริยาที่ใช้ในการวิเคราะห์
ขั้วช่วยคือขั้วที่ไม่มีผลต่อปฏิกิริยาที่ขั้วทำางาน เพียงแต่ทำา
หน้าที่ง่าย ๆ ในการป้อนอิเล็กตรอนให้กับขั้วทำางาน
5
www.company.com
20-1 อธิบายความแตกต่างโดยสังเขปสำาหรับ
พจน์ต่อไปนี้
จ. วงจรอิเล็กโทรลิซิสและวงจรควบคุมสำาหรับวิธี
ควบคุมศักย์
วงจรอิเล็กโทรลิซิสประกอบด้วยขั้วทำางานและขั้วช่วย
วงจรควบคุมจะกำาหนดศักย์ที่ให้จนศักย์ระหว่างขั้ว
ทำางานและขั้วอ้างอิงในวงจรควบคุมคงที่ และอยู่ในระดับ
ที่ต้องการ
6
www.company.com
20-2 อธิบายพจน์ต่อไป
นี้โดยสังเขป
ก. ความหนาแน่นกระแส
ความหนาแน่นของกระแสคือกระแสที่ขั้วหารด้วยพื้นที่ผิว
ของขั้วนั้น โดยปกติจะมีหน่วยแอมแปร์ต่อตาราง
เซนติเมตร
7
www.company.com
20-2 อธิบายพจน์ต่อไปนี้โดยสังเขป
ข. ศักย์โอห์ม
• ศักย์โอห์ม คือ ศักย์ที่ต้องใช้ในการให้เกิดกระแสใน
ตัวนำา มีค่าเท่ากับกระแสในหน่วยแอมแปร์คูณกับความ
ต้านทานในหน่วยโอห์มของตัวนำา
8
www.company.com
20-2 อธิบายพจน์ต่อไปนี้
โดยสังเขป
ค. การไทเทรตแบบคูลอม
เมตรีการไทเทรตแบบคูลอมเมตรี คือวิธีการวิเคราะห์ซึ่งกระแส
คงที่ที่ทราบค่าใช้ในการผลิตรีเอเจนต์ซึ่งทำาปฏิกิริยากับ
สารที่วิเคราะห์และวัดเวลาที่ต้องใช้ในการผลิตรีเอเจนต์
ให้มากพอในการทำาปฏิกิริยาให้สมบูรณ์
9
www.company.com
20-2 อธิบายพจน์ต่อไป
นี้โดยสังเขป
ง. อิเล็กโทรลิซิสแบบ
ควบคุมศักย์
อิเล็กโทรลิซิสแบบควบคุมศักย์ คือ อิเล็กโทรลิซิสซึ่งศักย์
คาโทดมีการติดตามอย่างต่อเนื่องเทียบกับขั้วอ้างอิงและ
ปรับศักย์ของเซลล์เพื่อรักษาคาโทดไว้ที่ระดับคงที่ตามที่
กำาหนด
10
www.company.com
20-2 อธิบายพจน์ต่อไป
นี้โดยสังเขป
จ. ประสิทธิภาพของ
กระแส
ประสิทธิภาพของกระแส เป็นการวัดการสอดคล้องกัน
ระหว่างจำานวนฟาราเดย์ของกระแสและจำานวนโมลของ
สารตั้งต้นที่ถูกออกซิไดซ์หรือรีดิวซ์ที่ขั้วทำางาน
11
www.company.com
20-2 อธิบายพจน์ต่อไป
นี้โดยสังเขป
ฉ. สมมูลในทางไฟฟ้า
เคมี
สมมูลในทางไฟฟ้าเคมี คือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่
สอดคล้องกับหนึ่งโมลของอิเล็กตรอน
12
www.company.com
20-3 อธิบายกลไกสามประการที่ใช้ในการถ่ายเทสปีชีส์ที่
ละลายไปยัง และออกจากผิวขั้ว
• การถ่ายเทมวลในเซลล์ไฟฟ้าเคมี อาศัยกลไกอันใดอัน
หนึ่งจากสามประการต่อไปนี้
1) การแพร่ เกิดจากความแตกต่างของความเข้มข้น
ระหว่างสารละลายที่อยู่ติดกับผิวขั้วและสารละลายบัลค์
2) การไมเกรต เกิดจากแรงดึงดูดและแรงผลักทาง
ไฟฟ้าสถิตระหว่างสปีชีส์และขั้ว
3) การคน เกิดจากการกวน สั่น หรือความแตกต่างของ
อุณหภูมิและความหนาแน่น
13
www.company.com
20-4 การมีกระแสส่งผลต่อศักย์ของเซลล์
ไฟฟ้าเคมีอย่างไร
เมื่อมีกระแสเกิดในเซลล์ไฟฟฟ้าเคมี ศักย์ที่วัดคร่อมขั้วทั้ง
สองจะไม่ใช่ผลต่างง่าย ๆ ระหว่างศักย์ขั้วคาโทดและอา
โนดหรือศักย์ของเซลล์เทอร์โมไดนามิกส์อีกต่อไป จะมี
สองปรากฏการณ์เกิดเพิ่มขึ้นมา นั่นคือ การตกของ IR
และโพลาไรเซชัน ทำาให้ต้องใช้ศักย์มากกว่าค่าศักย์เท
อร์โมไดนามิกส์ในการใช้งานอิเล็กโตรลิติกเซลล์และ
ทำาให้เกิดศักย์น้อยกว่าทฤษฎีในกรณีเซลล์กัลวานิก
14
www.company.com
20-5 โพลาไรเซชันความเข้มข้น และโพลาไรเซ
ชันไคเนติกส์มีความคล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน
อย่างไร
ทั้งโพลาไรเซชันความเข้มข้นและโพลาไรเซชันไคเนติกส์
ต่างก็ทำาให้ศักย์ของเซลล์เป็นลบมากกว่าศักย์เทอร์โมได
มิกส์
โพลาไรเซชันความเข้มข้นเกิดจากอัตราที่สารตั้งต้นหรือ
ผลิตภัณฑ์ถูกถ่ายเทเข้าหรือออกจากผิวขั้วนั้นช้า
ส่วนโพลาไรเซชันไคเนติกส์เกิดจากการที่อัตราของ
ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีที่ผิวขั้วเกิดช้า
15
www.company.com
20-6 ตัวแปรทางการทดลองอะไรที่ส่งผล
ต่อ โพลาไรเซชันความเข้มข้นในเซลล์
ไฟฟ้าเคมี
16
www.company.com
20-7 อธิบายสภาวะที่เสริมให้เกิดโพ
ลาไรเซชันไคเนติกส์ ในเซลล์ไฟฟ้า
เคมี
17
www.company.com
20-8 วิธีอิเล็กโตรกราวิเมตรีและคูลอมเมตรี
ต่างจากวิธีโพเทนชิโอเมตรีอย่างไร
18
www.company.com
20-9 ระบุสามปัจจัยที่ส่งผลต่อลักษณะ
เฉพาะทางฟิสิกส์ของสารที่เกาะด้วยไฟฟ้า
19
www.company.com
20-10 คาโทดดีโพลาไร
เซอร์ใช้ทำาอะไร
20
www.company.com
20-11 amperostat และ
potentiostat มีหน้าที่อะไร
21
www.company.com
20-12 อธิบายความแตกต่างระหว่างคูลอม
เมตรีแบบควบคุมกระแส (amperostatic
coulometry) และคูลอมเมตรีแบบควบคุม
ศักย์ (potentiostatic coulometry)
22
www.company.com
20-13 เหตุใดปกติจึงต้องแยกขั้ว
ทำางานออกจากขั้วช่วยในการ
วิเคราะห์คูลอมเมตรีแบบควบคุมศักย์
www.company.com
20-14 ทำาไมโดยทั่วไปจึงต้องใช้สารช่วย
(auxiliary reagent) ในการไทเทรตแบบคูลอมเมตรี
24
www.company.com
20-15 คำานวณจำานวนไอออนที่เกี่ยวข้องที่ผิวของขั้วใน
แต่ละวินาทีที่เซลล์ไฟฟ้าเคมีทำางานที่ 0.020 A และ
ไอออนที่เกี่ยวข้องเป็นไอออนที่มีประจุ
ก. หนึ่ง ข. สอง ค. สาม
( )
( )
( )
1623
1623
1723
10164100226
964873
0200
3
10246100226
964872
0200
2
10251100226
96487
0200
96487
0200
0200
×=××
×
=
=
×=××
×
=
=
×=××=
=
=
=
−
−
−
..
.
e#
iontrivalent#c
..
.
e#
iondivalent#b
..
.
e#ionunivalent#a
.
f#
C.Q#
25
www.company.com
20-16 คำานวณศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกาะ
ของ
ก. ทองแดงจากสารละลายที่มี 0.150 M Cu2+
ซึ่ง
บัฟเฟอร์ให้มี pH 3.00 เกิดออกซิเจนที่อาโนดที่ 1.00
atm
[ ] [ ]
[ ] ( )
V.E
.
log
.
.
Cu
log
.
.E
HP
log
.
E
Cu
log
.
EE
cell
cell
O
cell
73880
10001
1
4
05920
2291
1
2
05920
3370
1
4
059201
2
05920
432
4
0
2
0
2
−=








×
−−−=








−−−=
−+
++
26
www.company.com
ข. ดีบุกจากสารละลายที่ 0.120 M Sn2+
ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH
4.00 เกิดออกซิเจนที่คาโทดที่ 770 ทอรร์
[ ] [ ]
( )
V.E
log
.
.
.
log
.
.E
HP
log
.
E
Sn
log
.
EE
cell
cell
O
cell
15561
10
760
770
1
4
05920
2291
1200
1
2
05920
1360
1
4
059201
2
05920
43
4
0
2
0
2
−=












×





−−−−=








−−−=
−
++
27
www.company.com
ค. ซิลเวอร์โบรไมด์บนซิลเวอร์อาโนดจากสารละลายที่มี
0.0864 M Br-
ซึ่งบัฟเฟอร์ให้มี pH 3.00 เกิดไฮโดรเจน
ที่คาโทดที่ 765 ทอรร์
[ ] [ ]
( )
( )
V.E
.
log..
/
log
.
.E
Br
log.E
H
P
log
.
EE
cell
.cell
H
cell
3370
08640
1
059202291
10
760765
2
05920
1360
1
05920
2
05920
2403
0
2
0 2
−=






−−−−=






−−−=
−
−+
28
www.company.com
ง. Tl2O3 จากสารละลายที่มี 4.00x10-3
M Tl+
ซึ่ง
บัฟเฟอร์ให้มี pH 8.00 สารละลายได้จัดให้มี 0.010 M
Cu2+
ซึ่งทำาหน้าที่เป็นคาโทดดีโพลาไรเซอร์กระบวนการ
คือ
Tl2O3(s) + 3H2O + 4e-
 2Tl + 6-
OH Eo
=
0.020V
[ ] [ ] [ ]
( ) ( )
V.E
.
log
.
.
.
log
.
.E
OHTl
log
.
E
Cu
log
.
EE
cell
cell
cell
3460
1010004
1
4
05920
0200
0100
1
2
05920
1360
1
4
059201
2
05920
6623
62
0
2
0
−=








×
−−−−=








−−−=
−−
−++
29
www.company.com
20-17 คำานวณศักย์เริ่มต้นในการให้ได้กระแส
0.078 A ในเซลล์ Co/Co2+
(6.40x10-2
M)//
Zn2+
(3.75x10-3
M)/Zn หากเซลล์นี้มีความ
ต้านทาน 5.00 Ω
[ ] [ ]
V.E
..
.
log
.
.
.
log
.
.E
IR
Co
log
.
E
Zn
log
.
EE
IREEE
cell
cell
cell
ancatcell
9130
0050780
10406
1
2
05920
2770
10753
1
2
05920
7630
1
2
059201
2
05920
23
2
0
2
0
−=
×−





×
−−−
×
−−=
−





−−−=
−−=
−−
++
30
www.company.com
20-18 เซลล์ Sn/Sn2+
(8.22x10-4
)l//Cd2+
(7.50x10-2
M)/Cd มีความต้านทาน 3.95 Ω
คำานวณศักย์เริ่มต้นที่ต้องใช้ให้ได้กระแส 0.072 A
ในเซลล์นี้
31
www.company.com
20-19 ต้องการให้มีการเกาะของทองแดงจากสารละลาย
ที่มี 0.200 M Cu(ll) และบัฟเฟอร์ให้มี pH 4.00 เกิด
ออกซิเจนจากอาโนดที่ความดันย่อย 740 ทอรร์ เซลล์มี
ความต้านทาน 362Ω อุณหภูมิคือ 25o
C คำานวณ
ก. ศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของ
ทองแดงจากสารละลายนี้
ข. ค่าการตกของ IR ที่เกี่ยวข้องกับกระแส 0.10 A ใน
เซลล์นี้
ค. ศักย์เริ่มต้น กำาหนดว่า โอเวอร์โวลเตจของออกซิเจน
คือ 0.50 V ภายใต้สภาวะเหล่านี้
ง. ศักย์ของเซลล์เมื่อ [Cu2+
] คือ 8.00x10-6
อนุมานว่าการ
ตกของ IR และโอเวอร์โวลเตจของออกซิเจนไม่
เปลี่ยนแปลง
32
www.company.com
20-20 ต้องการให้มีการเกาะของนิเกิลบนคาโทดพลาตินัม
(พื้นที่ = 120ซม2
) จากสารละลายที่มี 0.200 M Ni2+
และ
บัฟเฟอร์ให้มี pH 2.00 เกิดออกซิเจนที่ความดันย่อย 1.00
atm ที่อาโนดพลาตินัมซึ่งมีพื้นที่ 80 ซม2
เซลล์มีความ
ต้านทาน 3.15Ω อุณหภูมิคือ 25o
C คำานวณ
ก. ศักย์เทอร์โมไดนามิกส์ที่จำาเป็นในการเริ่มเกาะของนิ
เกิล
ข. ค่าการตกของ IR สำาหรับกระแส 1.10 A
ค. ความหน่าของกระแสที่อาโนดและคาโทด
ง. ศักย์ที่ให้ในตอนเริ่มต้น กำาหนดว่าโอเวอร์โวลเตจออก
ซิเจนบนพลาตินัมมีค่า ประมาณ 0.52 V ภายใต้สภาวะ
เหล่านี้
จ. ศักย์ที่ให้เมื่อความเข้มข้นของนิเกิลลดลงเป็น
2.00x10-4
M
33
www.company.com
20-21 ต้องการให้มีการเกาะของซิลเวอร์จากสารละลายที่
มี 0.150 M Ag(CN)2
-
0.320 M KCN และบัฟเฟอร์ให้มี
pH 10.00 เกิดออกซิเจนที่อาโนดที่ความดันย่อย 1.00
atm เซลล์มี ความต้านทาน 2.90 Ω อุณหภูมิคือ 25 o
C
คำานวณ
ก. ศักย์ตามทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะของ
ซิลเวอร์จากสารละลายนี้
ข. ค่าการตกของ IR ที่เกี่ยวข้องกับกระแส 0.12 A ใน
เซลล์นี้
ค. ศักย์ที่ให้ในตอนเริ่มต้น กำาหนดว่า โอเวอร์โวลเตจของ
O2 คือ 0.80 V ภายใต้สภาวะเหล่านี้
ง. ศักย์ของเซลล์เมื่อ [Ag(CN)2
-
] คือ 1.00x10-5
M
อนุมานว่าไม่เปลี่ยนแปลงในการตกของ IR และโอเวอร์
โวลเตจของ O2
34
www.company.com
( )
[ ]
[ ] [ ]
( )
( )
V.E
.
log
.
.
.
.
log..E
HP
log
.
E
)CN(Ag
CN
log.EE
V.OHeH)g(O
V.CN)s(Age)CN(Ag
EreactionHalfa
cell
cell
O
cell
940
10001
1
4
05920
2291
1500
3200
05920310
1
4
05920
05920
2291244
3102
44
2
4
0
2
0
22
2
0
2
−=








−+−−−=








−−−=
+=++
−+=+
−
−
+−
−
−+
−−
35
www.company.com
( )
( )
( ) ( )
V....E
V.E
..
.
.
log..Ed
V....Ec
V..A.IRb
appl
cell
cell
appl
332800350181
181
59202291
10001
3200
05920310
092800350940
350902120
5
2
−=−−−=
−=
+−
×
−−=
−=−−−=
−=Ω×−=−
−
36
www.company.com
Cd2+
ให้คำานวณ
ก. ความเข้มข้นของ Co2+
ในสารละลายเมื่อแคดเมื
ยมตัวแรกเริ่มเกาะ
ข. ศักย์คาโทดที่ต้องใช้ในการลดความเข้มเข้นของ
Co2+
เป็น 1.00x10-5
M
37
www.company.com
มี pH 2.50 ให้คำานวณ
ก. ความเข้มข้นของแคทไอออนที่ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายว่ามีค่าเท่าใดใน
ตอนที่ตัวที่ถูกรีดิวซ์ยากเริ่มเกาะ
ข.ศักย์คาโทดมีค่าเท่าใดเมื่อความเข้มข้นของสปีชีส์ที่รีดิวส์ได้ง่ายกว่า
คือ 1.00x10-6
M
38
www.company.com
20-24 ได้มีการเสนอการวิเคราะห์แบบอิเล็กโตรก
ราวิเมตรีเกี่ยวข้องกับการควบคุมศักย์คาโทดใน
การแยก BiO+
และ Sn2+
ในสารละลายที่มี 0.200
M ของแต่ละไอออนและบัฟเฟอร์ให้มี pH 1.50
คำานวณ
ก. ศักย์คาโทดทางทฤษฎีที่ต้องใช้ในการเริ่มเกิดการเกาะ
ของไอออนที่ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายกว่า
ข. ความเข้มข้นที่เหลือของตัวที่ถูกรีดิวซ์ได้ง่ายกว่าที่
ตอนเริ่มต้นของการเกาะของสปีชีส์ที่ถูกรีดิวซ์ได้ยากกว่า
ค. เสนอช่วงศักย์คาโทด (เทียบกับ SCE) ที่ต้องควบคุม
หากเป็นไปได้ให้ใช้ 10-6
M เป็นเกณฑ์ในการแยกที่
สมบูรณ์ในเชิงปริมาณ
39
www.company.com
20-25 เฮไลด์ไอออนสามารถเกาะบน
อาโนดซิลเวอร์ได้ดังปฏิกิริยา Ag(s)
+ X-
→ AgX(s) + e-
ก. ถ้าใช้ 1.00x10-5
M เป็นเกณฑ์สำาหรับการแยกที่
สมบูรณ์ในเชิงปริมาณ ในทางทฤษฏีจะเป็นไปได้หรือไม่
ในการแยก Br-
จาก I-
โดยการควบคุมศักย์อาโนดใน
สารละลายที่ตอนแรกมีแต่ละไอออน 0.250 M
ข. ในการแยก Cl-
และ I-
จะเป็นไปได้หรือไม่ในทาง
ทฤษฏีการแยก หากสารละลายในตอนแรกมีแต่ละไอออน
0.250 M
ค. หากการแยกเป็นไปได้ในข้อ ก หรือ ข ให้หาช่วงศักย์
อาโนดที่ต้องใช้ในการแยก (เทียบกับ SCE)
40
www.company.com
20-26 สารละลายมี 0.100 M ของแคทไอออนที่ถูกรีดิวซ์ได้สองตัวคือ
A และ B การขจัดสปีชีส์ที่ถูกรีดิวส์ได้ง่ายกว่าคือ A จะพิจารณาว่า
สมบูรณ์เมื่อ [A] ลดลงเหลือ 1.00x10-5
M ค่าความแตกต่างของศักย์ขั้ว
มาตรฐานเท่าไรจึงจะทำาให้สามารถแยก A ออกไปโดยปราศจากการ
รบกวนจาก B หากกำาหนดให้ประจุของ A และ B เป็นดังนี้
  A B
ก. 1 1
ข. 2 1
ค. 3 1
ง. 1 2
จ. 2 2
ฉ. 3 2
ช. 1 3
ซ
.
2 3
ฌ
.
3 3
41
www.company.com
20-27 คำานวณเวลาที่ต้องใช้ในการเกาะของ 0.500 g
Co(II) ภายใต้กระแส 0.961 A ในรูป
ก. ธาตุโคบอลต์บนผิวคาโทด
ข. Co3O4 บนอาโนด
( )
min.
.t
Q
t
itQ
.coulomb#
..faraday#
.
.
.
Comol#a
428
609610
1637
1637964850170
0170104882
10488
9358
5000
3
3
=
×
==
=
=×=
=××=
×==
−
−
42
www.company.com
( )
min.
.i
Q
t
itQ
.Comol.
faradayemolComol
.Comol#
eHOCoOHCob
469
609610
545
5459648510488
3
2
10488
223
10488
2843
323
2
3
432
2
=
×
==
=
=×××≡×
≡≡
×=
++=+
−+−
−+
−
−++
www.company.com
20-28 คำานวณเวลาที่ต้องใช้ใน ภายใต้กระแส 1.20 A
ในการเกาะของสารต่อไปนี้
ก. Tl(II) ในรูปธาตุบนคาโทด
ข. Tl(II) ในรูป Tl2O3บนคาโทด
ค. Tl(l) ในรูปธาตุบนคาโทด
44
www.company.com
20-29 สารตัวอย่างกรดอินทรีย์บริสุทธิ์ 0.156 g นำามาสะเทินด้วยไฮ
ดรอกไซด์ไอออนที่ผลิตจากกระแสคงที่ 0.0401 A เป็นเวลา 5 นาที
24 วินาที คำานวณนำ้าหนักสมมูลของกรด (มวลของกรดที่มีโปรตอน 1
โมล)
45
www.company.com
20-30 ความเข้มข้นของ CN-
ในสารละลายสำาหรับเคลือบ 10.0 ml
หากได้โดยการไทเทรตกับไฮโดรเจนไอออนจนถึงจุดยุติเมทิลออเรนจ์
การเปลี่ยนสีเกิดขึ้นหลังผ่านกระแส 43.4 mA เป็นเวลา 3 นาที 22
วินาที คำานวณกรัมของ NaCN ต่อลิตรของสารละลาย
46
www.company.com
20-31 HgNH3Y2-
เกินพอถูกเติมลงไปใน 25.00ml ของนำ้าบ่อ
หาความกระด่างของนำ้าในรูป ppm CaCO3 หาก EDTA ที่ต้องใช้ใน
การไตเทรตถูกสร้างขึ้นที่คาโทดปรอทโดยใช้กระแส 31.6 mA เป็น
เวลา 2.02 นาที
47
www.company.com
20-32 I2 ที่ผลิตโดยใช้ไฟฟ้า นำามาหาปริมาณH2S ในนำ้าตัวอย่าง
100.0 ml เมื่อเติม KI มากเกินพอ การไตเทรตต้องใช้กระแส 36.32
mA เป็นเวลา 10.12 นาที ปฏิกิริยาคือ H2S + I2 → S(s) +
2H+
+ 2I-
แสดงผลการวิเคราะห์ในรูป ppm H2S
48
www.company.com
ไฮดรอกซิลเอมีนที่ศักย์คงที่ -0.96 V (เทียบกับขั้วอ้างอิง SCE) ของคา
โทดปรอท C6H5NO2 + 4H+
+4e-
→ C6H5NHOH + H2O ละลายสาร
ตัวอย่างในเมทานอล 100 ml หลังจากแยกสลายด้วยไฟฟ้าเป็นเวลา 30
นาทีก็ระบุได้ว่าปฏิกิริยาสมบูรณ์ คุลอมมิเตอร์ไฟฟ้าที่ต่อกับเซลล์ระบุ
ว่าการรีดักชันต้องใช้ 26.74 C คำานวณเป็นเปอร์เซ็นต์ C6H5NO2 ใน
ตัวอย่าง
www.company.com
ตัวอย่าง 100 ml ถูกนำามาทำาให้เป็นกรดเล็กน้อย แล้วเติม KBr มาก
เกินพอ แล้วผลิต Br2 จากปฏิกิริยา C6H5OH + 3Br2 →
Br3C5H2OH(s) + 2HBr โดยใช้กระแสคงที่ 0.0313 A เป็นเวลา 7
นาทีและ 33 วินาที แสดงผลของการวิเคราะห์ในรูปส่วนของ C6H5OH
ต่อนำ้าล้านส่วน (อนุมานว่าความหนาแน่นของนำ้าคือ 1.00 g/ml)
50
www.company.com
ปรอท:
2CCl4 + 2H+
+ 2e-
+2Hg(e) → 2CHCl3 + Hg2Cl3(s) ที่ -1.80 V CHCl3
ทำาปฏิกิริยาต่อไปได้เป็น CH4:
2CHCl4 + 6H+
+ 6e-
+6Hg(e) → 2CH4 + 3Hg2Cl2(s)
สารตัวอย่าง 0.750 g มี CCL4 และสปีชีส์อินทรีย์เฉื่อยนำามาละลายในเมทา
นอลและแยกสลายด้วยไฟฟ้า -1.0 V จนกระทั่งกระแสมีค่าใกล้ 0 คูลอมมิเตอร์ระบุว่า
ต้องใช้ 11.63 C ในการทำาปฏิกิริยาสมบูรณ์ จากนั้นศักย์ของคาโทดถูกปรับให้เป็น
-1.8 V โดยที่ในการทำาการไทเทรตสมบูรณ์ที่ศักย์นี้ต้องใช้อีก 68.6 C คำานวณ
เปอร์เซ็นต์ CCl4 และ CHCl3 ในของผสม
51
www.company.com
20-36 สารตัวอย่าง 0.1309 g มีเฉพาะ CHCl3 และ CH2Cl2 นำามา
ละลายในเมทานอลและแยกสลายด้วยไฟฟ้าในเซลล์ที่มีคาโทดปรอท
ศักย์ของคาโทดถูกรักษาไว้ให้คงที่ที่ -1.80 V (Vs, SCE) สารทั้งสองถู
กรีดิวส์ไปเป็น CH4 (ดูปฏิกริยาในข้อ 20-25) คำานวณเปอร์เซ็นต์
CHCl3 และ CH2Cl2 หากต้องใช้ 306.7 C ในการทำาให้รีดักชันสมบูรณ์
52
www.company.com
Example Bullet Point slide
• Bullet point
– Sub Bullet
Company
LOGO
53
www.company.com
Example of a chart
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
1st Qtr 2nd Qtr 3rd Qtr 4th Qtr
East
West
North
South
Company
LOGO
www.company.com
Picture slide
• Bullet 1
• Bullet 2
Company
LOGO
www.company.com
Examples of default styles
• Text and lines are like this
• Hyperlinks like this
• Visited hyperlinks like this
Table
Text box Text box
With shadow
Text box
With shadow
Company
LOGO
www.company.com
Use of templates
You are free to use these templates for your personal and business presentations.
Do
 Use these templates for your
presentations
 Display your presentation on a web
site provided that it is not for the
purpose of downloading the
template.
 If you like these templates, we would
always appreciate a link back to our
website. Many thanks.
Don’t
 Resell or distribute these templates
 Put these templates on a website for
download. This includes uploading
them onto file sharing networks like
Slideshare, Myspace, Facebook, bit
torrent etc
 Pass off any of our created content as
your own work
You can find many more free templates on the
Presentation Magazine website
www.presentationmagazine.com
We have put a lot of work into developing all these templates and retain the copyright in them. They are not
Open Source templates. You can use them freely providing that you do not redistribute or sell them.
Company
LOGO

More Related Content

What's hot

เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48Unity' Aing
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีWirun
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48Unity' Aing
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีPhasitta Chem
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
ElectrochemNapajit
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 25639GATPAT1
 

What's hot (15)

เคมี Ent48
เคมี Ent48เคมี Ent48
เคมี Ent48
 
9 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 599 วิชาสามัญ เคมี 59
9 วิชาสามัญ เคมี 59
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48เฉลย เคมี Ent 48
เฉลย เคมี Ent 48
 
09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า09เคมีไฟฟ้า
09เคมีไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 
Electrochem
ElectrochemElectrochem
Electrochem
 
กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563กสพท. เคมี 2563
กสพท. เคมี 2563
 
เคมี ปี 55
เคมี ปี 55เคมี ปี 55
เคมี ปี 55
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 

Viewers also liked

Metodo Monte Carlo -Wang Landau
Metodo Monte Carlo -Wang LandauMetodo Monte Carlo -Wang Landau
Metodo Monte Carlo -Wang Landauangely alcendra
 
Operators n dirac in qm
Operators n dirac in qmOperators n dirac in qm
Operators n dirac in qmAnda Tywabi
 
Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercisePipat Chooto
 
4 theory of multiphase flows
4 theory of multiphase flows4 theory of multiphase flows
4 theory of multiphase flowsEr Gaurav Yadav
 
Lecture 7 8 statistical thermodynamics - introduction
Lecture 7 8 statistical thermodynamics - introductionLecture 7 8 statistical thermodynamics - introduction
Lecture 7 8 statistical thermodynamics - introductionViraj Dande
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
Electrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complex
Electrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complexElectrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complex
Electrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complexIOSR Journals
 
Metal ion transport and storage
Metal ion transport and storageMetal ion transport and storage
Metal ion transport and storagegihanisapu
 
Nitrogen Fixation
Nitrogen FixationNitrogen Fixation
Nitrogen Fixationdpdhanera
 
Metal ion in medicine
Metal ion in medicineMetal ion in medicine
Metal ion in medicineAnzar Sk
 
potentiometry & ion selective electode
potentiometry & ion selective electodepotentiometry & ion selective electode
potentiometry & ion selective electodersgokani
 
Black Body Radiation
Black Body RadiationBlack Body Radiation
Black Body Radiationawri
 
Biomass Growing Ppt
Biomass Growing PptBiomass Growing Ppt
Biomass Growing Pptychandra
 

Viewers also liked (20)

Potentiometry
PotentiometryPotentiometry
Potentiometry
 
Metodo Monte Carlo -Wang Landau
Metodo Monte Carlo -Wang LandauMetodo Monte Carlo -Wang Landau
Metodo Monte Carlo -Wang Landau
 
Operators n dirac in qm
Operators n dirac in qmOperators n dirac in qm
Operators n dirac in qm
 
Key to voltammetry exercise
Key to voltammetry exerciseKey to voltammetry exercise
Key to voltammetry exercise
 
4 theory of multiphase flows
4 theory of multiphase flows4 theory of multiphase flows
4 theory of multiphase flows
 
Lecture 7 8 statistical thermodynamics - introduction
Lecture 7 8 statistical thermodynamics - introductionLecture 7 8 statistical thermodynamics - introduction
Lecture 7 8 statistical thermodynamics - introduction
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Electrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complex
Electrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complexElectrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complex
Electrochemical, in-vitro in-vivo study of Co (II)-ofloxacin complex
 
Metal ion transport and storage
Metal ion transport and storageMetal ion transport and storage
Metal ion transport and storage
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
 
metals in medicine
metals in medicine metals in medicine
metals in medicine
 
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics IICHAPTER 6 Quantum Mechanics II
CHAPTER 6 Quantum Mechanics II
 
Nitrogen Fixation
Nitrogen FixationNitrogen Fixation
Nitrogen Fixation
 
Metal ion in medicine
Metal ion in medicineMetal ion in medicine
Metal ion in medicine
 
ION SELECTIVE POTENTIOMETRY
ION SELECTIVE POTENTIOMETRYION SELECTIVE POTENTIOMETRY
ION SELECTIVE POTENTIOMETRY
 
Cisplatin
CisplatinCisplatin
Cisplatin
 
potentiometry & ion selective electode
potentiometry & ion selective electodepotentiometry & ion selective electode
potentiometry & ion selective electode
 
METAL IONS IN BIOLOGY
METAL IONS IN BIOLOGYMETAL IONS IN BIOLOGY
METAL IONS IN BIOLOGY
 
Black Body Radiation
Black Body RadiationBlack Body Radiation
Black Body Radiation
 
Biomass Growing Ppt
Biomass Growing PptBiomass Growing Ppt
Biomass Growing Ppt
 

Similar to Key ex eg cou

Similar to Key ex eg cou (7)

Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Chem
ChemChem
Chem
 
เคมี
เคมี เคมี
เคมี
 
วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)วิทยาศาสตร์(เคมี)
วิทยาศาสตร์(เคมี)
 
ไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมีไฟฟ้าเคมี
ไฟฟ้าเคมี
 

More from Pipat Chooto

แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductPipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีPipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำPipat Chooto
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆPipat Chooto
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 

More from Pipat Chooto (16)

แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรีแบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 

Key ex eg cou