SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Key to voltammetry exercise
Company name
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างโวลแทมเมตรีและโพลา
โรกราฟฟี
โวลแทมเมตรีเป็นเทคนิควิเคราะห์ที่อาศัย
การวัดกระแสที่เกิดขึ้นที่ขั้วเล็กมากเมื่อศักย์
ไฟฟ้าที่ให้กับเซลล์แปรเปลี่ยนไป
โพลาโรกราฟฟีเป็นแบบพิเศษของโวลแทม
เมตรีซึ่งขั้วเล็กมากที่ใช้คือขั้วหยดปรอท
2
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างโพลาโรกราฟฟี
สแกนเชิงเส้นตรงและโพลาโรกราฟฟีแบบพัลซ์
ในโพลาโรกราฟฟีสแกนเชิงเส้นตรง จะ
ติดตามกระแสในเซลล์ที่มีขั้วหยดปรอท
อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ศักย์ที่ให้เพิ่มขึ้นใน
อัตราคงที่
ส่วนโพลาโรกราฟฟีแบบพัลซ์ สัญญาณ
กระตุ้นที่ใช้ประกอบด้วยชุดของการพัลซ์
ศักย์ให้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามเวลาโดยใส่พัลซ์
ในระหว่างช่วงมิลลิวินาทีสุดท้ายของช่วง
ชีวิตหยดปรอท กระแสจะเพิ่มขึ้นในระหว่าง
ช่วงนี้ 3
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างโพลาโรกราฟฟี
แบบดิฟเฟอเรนเชียลพัลซ์และโพลาโรกราฟฟีแบบ
สแควร์เวฟ
4
โพลาโรกราฟฟีแบบดิฟเฟอเรนเชียลพัลซ์และโพ
ลาโรกราฟฟีแบบสแควร์เวฟต่างกันที่แบบของอนุ
กรมพัลซ์ดังรูป
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างขั้วหยดปรอทแขวน
และขั้วปรอทหยด
• ขั้วปรอทหยด ปรอทจะถูกบังคับให้ไหล
ผ่านท่อคะปิลลารีเล็กมาก ทำาให้ได้หยด
ลักษณะเหมือนกันทุกประการและปกติจะมี
ช่วงชีวิต 2 – 6 วินาที
• ขั้วหยดปรอทแขวน ประกอบด้วยหยด
ปรอทเดียวโดยไม่ปล่อยให้หลุดไปจนกว่า
จะสิ้นสุดการทดลอง
5
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างกระแสจำากัดและกระแส
เรซิดวล
• กระแสเรซิดวลคือกระแสประจุนอนฟา
ราเดอิกที่เกิดจากการไหลของอิเล็กตรอน
ซึ่งต้องใช้ในการประจุแต่ละหยดของ
ปรอทเมื่อเกิดขึ้นและหลุดไป (และอาจรวม
ถึงจากปฏิกิริยาของสารปนเปื้อน)
• กระแสจำากัด คือกระแสฟาราเดอิกคงที่
ซึ่งค่ากระแสนี้ขึ้นกับอัตราการทำาปฏกิกริ
ยาและอัตราที่สารถูกนำาเข้ามาที่ผิว
6
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างกระแสจำากัด
และกระแสแพร่
• กระแสจำากัดคือกระแสคงที่ที่ไม่ขึ้นกับ
ศักย์ที่ให้ ค่าของกระแสนี้ขึ้นกับอัตราที่
สารถูกนำาไปยังผิวขั้วโดยการแพร่ การไม
เกรต และการคน
• กระแสแพร่ คือกระแสจำากัดเมื่อการ
ถ่ายเทสารที่วิเคราะห์โดยการไมเกรตและ
การคนถูกขจัดออกไป
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างลามินาร์โฟลวและเท
อร์บูเลนท์โฟลว
• ลามินาร์โฟลวคือแบบของการไหลของ
ของเหลวโดยสไลด์ผ่านกันในทิศทาง
ขนานกับผิวของของแข็ง
• เทอร์บูเลนท์โฟลวคือแบบของการไหล
ของของเหลวที่ไม่มีแบบแผนที่แน่นอน
8
21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างศักย์ขั้ว
มาตรฐานและศักย์ครึ่งคลื่นสำาหรับปฏิกิริยาผันกลับ
ได้ที่ขั้วเล็กมาก
• ความแตกต่างระหว่างศักย์ขั้วมาจรฐาน
(E0
) และศักย์ครึ่งคลื่น (E1/2) สำาหรับ
ปฏิกิริยาผันกลับได้ (ถ่ายโอนอิเล็กตรอน
เร็ว) แสดงได้ด้วยสมการต่อไปนี้
• เมื่อ kA และ kP คือค่าคงที่ที่เป็นสัดส่วน
กับสัมประสิทธิ์การแพร่ของสารที่วิเคราะห์
และผลิตภัณฑ์ และ Eref คือศักย์ของขั้ว
อ้างอิง 9
ref
P
A
A E
k
k
log
n
.
EE −−=
059200
2
1
ref
P
A
A E
k
k
log
n
.
EE −−=
059200
2
1
21 – 2 ให้นิยาม โวลแทมโมแกรม ไฮโดรไดนา
มิกโวลแทมเมตรี
ชั้นแพร่เนินส์ ขั้วฟิล์มปรอท ศักย์ครึ่งคลื่น
21 – 3 ทำาไมจึงจำาเป็นต้องบัฟเฟอร์สารละลายใน
โวลแทมเมตรีอินทรีย์
11
21 – 4 แสดงข้อได้เปรียบและข้อเสีย
เปรียบของขั้วหยดปรอทเทียบกับขั้วเล็กมาก
พลาตินัมหรือคาร์บอน
12
21 – 5 แสดงว่าสมการ 21 – 11 สามารถ
ใช้ในการหาจำานวนอิเล็กตรอน n ที่
เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาผันกลับที่ขั้วเล็กมาก
13
21 – 6 ควิโนนเกิดการรีดักชันแบบผันกลับได้ที่ขั้วปรอทหยด ปฏิกิริยา คือ
Q + 2H+
+ 2e_
 H2Q E°
= 0.599 V
อนุมานว่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของควิโนนและไฮโดรควิโนนเท่ากันโดย
ประมาณและคำานวณค่าศักย์ครึ่งคลื่นโดยประมาณเทียบกับ SCE สำาหรับการรี
ดักชันของไฮโดรควิโนนที่ขั้วระนาบจากสารละลายที่คนและบัฟเฟอร์ให้มี pH
7.0
ทำาการคำานวณซำ้าสำาหรับสารละลายในข้อ ก. แต่บัฟเฟอร์ให้มี pH 5.0
21 – 7 แหล่งของกระแสเรซิดวลในโพลาโร
กราฟฟีแบบสแกนเชิงเส้นตรงคืออะไร ทำาไมกระ
แสเรซิดวลจึงน้อยกว่าโพลาโรกราฟฟีแบบสุ่ม
กระแส
15
21-8 โพลาโรแกรมสำาหรับสารละลาย 20.0 mL ซึ่งมี 3.65x10-3
M Cd2+
ให้คลื่นซึ่งมีกระแสแพร่ 31.3 µA
คำานวณเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นของสารละลายหากกระแส
จำากัดถูกทิ้งไว้ให้เกิดต่อเนื่องเป็นเวลา
ก.5 นาที ข.10 นาที ค.15 นาที
( )
3071065310020
108664
2
10739
107394859610399
1039960510331
33
8
8
83
316
...origCdmol#
.
.
Cdmol#
.,/.faraday#
.minsminA.C#a
=×××=
×=
×
=
×=×=
×=•×××=
−−
−
−
−−
−−−
( )
( )
( ) %..decrease%minatc
%..decrease%minatb
%.
.
.
decrease%
...origCdmol#
.
.
Cdmol#
.,/.faraday#
.minsminA.C#a
400
5
30
067030
130
5
10
067010
0670100
10307
108664
103071065310020
108664
2
10739
107394859610399
1039960510331
5
8
533
8
8
83
316
=×=
=×=
=×
×
×
=
×=×××=
×=
×
=
×=×=
×=•×××=
−
−
−−−
−
−
−−
−−−
16
21 – 9 คำานวณมิลลิกรัมของแคดเมียมในแต่ละมิลลิลิตร
ของตัวอย่างจากข้อมูลต่อไปนี้ (แก้ไขกระแสเรซิดวลแล้ว)
  Volumes Used, mL
Solution Sa
mpl
e
0.400 M KCl 2.0010-3
M Cd2+
H2O Current, µA
(a)
15.0
15.0
20.0
20.0
0.00
5.00
15.0
10.0
79.7
95.9
(b)
10.0
10.0
20.0
20.0
0.00
10.0
20.0
10.0
49.9
82.3
(c)
20.0
20.0
20.0
20.0
0.00
5.00
10.0
5.00
41.4
57.6
(d)
15.0
15.0
20.0
20.0
0.00
10.0
15.0
5.00
67.9
100.3
17
18
( )
( ) ( )
( )
( ) ( )[ ]
( ) ( ) ( ) ( ) 3140144034603690
22480
050
22480
050
0
22480411210002 3
.d.c.b.a
ismL/mgCd,onsubstitutiwith
iiV
iV.
C
.
V.CVk
i;stdwith
.
CkV
i;V
mL/mgCd.mmol/mgCd.mL/mol.C
xdstddx
xdx
x
sxx
stdd
xx
xdstd
std
−
=
+
=
==
=××= −
( )
( ) ( )
( )
( ) ( )[ ]
( ) ( ) ( ) ( ) 3140144034603690
22480
050
22480
050
0
22480411210002 3
.d.c.b.a
ismL/mgCd,onsubstitutiwith
iiV
iV.
C
.
V.CVk
i;stdwith
.
CkV
i;V
mL/mgCd.mmol/mgCd.mL/mol.C
xdstddx
xdx
x
sxx
stdd
xx
xdstd
std
−
=
+
=
==
=××= −
21 – 10 โพลาโรแกรมต่อไปนี้ได้จากสารละลายที่มี
1.010-4
M KBr และ 0.1 M KNO3 อธิบายคลื่นที่เกิดที่
+0.12 V และการเปลี่ยนแปลงของกระแสซึ่งเริ่มที่ประมาณ
+0.48 V คลื่นที่ 0.12 V สามารถใช้ประโยชน์ในการ
วิเคราะห์ได้หรือไม่ อธิบาย
19
20
21 – 11 ปฏิกิริยาต่อไปนี้ผันกลับได้และมีศักย์ครึ่งคลื่น
-0.349 V เมื่อใช้ขั้วหยดปรอทจากสารละลายที่บัฟเฟอร์
ให้มี pH 2.5 Ox + 4H+
+ 4e_
 R ทำานายศักย์
ครึ่งคลื่นที่ pH 1.0, 3.5 และ 7.0
21
21 – 12 ทำำไมวิธีสตริพพิ่งจึงมีควำมไวมำกกว่ำ
วิธีโวลแทมเมตรีอื่นๆ
22
21 – 13 อะไรคือวัตถุประสงค์ของขั้นกำรเกำะด้วยไฟฟ้ำ
ในกำรวิเครำะห์แบบสตริพพิง
23
21 – 14 อะไรคือข้อได้เปรียบในกำรทำำโวลแทม
เมตรีด้วยขั้วเล็กยิ่ง
• ข้อได้เปรียบของโวลแทมเมตรีที่ขั้วเล็กยิ่ง
ได้แก่
1. กำรสูญเสีย IR น้อย ทำำให้สำมำรถใช้ใน
ตัวทำำละลำยที่มีค่ำคงที่ไดอิเล็กตริกตำ่ำได้
เช่นไฮโดรคำร์บอน
2. ขนำดเล็กทำำให้สำมำรถทำำกำรศึกษำทำง
ไฟฟ้ำเคมีของตัวอย่ำงที่เล็กมำก ๆ ได้ เช่น
ภำยในอวัยวะสิ่งมีชีวิต
3. กำรเข้ำสู่สมดุลได้เร็วแม้ในสำรละลำยที่ไม่
คน
Slide master
• Your Text here
• Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing
elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut
laoreet dolore magna aliquam erat volutpat. Ut wisi
enim ad minim veniam, quis nostrud exerci tation
ullamcorper suscipit lobortis nisl ut aliquip ex ea
commodo consequat.
• Duis autem vel eum iriure dolor in hendrerit in
vulputate velit esse molestie consequat, vel illum
dolore eu feugiat nulla facilisis at vero eros et
accumsan et iusto odio dignissim qui blandit
praesent luptatum zzril delenit augue duis dolore te
feugait nulla facilisi.
Print master
• Your Text here
• Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing
elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut
laoreet dolore magna aliquam erat volutpat. Ut wisi
enim ad minim veniam, quis nostrud exerci tation
ullamcorper suscipit lobortis nisl ut aliquip ex ea
commodo consequat.
• Duis autem vel eum iriure dolor in hendrerit in
vulputate velit esse molestie consequat, vel illum
dolore eu feugiat nulla facilisis at vero eros et
accumsan et iusto odio dignissim qui blandit praesent
luptatum zzril delenit augue duis dolore te feugait nulla
facilisi.

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคkhunJang Jop Jop
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานPornsak Tongma
 
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า noksaak
 

Tendances (11)

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Circuit analysis test
Circuit analysis testCircuit analysis test
Circuit analysis test
 
เทวินิน
เทวินินเทวินิน
เทวินิน
 
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทานหน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
หน่วยที่3 การต่อวงจรความต้านทาน
 
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
กฏของโอห์มและวงจรไฟฟ้า
 

En vedette

En vedette (8)

โวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรีโวลแทมเมตรี
โวลแทมเมตรี
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
 
6412121cbb2dc2cb9e460cfee7046be2 original
6412121cbb2dc2cb9e460cfee7046be2 original6412121cbb2dc2cb9e460cfee7046be2 original
6412121cbb2dc2cb9e460cfee7046be2 original
 
Voltammetry
VoltammetryVoltammetry
Voltammetry
 
Analysis instrumentation
Analysis instrumentationAnalysis instrumentation
Analysis instrumentation
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Conducto ppt
Conducto pptConducto ppt
Conducto ppt
 
Key ex eg cou
Key ex eg couKey ex eg cou
Key ex eg cou
 

Plus de Pipat Chooto

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryPipat Chooto
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductPipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryPipat Chooto
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำPipat Chooto
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆPipat Chooto
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57Pipat Chooto
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์Pipat Chooto
 

Plus de Pipat Chooto (13)

แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 

Key to voltammetry exercise

  • 1. Key to voltammetry exercise Company name
  • 2. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างโวลแทมเมตรีและโพลา โรกราฟฟี โวลแทมเมตรีเป็นเทคนิควิเคราะห์ที่อาศัย การวัดกระแสที่เกิดขึ้นที่ขั้วเล็กมากเมื่อศักย์ ไฟฟ้าที่ให้กับเซลล์แปรเปลี่ยนไป โพลาโรกราฟฟีเป็นแบบพิเศษของโวลแทม เมตรีซึ่งขั้วเล็กมากที่ใช้คือขั้วหยดปรอท 2
  • 3. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างโพลาโรกราฟฟี สแกนเชิงเส้นตรงและโพลาโรกราฟฟีแบบพัลซ์ ในโพลาโรกราฟฟีสแกนเชิงเส้นตรง จะ ติดตามกระแสในเซลล์ที่มีขั้วหยดปรอท อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ศักย์ที่ให้เพิ่มขึ้นใน อัตราคงที่ ส่วนโพลาโรกราฟฟีแบบพัลซ์ สัญญาณ กระตุ้นที่ใช้ประกอบด้วยชุดของการพัลซ์ ศักย์ให้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามเวลาโดยใส่พัลซ์ ในระหว่างช่วงมิลลิวินาทีสุดท้ายของช่วง ชีวิตหยดปรอท กระแสจะเพิ่มขึ้นในระหว่าง ช่วงนี้ 3
  • 4. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างโพลาโรกราฟฟี แบบดิฟเฟอเรนเชียลพัลซ์และโพลาโรกราฟฟีแบบ สแควร์เวฟ 4 โพลาโรกราฟฟีแบบดิฟเฟอเรนเชียลพัลซ์และโพ ลาโรกราฟฟีแบบสแควร์เวฟต่างกันที่แบบของอนุ กรมพัลซ์ดังรูป
  • 5. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างขั้วหยดปรอทแขวน และขั้วปรอทหยด • ขั้วปรอทหยด ปรอทจะถูกบังคับให้ไหล ผ่านท่อคะปิลลารีเล็กมาก ทำาให้ได้หยด ลักษณะเหมือนกันทุกประการและปกติจะมี ช่วงชีวิต 2 – 6 วินาที • ขั้วหยดปรอทแขวน ประกอบด้วยหยด ปรอทเดียวโดยไม่ปล่อยให้หลุดไปจนกว่า จะสิ้นสุดการทดลอง 5
  • 6. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างกระแสจำากัดและกระแส เรซิดวล • กระแสเรซิดวลคือกระแสประจุนอนฟา ราเดอิกที่เกิดจากการไหลของอิเล็กตรอน ซึ่งต้องใช้ในการประจุแต่ละหยดของ ปรอทเมื่อเกิดขึ้นและหลุดไป (และอาจรวม ถึงจากปฏิกิริยาของสารปนเปื้อน) • กระแสจำากัด คือกระแสฟาราเดอิกคงที่ ซึ่งค่ากระแสนี้ขึ้นกับอัตราการทำาปฏกิกริ ยาและอัตราที่สารถูกนำาเข้ามาที่ผิว 6
  • 7. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างกระแสจำากัด และกระแสแพร่ • กระแสจำากัดคือกระแสคงที่ที่ไม่ขึ้นกับ ศักย์ที่ให้ ค่าของกระแสนี้ขึ้นกับอัตราที่ สารถูกนำาไปยังผิวขั้วโดยการแพร่ การไม เกรต และการคน • กระแสแพร่ คือกระแสจำากัดเมื่อการ ถ่ายเทสารที่วิเคราะห์โดยการไมเกรตและ การคนถูกขจัดออกไป
  • 8. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างลามินาร์โฟลวและเท อร์บูเลนท์โฟลว • ลามินาร์โฟลวคือแบบของการไหลของ ของเหลวโดยสไลด์ผ่านกันในทิศทาง ขนานกับผิวของของแข็ง • เทอร์บูเลนท์โฟลวคือแบบของการไหล ของของเหลวที่ไม่มีแบบแผนที่แน่นอน 8
  • 9. 21 – 1 ระบุความแตกต่างระหว่างศักย์ขั้ว มาตรฐานและศักย์ครึ่งคลื่นสำาหรับปฏิกิริยาผันกลับ ได้ที่ขั้วเล็กมาก • ความแตกต่างระหว่างศักย์ขั้วมาจรฐาน (E0 ) และศักย์ครึ่งคลื่น (E1/2) สำาหรับ ปฏิกิริยาผันกลับได้ (ถ่ายโอนอิเล็กตรอน เร็ว) แสดงได้ด้วยสมการต่อไปนี้ • เมื่อ kA และ kP คือค่าคงที่ที่เป็นสัดส่วน กับสัมประสิทธิ์การแพร่ของสารที่วิเคราะห์ และผลิตภัณฑ์ และ Eref คือศักย์ของขั้ว อ้างอิง 9 ref P A A E k k log n . EE −−= 059200 2 1 ref P A A E k k log n . EE −−= 059200 2 1
  • 10. 21 – 2 ให้นิยาม โวลแทมโมแกรม ไฮโดรไดนา มิกโวลแทมเมตรี ชั้นแพร่เนินส์ ขั้วฟิล์มปรอท ศักย์ครึ่งคลื่น
  • 11. 21 – 3 ทำาไมจึงจำาเป็นต้องบัฟเฟอร์สารละลายใน โวลแทมเมตรีอินทรีย์ 11
  • 12. 21 – 4 แสดงข้อได้เปรียบและข้อเสีย เปรียบของขั้วหยดปรอทเทียบกับขั้วเล็กมาก พลาตินัมหรือคาร์บอน 12
  • 13. 21 – 5 แสดงว่าสมการ 21 – 11 สามารถ ใช้ในการหาจำานวนอิเล็กตรอน n ที่ เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาผันกลับที่ขั้วเล็กมาก 13
  • 14. 21 – 6 ควิโนนเกิดการรีดักชันแบบผันกลับได้ที่ขั้วปรอทหยด ปฏิกิริยา คือ Q + 2H+ + 2e_  H2Q E° = 0.599 V อนุมานว่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของควิโนนและไฮโดรควิโนนเท่ากันโดย ประมาณและคำานวณค่าศักย์ครึ่งคลื่นโดยประมาณเทียบกับ SCE สำาหรับการรี ดักชันของไฮโดรควิโนนที่ขั้วระนาบจากสารละลายที่คนและบัฟเฟอร์ให้มี pH 7.0 ทำาการคำานวณซำ้าสำาหรับสารละลายในข้อ ก. แต่บัฟเฟอร์ให้มี pH 5.0
  • 15. 21 – 7 แหล่งของกระแสเรซิดวลในโพลาโร กราฟฟีแบบสแกนเชิงเส้นตรงคืออะไร ทำาไมกระ แสเรซิดวลจึงน้อยกว่าโพลาโรกราฟฟีแบบสุ่ม กระแส 15
  • 16. 21-8 โพลาโรแกรมสำาหรับสารละลาย 20.0 mL ซึ่งมี 3.65x10-3 M Cd2+ ให้คลื่นซึ่งมีกระแสแพร่ 31.3 µA คำานวณเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นของสารละลายหากกระแส จำากัดถูกทิ้งไว้ให้เกิดต่อเนื่องเป็นเวลา ก.5 นาที ข.10 นาที ค.15 นาที ( ) 3071065310020 108664 2 10739 107394859610399 1039960510331 33 8 8 83 316 ...origCdmol# . . Cdmol# .,/.faraday# .minsminA.C#a =×××= ×= × = ×=×= ×=•×××= −− − − −− −−− ( ) ( ) ( ) %..decrease%minatc %..decrease%minatb %. . . decrease% ...origCdmol# . . Cdmol# .,/.faraday# .minsminA.C#a 400 5 30 067030 130 5 10 067010 0670100 10307 108664 103071065310020 108664 2 10739 107394859610399 1039960510331 5 8 533 8 8 83 316 =×= =×= =× × × = ×=×××= ×= × = ×=×= ×=•×××= − − −−− − − −− −−− 16
  • 17. 21 – 9 คำานวณมิลลิกรัมของแคดเมียมในแต่ละมิลลิลิตร ของตัวอย่างจากข้อมูลต่อไปนี้ (แก้ไขกระแสเรซิดวลแล้ว)   Volumes Used, mL Solution Sa mpl e 0.400 M KCl 2.0010-3 M Cd2+ H2O Current, µA (a) 15.0 15.0 20.0 20.0 0.00 5.00 15.0 10.0 79.7 95.9 (b) 10.0 10.0 20.0 20.0 0.00 10.0 20.0 10.0 49.9 82.3 (c) 20.0 20.0 20.0 20.0 0.00 5.00 10.0 5.00 41.4 57.6 (d) 15.0 15.0 20.0 20.0 0.00 10.0 15.0 5.00 67.9 100.3 17
  • 18. 18 ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )[ ] ( ) ( ) ( ) ( ) 3140144034603690 22480 050 22480 050 0 22480411210002 3 .d.c.b.a ismL/mgCd,onsubstitutiwith iiV iV. C . V.CVk i;stdwith . CkV i;V mL/mgCd.mmol/mgCd.mL/mol.C xdstddx xdx x sxx stdd xx xdstd std − = + = == =××= − ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) ( )[ ] ( ) ( ) ( ) ( ) 3140144034603690 22480 050 22480 050 0 22480411210002 3 .d.c.b.a ismL/mgCd,onsubstitutiwith iiV iV. C . V.CVk i;stdwith . CkV i;V mL/mgCd.mmol/mgCd.mL/mol.C xdstddx xdx x sxx stdd xx xdstd std − = + = == =××= −
  • 19. 21 – 10 โพลาโรแกรมต่อไปนี้ได้จากสารละลายที่มี 1.010-4 M KBr และ 0.1 M KNO3 อธิบายคลื่นที่เกิดที่ +0.12 V และการเปลี่ยนแปลงของกระแสซึ่งเริ่มที่ประมาณ +0.48 V คลื่นที่ 0.12 V สามารถใช้ประโยชน์ในการ วิเคราะห์ได้หรือไม่ อธิบาย 19
  • 20. 20
  • 21. 21 – 11 ปฏิกิริยาต่อไปนี้ผันกลับได้และมีศักย์ครึ่งคลื่น -0.349 V เมื่อใช้ขั้วหยดปรอทจากสารละลายที่บัฟเฟอร์ ให้มี pH 2.5 Ox + 4H+ + 4e_  R ทำานายศักย์ ครึ่งคลื่นที่ pH 1.0, 3.5 และ 7.0 21
  • 22. 21 – 12 ทำำไมวิธีสตริพพิ่งจึงมีควำมไวมำกกว่ำ วิธีโวลแทมเมตรีอื่นๆ 22
  • 23. 21 – 13 อะไรคือวัตถุประสงค์ของขั้นกำรเกำะด้วยไฟฟ้ำ ในกำรวิเครำะห์แบบสตริพพิง 23
  • 24. 21 – 14 อะไรคือข้อได้เปรียบในกำรทำำโวลแทม เมตรีด้วยขั้วเล็กยิ่ง • ข้อได้เปรียบของโวลแทมเมตรีที่ขั้วเล็กยิ่ง ได้แก่ 1. กำรสูญเสีย IR น้อย ทำำให้สำมำรถใช้ใน ตัวทำำละลำยที่มีค่ำคงที่ไดอิเล็กตริกตำ่ำได้ เช่นไฮโดรคำร์บอน 2. ขนำดเล็กทำำให้สำมำรถทำำกำรศึกษำทำง ไฟฟ้ำเคมีของตัวอย่ำงที่เล็กมำก ๆ ได้ เช่น ภำยในอวัยวะสิ่งมีชีวิต 3. กำรเข้ำสู่สมดุลได้เร็วแม้ในสำรละลำยที่ไม่ คน
  • 25. Slide master • Your Text here • Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam erat volutpat. Ut wisi enim ad minim veniam, quis nostrud exerci tation ullamcorper suscipit lobortis nisl ut aliquip ex ea commodo consequat. • Duis autem vel eum iriure dolor in hendrerit in vulputate velit esse molestie consequat, vel illum dolore eu feugiat nulla facilisis at vero eros et accumsan et iusto odio dignissim qui blandit praesent luptatum zzril delenit augue duis dolore te feugait nulla facilisi.
  • 26. Print master • Your Text here • Lorem ipsum dolor sit amet, consectetuer adipiscing elit, sed diam nonummy nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore magna aliquam erat volutpat. Ut wisi enim ad minim veniam, quis nostrud exerci tation ullamcorper suscipit lobortis nisl ut aliquip ex ea commodo consequat. • Duis autem vel eum iriure dolor in hendrerit in vulputate velit esse molestie consequat, vel illum dolore eu feugiat nulla facilisis at vero eros et accumsan et iusto odio dignissim qui blandit praesent luptatum zzril delenit augue duis dolore te feugait nulla facilisi.