SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
Télécharger pour lire hors ligne
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือ
SMEs
ฉบับ
เป็นเจ้าของธุรกิจ
ไม่ยากอย่างที่คิด
นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล
                                                                                                  ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบัน
                      นายสันติ วิลาสศักดานนท์
                                                    วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
                      ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
                                           อุตสาหกรรมการผลิต (SMI)
	        นับเป็นเรื่องสำคัญมากที่ทิศทางการเติบโตของเอสเอ็มอีไทย จะต้อง    	        ในแต่ละปี มีผประกอบการจำนวนมากทีเ่ ริมต้นการทำธุรกิจของตนเอง
                                                                                                  ู้                         ่
สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและในอนาคต ซึ่งขณะนี้รัฐบาลกำหนดให้           แต่มีจำนวนไม่ถึงครึ่งที่สามารถดำเนินธุรกิจให้อยู่รอดและพัฒนาให้เติบโตขึ้น
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสู่ระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative          ได้ เพียงเพราะการเริมต้นการดำเนินธุรกิจที่ไม่เป็นระบบ การไม่ทราบถึงแหล่ง
                                                                                                ่
Economy) ซึ่งนับเป็นแนวทางในการปรับตัวของเอสเอ็มอีไทยได้เป็นอย่างดี
      ข้อมูลที่จำเป็นหรือการมองข้ามเรื่องสำคัญบางเรื่องไป ทำให้การพัฒนาธุรกิจ
	        สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เป็นหนึ่งในหน่วยงานที่       ให้เติบโตเป็นไปได้ยากลำบาก การที่ผู้ประกอบการไม่รู้ว่าจะสามารถไปขอรับ
มีพันธกิจในการสนับสนุนธุรกิจเอสเอ็มอี เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ        คำปรึกษาในการแก้ไขปัญหาจากที่ใดได้บ้าง ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่ง ที่ทำให้ต้อง
                                                                          เลิกกิจการไป
ภาครัฐและเกิดประโยชน์สูงสุดให้กับผู้ประกอบการ ทั้งการผลักดันให้มีการ      	        สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต
ขยายตัวของธุรกิจอย่างต่อเนื่องและเป็นตัวกลางประสานงานกับหน่วยงานที่       (SMI) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสถาบันที่มีพันธกิจในการ
เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมการประกอบการทั้งทางด้านการหาแหล่งเงินทุน การ      พัฒนา ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนผูประกอบการเอสเอ็มอี ได้ตระหนัก
                                                                                                                       ้
จดทะเบียน การบริหารจัดการ การถ่ายทอดเทคโนโลยี รวมทั้งการสนับสนุน          ถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ คู่มือ SMEs ฉบับ “เป็นเจ้าของธุรกิจ ไม่ยาก
ในการพัฒนาด้านอื่นๆ อีกด้วย
                                              อย่างที่คิด” ขึ้น โดยผู้ประกอบการเอสเอ็มอี สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ
	        สภาอุตสาหกรรมฯ มีความตั้งใจ และมุ่งมั่นในการที่จะพัฒนาภาค        การเริมต้นในการดำเนินธุรกิจของตน เพือเป็นรากฐานในการทีจะพัฒนาธุรกิจ
                                                                                 ่                                   ่               ่
อุตสาหกรรม โดยมีความมุ่งหวังว่า คู่มือเอสเอ็มอี ฉบับ “เป็นเจ้าของธุรกิจ   ให้เติบโตยิ่งขึ้น และพัฒนาไปสู่ธุรกิจที่เข้มแข็งในอนาคต
ไม่ยากอย่างที่คิด” จะเป็นคู่มือแนะนำแนวทาง รวมถึงเทคนิคต่างๆ สำหรับผู้    	        สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต
ประกอบการใหม่ ในการวางรากฐานการดำเนินธุรกิจให้เข้มแข็งและพร้อมจะ          (SMI) มีความตั้งใจที่จะช่วยเหลือผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ในทุกๆ ด้าน การ
เติบโตต่อไปในอนาคตอย่างมั่นคง
                                            จัดทำคู่มือ การจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาฯ และโครงการอื่นๆ ที่จะดำเนินการ

                                                                         ในอนาคต ถือเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน ผู้ประกอบการ
                                                                          เอสเอ็มอี ดังกล่าว ทั้งนี้ ต้องขอขอบคุณคณะทำงานจัดทำคู่มือฯ ในการ
                                                                          ทุ่มเททำงานอย่างหนัก จนทำให้ได้คู่มือที่เป็นประโยชน์ ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้น
                                      (นายสันติ วิลาสศักดานนท์)
          ในความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้ประกอบการเอสเอ็มอี อย่างเป็นรูปธรรม
                                 ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
        
                                                   
                                                                                                           (นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล)
                                                                                                     ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันวิสาหกิจ
                                                                                                  ขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI)
ดร.ยุทธศักดิ์ สุภสร
                          ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด
                                                                                    คำนำ
                                                                                    	           สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต
                          กลางและขนาดย่อม(สสว.)
                                    (SMI) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำคู่มือ
	         ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ถือเป็นรากฐานสำคัญ
            ้                                                                       “SMEs ฉบับ เป็นเจ้าของธุรกิจไม่ยากอย่างที่คิด” เพื่อเป็นคำแนะนำความ
ของเศรษฐกิจไทย เป็นกลไกสำคัญทีจะผลักดันให้ระบบเศรษฐกิจมีความเจริญ
                                          ่                                         รู้เบื้องต้นและเสริมสร้างผู้ประกอบการ SMEs ในการเริ่มต้นดำเนินการทำ
ก้าวหน้า จำเป็นอย่างยิงทีจะต้องได้รบการวางรากฐานการประกอบกิจการอย่าง
                          ่ ่           ั                                           ธุรกิจ เพื่อให้เกิดการวางแผนที่ดีรวมถึงความเข้าใจแนวทางและขั้นตอน
เป็นระบบตังแต่เริมต้น เพือให้ธรกิจประสบความสำเร็จในการแจ้งเกิด เติบใหญ่
              ้ ่             ่ ุ                                                   การดำเนินธุรกิจ ตลอดจนวิธีการแก้ปัญหาการดำเนินธุรกิจบางประการใน
และขยายตัวขึ้นไปอย่างยั่งยืน
                                                       เบื้องต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการจุดประกายให้กับผู้ที่ต้องการเริ่มประกอบธุรกิจ
	         สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ซึ่งเป็น               ด้วยตนเอง แต่ยังกล้าๆ กลัวๆ อยู่ ให้มีความกล้ามากกว่ากลัวในการที่จะ
หน่วยงานทีทำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์กลางประสาน และขับเคลือนระบบการทำงานของ
               ่                                             ่                      ริเริ่มสร้างธุรกิจของตน และนอกจากความคาดหวังที่จะต้องการให้หนังสือ
ทุกภาคส่วนทีเ่ กียวข้องกับเอสเอ็มอี รูสกยินดีเป็นอย่างยิง ที่ได้รบทราบว่า สภา
                   ่                      ้ึ                   ่     ั              เล่มนีเ้ ป็นคูมอของผูประกอบการรายใหม่แล้ว สำหรับผูประกอบการทีประกอบ
                                                                                                  ่ื      ้                               ้           ่
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ซึงเป็นพันธมิตรทีดกบ สสว. ตลอดมา
                                                ่                ่ีั                ธุรกิจอยู่แล้ว หากได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้วบางที ท่านอาจจะได้รับทราบ
ได้จดทำคูมอ SMEs ฉบับ “เป็นเจ้าของธุรกิจไม่ยากอย่างทีคด” ขึน ซึงถือเป็น
      ั ่ื                                                        ่ิ ้ ่            กลเม็ดเคล็ดลับบางอย่างที่ท่านได้ทำตกหล่นหรือมองข้ามไป ซึ่งอาจจะนำ
อีกหนึ่งคู่มือที่จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับผู้ประกอบการที่กำลังจะเริ่มต้น        มาใช้ได้ให้เป็นประโยชน์ต่อธุรกิจของท่านได้ หลังอ่านหนังสือเล่มนี้จบ
ดำเนินกิจการของตนเอง หรือผูประกอบการทียงไม่เข้าใจข้อมูลบางอย่างเกียวกับ
                                 ้                ่ั                        ่       	           กาจจัดทำหนังสือเล่มนี้ เป็นหนึ่งในภารกิจอันหลากหลายของ
การทำธุรกิจ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการทำธุกจของตนเองได้ อีกทังการ
                                                         ิ                    ้     สถาบัน SMI ที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาขีดความสามารถ SMEs
สนับสนุนให้เกิดผูประกอบการใหม่ เพิมขึนมาอย่างมีคณภาพในระบบธุรกิจของ
                     ้                      ่ ้            ุ                        ของประเทศให้สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืนและมีขีดความสามารถในการ
ประเทศ ก็นบได้วาเป็นหนึงในภารกิจและยุทธศาสตร์ของสสว. ด้วยแล้ว ผมเอง
                 ั ่           ่                                                    แข่งขันสูงขึ้น สถาบัน SMI หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เนื้อหาสาระที่บรรจุอยู่ใน
ก็ยิ่งมีความยินดีที่ได้เห็นหนังสือคู่มือเล่มนี้และก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ส.อ.ท.จะ   หนังสือคู่มือเล่มนี้ คงจะสร้างประโยชน์ต่อท่านผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs
ดำเนินการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ร่วมกับสสว.              และผู้สนใจทั่วไปได้เป็นอย่างดี
ให้ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ                                                                                          
ก่อเกิดผลประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของประเทศ ต่อไป
                                                                                                                 
                                                                                                                                                            

                                                                                                                                                           
                                                                                                                                        (นายอำนาจ นันทหาร)
                                                                                                        รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันวิสาหกิจขนาดกลาง
                                         (ดร.ยุทธศักดิ์ สุภสร)
                                                      และขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI)
                             ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง
                               ประธานคณะทำงานจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ
                                                                                                             ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs Consulting Center)
                                         และขนาดย่อม(สสว.)
คณะกรรมการสถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
                                                       คณะกรรมการบริหารสถาบันวิสาหกิจขนาดกลาง
อุตสาหกรรมการผลิต (SMI) วาระ 2551-2553

                                                                                                   และขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI) วาระ 2551-2553	
                                                                                                   
                                                                                                                
ที่ปรึกษา
                                                                                         ทีปรึกษา
                                                                                                     ่
                                                                                                   	 1. นายสุชาติ วิสวรรณ	  ุ                     รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                         ทีปรึกษา
                                                                                                                                                                                                                   ่
	 1. ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี	           ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม	                  ที่ปรึกษา
            	 2. ดร.ธนิต โสรัตน์	                          รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                         ทีปรึกษา
                                                                                                                                                                                                                     ่
	 2. นายปราโมทย์ วิทยาสุข	           รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม	               ที่ปรึกษา
            	 3. นายทวี ปิยะพัฒนา	                         รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                         ทีปรึกษา
                                                                                                                                                                                                                       ่
	 3. นายอาทิตย์ วุฒิคะโร	            อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม	            ที่ปรึกษา
            	 4. นายทวีกจ จตุรเจริญคุณ 	
                                                                                                                 ิ                                รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                         ทีปรึกษา
 ่
	 4. นายภักดิ์ ทองส้ม	               รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจ	 ที่ปรึกษา
            	 5. นายธานี พุฒพนธุพฤทธิ	
                                                                                                                         ิั ์ ์                   เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                         ทีปรึกษา
   ่
		                                   ขนาดกลางและขนาดย่อม 			
                                      	 6. นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา	                    ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคใต้	                                   ทีปรึกษา
     ่
	 5. นายโสฬส สาครวิศว	               กรรมการผู้จัดการธนาคารวิสาหกิจขนาดกลาง	 ที่ปรึกษา
            	 7. นายวิศษฐ์ ลิมลือชา	
                                                                                                              ิ ้                                 เหรัญญิกสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                          ทีปรึกษา
       ่
                                                                                                   	 8. นายเกรียงไกร เธียรนุกล	                 ุ ประธานกลุมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณฑ์กระดาษ	 ทีปรึกษา
                                                                                                                                                            ่                                                ั                   ่
		                                   และขนาดย่อม			
                                               	 9. นายภักดิ์ ทองส้ม	                         รองผูอำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง
                                                                                                                                                        ้
	 6. ศ.ดร.ธเนตร นรภูมิพิภัชน์	       ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง	 ที่ปรึกษา
            		                                             และขนาดย่อมหรือผูแทน	                         ้              ทีปรึกษา
                                                                                                                                                                                                                 ่
		                                   และขนาดย่อม			
                                               	 10. รศ.ชัยยศ สันติวงษ์	
                                                                                                   
                                              มหาวิทยาลัยเชียงใหม่	                                        ทีปรึกษา
           ่
	 7. รศ.ดร.กิตติ ลิ่มสกุล 	

                                    คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย	 ที่ปรึกษา
              กรรมการ
คณะกรรมการ
                                                                                        	 1. นายพยุงศักดิ์ ชาติสทธิผล	           ุ     รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                         ประธาน
	 1. นายสันติ วิลาสศักดานนท์	        ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	         ประธาน	
            	 2. นายเจน นำชัยศิร	               ิ          รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                      รองประธาน
                                                                                                   	 3. นายสมมาต ขุนเศษฐ	                         รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                      รองประธาน
	 2. นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล	      รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	      รองประธาน
          	 4. นายอำนาจ นันทหาร	                         รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                      รองประธาน
	 3. นายสุชาติ วิสุวรรณ	             รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	      กรรมการ
            	 5. นายมานะผล ภูสมบุญ	     ่                  กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                           รองประธาน
	 4. นายทวีกิจ จตุรเจริญคุณ	         รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	      กรรมการ
            	 6. นายอิศเรศ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต	 กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                                        รองประธาน
	 5. นายมังกร ธนสารศิลป์	            รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	      กรรมการ
            	 7. นายประเสริฐ ธรรมมนุญกุล	 กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                                            รองประธาน
	 6. นายสมพงษ์ ตันเจริญผล 	          รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	      กรรมการ
            	 8. นายวิเชียร เชิดชูตระกูลทอง	 กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                                         กรรมการ
                                                                                                   	 9. นายประยงค์ หิรญญะวณิชย์	 ประธานคณะกรรมการคลัสเตอร์ยางและไม้ยางพารา	
                                                                                                                                   ั                                                                           กรรมการ
	 7. ดร.ธนิต โสรัตน์        	        รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	      กรรมการ
            	 10. นายเดช พัฒนเศรษฐพงษ์	 ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองนุงห่ม	
                                                                                                                                                              ่                                     ่ ่        กรรมการ
	 8. นายธานี พุฒิพันธุ์พฤทธิ์ 	      เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	      กรรมการ
            	 11. นายวงกต ตังสืบกุล	
                                                                                                                          ้                       ประธานกลุมอุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์	
                                                                                                                                                                ่                                              กรรมการ
	 9. นายเจน นำชัยศิริ 	              รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	   กรรมการ
            	 12. ดร.ชโย ตรังอดิศยกุล	            ั        ประธานกลุมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง	
                                                                                                                                                                  ่                                            กรรมการ
	 10. นายไพรัตน์ ตังคเศรณี 	         รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	   กรรมการ
            	 13. นายปัญญาสาร ปริศวงศ์	                    รองประธานกลุมอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์	 กรรมการ
                                                                                                                                                                                            ่
	 11. นายวัลลภ วิตนากร 	             รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	   กรรมการ
            	 14. นายเชิญพร เต็งอำนวย	                     ประธานกลุมอุตสาหกรรมยา	
                                                                                                                                                                    ่                                          กรรมการ
	 12. นายสมมาต ขุนเศษฐ 	             รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	   กรรมการ
            	 15. นายธวัฒน์ จิว	                           ประธานกลุมอุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑ์หนัง	
                                                                                                                                                                      ่                                        กรรมการ
                                                                                                    	 16. นางกรภัคร์ มีสทธิตา	       ิ            ประธานกลุมอุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม	
                                                                                                                                                                        ่                                      กรรมการ
	 13. นายอำนาจ นันทหาร 	             รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	   กรรมการ
            	 17. นางสาวสุภาภรณ์ ชัยสถาวรวงศ์	 กรรมการกลุมอุตสาหกรรมอาหาร	                   ่                          กรรมการ
	 14. นายวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา 	         เหรัญญิกสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	       กรรมการ
            	 18. นายสมสิทธิ์ มูลสถาน	                     ประธานกลุมอุตสาหกรรมการจัดการของเสีย
                                                                                                                                                                          ่
	 15. นายอิศเรศ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต	   กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	        กรรมการ
            		                                             และวัสดุเหลือใช้	                                            กรรมการ
	 16. นายวิเชียร เชิดชูตระกูลทอง	    กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	        กรรมการ
            	 19. นายกมล สุรงค์สรยกุล	 ั ุิ                ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองจักรกลการเกษตร	
                                                                                                                                                                            ่                        ่         กรรมการ
	 17. นายประเสริฐ ธรรมมนุญกุล	       กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	        กรรมการ
            	 20. นายอเนน อึงอภินนท์	
                                                                                                                         ้ ั                      ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองจักรกลและโลหะการ	 กรรมการ
                                                                                                                                                                              ่                        ่
	 18. นายชาญ สารเลิศโสภณ 	           ผู้อำนวยการบริหาร	                        กรรมการ
            	 21. นายไพรัตน์ เอือชูยศ	    ้                ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองปรับอากาศและ
                                                                                                                                                                                ่                        ่
                                                                                                   		                                             เครืองทำความเย็น	
                                                                                                                                                      ่                                                        กรรมการ	
	 19. นายสิรินทร์ ปิยพฤทธิ์	         ผู้อำนวยการสถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและ	     กรรมการ
            	 22. ดร.เมธี โอฬารสกุล	                       กรรมการกลุมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์	     ่                        กรรมการ
    	                                ขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI)	          และเลขานุการ
       	 23. นายทีฆ คุณวัฒน์	                         เลขาธิการกลุมอุตสาหกรรมน้ำตาล	          ่                    กรรมการ
	 20. นายเอนก สิริวิชช์	             ที่ปรึกษาสำนักงานสภาอุตสาหกรรม	           กรรมการและ
         	 24. นายสมศักดิ์ สิทธิชาญคุณะ	 กรรมการและเหรัญญิกกลุมอุตสาหกรรมพลาสติก	                       ่            กรรมการ
		                                   แห่งประเทศไทย	                            ผู้ช่วยเลขานุการ
   	 25. นายพิชย ถินสันติสข	
                                                                                                                     ั ่                      ุ   ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน	
                                                                                                                                                                                  ่                            กรรมการ
                                                                                                   	 26. นายสุทน พรชัยสุรย	
                                                                                                                   ิ                       ี์     กรรมการกลุมอุตสาหกรรมโรงเลือยและโรงอบไม้	
                                                                                                                                                                                        ่                  ่   กรรมการ
                                                                                                   	 27. นางสาวพจนาถ โตวรรณเกษม	 รองประธานกลุมอุตสาหกรรมสมุนไพร	                              ่                กรรมการ
28. ดร.สมพล เติมพิทยาเวช	 ประธานกลุมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครืองประดับ	
    29. นายธนพล สินบริสทธิ	
                        ุ ์
    30. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ	
                                            ่

    31. ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือผูแทน	
	 32. นายชาญชัย จินดาสถาพร	
	 33. นายสมนึก นาคะศักดิเ์ สวี	
	 34. นายประภาส เอือนนทัช	
                      ้
                                                      ้
                                ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคตะวันออก	
                                ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคกลาง	
                                รองประธานสภาอุตสาหกรรมภาคใต้	
                                                                   ่
                                  รองประธานกลุมอุตสาหกรรมชินส่วนและอะไหล่ยานยนต์	
                                               ่           ้
                                  ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ	
                                                                                           กรรมการ
                                                                                           กรรมการ
                                                                                           กรรมการ
                                                                                           กรรมการ
                                                                                           กรรมการ
                                                                                           กรรมการ
                                                                                           กรรมการ
                                                                                                             แนะนำสถาบัน
                                                                                                             	  
                                                                                                                                                    SMI
	 35. นายสมเกียรติ อึงอารี	     นายกสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย	                           กรรมการ
                                                                                                             	       สถาบั น วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มอุ ต สาหกรรมการผลิ ต
	 36. นางสาวนพรัตน์ สุขชัย	     กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย	                         กรรมการ
          (Small and Medium Industrial Institute : SMI) ได้รับอนุมัติการจัดตั้งจาก
	 37. นายกรกฎ ผดุงจิตต์	        ผูชวยเลขานุการสายงานสภาจังหวัด	
                                  ้่                                                       กรรมการ
	 38. นายชาญ สารเลิศโสภณ	       ผูอำนวยการบริหาร	
                                  ้                                                        กรรมการ
          มติที่ประชุมคณะกรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12/2550
	 39. นายสิรนทร์ ปิยพฤทธิ	
            ิ            ์      ผูอำนวยการสถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม	
                                    ้                                                      กรรมการ
          /220 (21) เมื่อวันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม 2550 เพื่อให้เป็นศูนย์กลางสนับสนุน
		                              อุตสาหกรรมการผลิต (SMI)	                                   และเลขานุการ
	 40. นายเอนก สิรวชช์	
                   ิิ           ทีปรึกษาสำนักงานสภาอุตสาหกรรมฯ 	
                                      ่                                                    กรรมการและ
       ช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMI และเสนอนโยบายต่างๆ ทีแก้ปญหา พัฒนาให้ผู้
                                                                                                                                                                   ่ ั
			                                                                                        ผูชวยเลขานุการ
                                                                                             ้่              ประกอบการ SMI ภาคอุตสาหกรรมการผลิตสามารถอยู่ได้อย่างเข้มแข็งและยังยืน
                                                                                                                                                                                  ่
คณะทำงานศูนย์ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการขนาดกลาง
และขนาดย่อม (SMEs Consulting center) สถาบันวิสาหกิจขนาดกลาง
                                                     โดยมีโครงสร้างองค์กรดังนี
                                                                                                                                          ้        ส.อ.ท
และขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI)
	 
ที่ปรึกษา
                                                                                                                             คณะกรรมการสถาบัน SMI
	 1. นายสุชาติ วิสุวรรณ	             ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 ที่ปรึกษา
	 2. นายทวีกิจ จตุรเจริญคุณ	 ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 ที่ปรึกษา	
	 3. นายภักดิ์ ทองส้ม	               ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 ที่ปรึกษา
                                               คณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI
คณะทำงาน
	 1. นายอำนาจ นันทหาร	               รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 ประธาน
                                                              สถาบัน SMI
	 2. นายวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา	           ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 รองประธาน
	 3. นายประเสริฐ ธรรมมนุญกุล	 รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 รองประธาน
	 4. นางกรภัคร์ มีสิทธิตา	           กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 คณะทำงาน
                                                งานวิชาการ
                 งานบริหาร
	 5. นายพิชัย ถิ่นสันติสุข	          กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 คณะทำงาน
	 6. นายปัญญาสาร ปริศวงศ์	 กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 คณะทำงาน
	 7. นายกรกฎ ผดุงจิตต์	              กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 คณะทำงาน
                            	        วิสยทัศน์ สถาบัน SMI “เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ประสาน ส่งเสริม
                                                                                                                         ั
	 8. นายอมรพันธุ์ พูลสวัสดิ์	        รองประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก	 คณะทำงาน
	 9. นายสมปอง ผลเจริญจิต	 เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ	                        คณะทำงาน
                   สนับสนุน และเชื่อมโยง เครือข่าย ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ
	 10. นายสุรินทร์ โกรพินธานนท์	 ที่ปรึกษาสายงานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด	 คณะทำงาน
                               ขนาดย่อมภาคการผลิต เพือเพิมศักยภาพและขีดความสามารถทางการแข่งขัน
                                                                                                                                        ่ ่
	 11. นายพงศา แสนใจงาม	              กรรมการสายงานแรงงาน	                        คณะทำงาน
	 12. นายพงษ์ศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ	กรรมการสายงานแรงงาน	                        คณะทำงาน
                   อย่างยั่งยืน”
	 13. นายชาญ สารเลิศโสภณ	 กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI	 คณะทำงาน
	 14. นายมนต์ชัย รัตนะ	              ผู้ช่วยผู้อำนวยการบริหารและรักษาการผู้อำนวย	คณะทำงาน
                      สถานที่ ติ ด ต่ อ : สถาบั น วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม
		                                   การฝ่ายกิจการ สภาจังหวัดและงานทะเบียน			                                   อุ ต สาหกรรมการผลิ ต (SMI) สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย
         
	 15. นายสิรินทร์ ปิยพฤทธิ์	         กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ	              คณะทำงาน		                     ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซนดี ชั้น 3 เลขที่ 60 ถ.รัชดาภิเษก

                                                                                                                                                                                   
		                                   สถาบัน SMI และเลขานุการ			
	 16. นางสาวจันทิมา สุวรรณโรจน์	เจ้าหน้าที่วิชาการ สถาบัน SMI	                   ผู้ช่วยเลขานุการ
              ตัดใหม่ แขวงคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์: (662) 345-1059,
	 17. นางสาวพัชรียา เจตสรณ์	 เจ้าหน้าที่บริหาร สถาบัน SMI	                       ผู้ช่วยเลขานุการ
              (662) 345-1121 โทรสาร (662) 345-1108
สารบัญ
                                                                                จุดเริ่มต้น...
                                                                       1
                                                                      บทที่
13 ..........	บทที่ 1 จุดเริ่มต้นการเป็นเจ้าของธุรกิจ
15 .........	 บทที่ 2 นิยาม และการแบ่งขนาด SMEs
                                       การเป็นเจ้าของธุรกิจ
17 .........	 บทที่ 3 เลือกแบบไหนดีนะ บจก. หรือ หจก.
22 .........	 บทที่ 4 จดทะเบียนพาณิชย์ ทำยังไง เริ่มที่ไหนดี
26 .........	 บทที่ 5 โรงงาน มีกี่จำพวก
	             แล้วต้องขออนุญาตตั้งโรงงานหรือเปล่า...?
31 .........	 บทที่ 6 การเขียนแผนธุรกิจ ทำได้ไม่ยุ่งยาก!
34 .........	 บทที่ 7 เคล็ดลับการขอสินเชื่อให้โดนใจแบงค์
39 .........	 บทที่ 8 ประเภทของสินเชื่อในการทำธุรกิจ
41 .........	 บทที่ 9 เพิ่มโอกาสสำเร็จต้องเรียนรู้การตลาด
44 .........	 บทที่ 10 เทคโนโลยีสมัยใหม่ ช่วยธุรกิจได้เยอะเลย
48 .........	 บทที่ 11 “บัญชี” เรื่องสำคัญ ไม่มีไม่ได้
              
52 .........	 บทที่ 12 วิเคราะห์งบการเงินเป็น
                   	 ในอดีตไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา หากมีใครไปถามเด็กๆว่าโตขึ้นอยากเป็นอะไร
	             ช่วยวางแผนธุรกิจได้!
                              คำตอบที่ ได้คงไม่พ้นอยากเป็นหมอ เป็นทหาร เป็นตำรวจ เป็นนางพยาบาล
55 .........	 บทที่ 13 สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของ SMEs
            หรือเป็นวิศวกร นั่นคือความฝันของเด็กๆ ที่ไม่มีความจริงทางเศรษฐกิจเข้ามา
59 .........	 บทที่ 14 รู้กฎหมายแรงงานไว้หน่อยก็ดีนะ
            เกี่ยวข้อง 
66 .........	 บทที่ 15 ประกันสังคม ทำไว้เถอะช่วยได้เยอะเลย
      	 แต่ในโลกแห่งความเป็นจริง ผู้เขียนมีโอกาสฟังวิทยุรายการหนึ่งรายงาน
72 .........	 บทที่ 16 อย. คืออะไร จำเป็นแค่ไหน ?
               อาชีพที่คนไทยอยากทำมากที่สุด ในปี 2552 ผลกลับกลายเป็นอาชีพ “ทำธุรกิจ
75 .........	 บทที่ 17 มอก.ก็สำคัญ!
                             ส่วนตัว” 	
                                                                 	 
79 .........	 บทที่ 18 คิดไว้ก่อนก็ดี 
                          	 ทำไมต้องธุรกิจส่วนตัว : คำตอบที่ได้ก็คือ
	             ปัจจัยเสี่ยงเป็นอย่างไร แล้วจะบริหารอย่างไร
       	 1. ความอิสระ : ทำได้ในสิ่งที่ชอบ เราคือนายตัวเรา และเวลาของการ
82 .........	 บทที่ 19 การปรับโครงสร้างหนี้ คืออะไร
             ทำงานก็คือเวลาของเรา จะพักก็ได้ ทำก็ได้
	             เค้าทำกันอย่างไรนะ
                                	 2. รายได้ : อาจจะน้อยหรือมากกว่าการทำงานบริษัท แต่ความแตกต่าง
89 .........	 บทที่ 20 หน่วยงานสนับสนุน SMEs มีที่ไหนบ้างนะ
     คือ ถ้าเราขยันมาก รายได้ก็มักจะมากตามไปด้วย
                                                                 	 3. การยอมรับจากสังคม : แน่นอนว่าการได้เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือ
                                                                 กรรมการบริษัทย่อมดูดีกว่าการเป็นลูกจ้างบริษัทเป็นไหนๆ
                                                                                                   “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด”   13
4. ได้เป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ : จาก
                                                                                                               นิยาม...
                                                                                               2
     ข้อมูลของ สสว. ในปี 2551 ระบุว่า GDP ของ SME ในประเทศไทยมีมูลค่าสูง
     ถึงประมาณ 3.4 ล้านล้านบาท หรือประมาณ 38% ของ GDP รวมทั้งประเทศ                           บทที่
     และมี แ นวโน้ ม ขยายตั ว ต่ อไปเรื่ อ ยๆ นอกจากนี้ หากดู ตั ว เลขการจ้ า งงาน
     ประกอบด้วยแล้ว การจ้างงานในภาค SME ของประเทศก็ยังมีตัวเลขสูงถึง
                                                                                                               และการแบ่งขนาด SMEs
     ประมาณ 8.9 ล้านคน หรือคิดเป็นประมาณ 76% ของการจ้างงานรวมทั้งหมด
     ดังนั้นการได้เป็นเจ้าของธุรกิจ SMEs ก็ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยในการขับ
                                                                                                               
     เคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยได้
     	 
     	 โอกาสมาถึงแล้ว : เหตุผลง่ายๆ ก็คือ
     	 1. ภาครัฐให้การสนับสนุน : ให้คำปรึกษาด้านต่างๆ อาทิ สำนักงานส่ง
     เสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
                	
     (กสอ.) กรมส่งเสริมการส่งออก (กสส.) เป็นต้น
     	 2. เศรษฐกิจกำลังฟื้น : ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2552 มีสัญญาณบ่งชี้การฟื้น
     ตัวทางเศรษฐกิจจากหน่วยงานทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน โอกาสทางธุรกิจ
     และเวลาของการเริ่มต้นธุรกิจที่ดีที่สุด
     	 3. ธุรกิจต่อเนื่องมีมาก : จำนวนธุรกิจ SMEs ที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ จึง                  	 SMEs ย่อมาจาก Small and Medium Enterprises หรือวิสาหกิจขนาด
     ทำให้เกิดธุรกิจต่อเนื่องและมีโอกาสทางธุรกิจจำนวนมาก
                                  กลางและขนาดย่อม คราวนี้หลายท่านอาจจะยังฉงนอยู่ว่าแล้วเอาอะไรมา เป็น
     	 4. สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงเร็ว : “การเปลี่ยนแปลงคือโอกาส” โอกาส                        ตัวแบ่งว่าเป็นขนาดกลางหรือขนาดย่อม ในทางการท่านจะใช้ตัวแบ่ง หรือตัว
     ในการทำธุรกิจก็ย่อมมีมากเช่นกัน
                                                      บ่งชี้ว่าธุรกิจใดจะเข้าข่ายเป็น SMEs หรือไม่ ดูจาก ตัวบ่งชี้ 2 ประเภท คือ
     	 5. ระบบข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็ว : ปัจจุบันการเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆ                 การจ้างงาน (คน) และสินทรัพย์ถาวร (ไม่รวมที่ดิน) ดังนี้
     ไม่ใช่เรื่องยาก ขึ้นอยู่กับต้องใช้ให้เป็น โอกาสทางธุรกิจก็จะเข้ามาถึงตัวท่านได้       
     เช่นเดียวกัน
                                                                              วิสาหกิจขนาดย่อม
     	 หวังว่าหลังจากท่านได้อ่านหนังสือคู่มือ SMEs เล่มนี้ ท่านจะมีความมันใจ    ่      
 ประเภทกิจการ	 การจ้างงาน(คน)	 สินทรัพย์ถาวร(ไม่รวมที่ดิน)
     และกล้าเริมต้นผจญภัยในดินแดนแห่งการเป็นเจ้าของธุรกิจ SMEs ต่อไป       
                 ่                                                                       
                                                                                              การผลิต	            ไม่เกิน 50	                ไม่เกิน   50   ล้านบาท
                        สนับสนุนโดย...
                                                
      บริการ	             ไม่เกิน 50	                ไม่เกิน   50   ล้านบาท
                                                                                              ค้าส่ง	             ไม่เกิน 25	                ไม่เกิน   50   ล้านบาท
                                                                                       
      ค้าปลีก	            ไม่เกิน 15	                ไม่เกิน   50   ล้านบาท
14   คู่มือ... SMEs                                                                                                             “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด”   15
วิสาหกิจขนาดกลาง
       
     
 ประเภทกิจการ	 จ้างงาน(คน	                          สินทรัพย์ถาวร(ไม่รวมที่ดิน)
       
        การผลิต	 51-200	                                           เกินกว่า 50 ล้าน
      			
      
                                                        แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท
     
 บริการ	   51-200	                                           เกินกว่า 50 ล้าน
      			
      
                                                        แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท
        ค้าส่ง	 26-50	                                             เกินกว่า 50 ล้าน
      			
      
                                                        แต่ไม่เกิน 100 ล้านบาท
     
 ค้าปลีก	 16-30	                                            เกินกว่า 30 ล้าน


                                                                                                                3
      			                                                      แต่ไม่เกิน 60 ล้านบาท
                                                                                                              บทที่
      	 ทั้งนี้ในกรณีที่จำนวนการจ้างงานของกิจการใดเข้าลักษณะของวิสาหกิจ
      ขนาดย่อมแต่มูลค่าสินทรัพย์ถาวร เข้าลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลาง หรือ
      จำนวนการจ้างงานเข้าลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลางแต่มูลค่าสินทรัพย์ถาวร
      เข้ า ลั ก ษณะของวิ ส าหกิ จ ขนาดย่ อ ม ให้ ถื อ จำนวนการจ้ า งงาน หรื อ มู ล ค่ า
      สินทรัพย์ถาวรที่น้อยกว่าเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา
                        อ้างอิง : พระราชบัญญัตสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2543
                                                 ิ่
                                                                                                                เลือหรือ หจก.
 นะ
                                                                                                                บจก.
                                                                                                                     กแบบไหนดี
      ทีมา : ฝ่ายยุทธศาสตร์ SME มหาภาค สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
        ่
                                                                     ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2553
          ตรวจสอบรายละเอียดเพิมเติมได้ที่ : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
                               ่                                                                      	 การประกอบธุรกิจการค้าอาจดำเนินการได้หลายรูปแบบ ทั้งโดยบุคคล
                                   โทรศัพท์ 02-278-8800 หรือดูรายละเอียดได้ที่ www.sme.go.th
                                                                                                      คนเดียวเป็นเจ้าของกิจการโดยลำพัง หรืออาจดำเนินการโดยร่วมลงทุนกับ
                                     สนับสนุนโดย...
                                                                                                      บุคคลอื่นเป็นกลุ่มคณะก็ได้ การที่จะตัดสินใจเลือกดำเนินธุรกิจการค้าในรูป
                                                                                                      แบบใดนั้น ผู้ประกอบการจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบที่สำคัญหลายประการ
                                                                                                      ด้วยกัน เช่น ลักษณะของกิจการจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบที่สำคัญหลาย
                                                                                                      ประการด้วยกัน เช่น ลักษณะของกิจการค้า เงินทุน ความรู้ ความสามารถใน
                                                                                                      การดำเนินธุรกิจเป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้การประกอบธุรกิจสามารถประสบผล
                                                                                                      สำเร็จ และนำมาซึ่งผลประโยชน์และกำไรสูงสุด
16    คู่มือ... SMEs                                                                                  
                                     “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด” 17
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
                                                     	 วิธีการจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
                                                                                   การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจะต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                                      รูปแบบ
                                      1. ชื่อของห้างหุ้นส่วน
                                    องค์กรธุรกิจ
                                  2. วัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วน
                                                                                   3. สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่และสาขาทั้งปวง
                                                                                   4. ชื่อและที่อยู่ พร้อมทั้งอาชีพของหุ้นส่วนทุกคน
              เป็นนิติบุคคล
                       
      ไม่เป็นนิติบุคคล
        5. ชื่อของหุ้นส่วนผู้จัดการเมื่อได้แต่งตั้งให้หุ้นส่วน เป็นผู้จัดการแต่เพียงบางคน
            (จดทะเบียนตั้งขึ้น
                        (อาจต้องจดทะเบียนตาม 
              ตามกฎหมาย)
                              พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์)
     6. ถ้ามีข้อจำกัดอำนาจของหุ้นส่วนผู้จัดการให้ลงไว้ด้วย
                                                                                   7. ตราที่ ใช้เป็นตราสำคัญของห้างหุ้นส่วน การจดทะเบียนต้องลงลายมือชื่อ
                                                                                   ของหุ้นส่วนทุกคนและต้องประทับตราของห้างหุ้นส่วนนั้นด้วย และให้พนักงาน
      1.	 ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน
                  1. กิจการร้านค้า 	 
        ทะเบียนทำใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนส่งมอบให้แก่ห้างหุ้นส่วนนั้นฉบับหนึ่ง
      2.	 ห้างหุ้นส่วนจำกัด
                              เจ้าของคนเดียว
      3.	 บริษัทจำกัด
                                 2.	 ห้างหุ้นส่วนสามัญ
      4.	 บริษัทมหาชนจำกัด
                                                        	 บริษัทจำกัด (บจก.)
      5.	 องค์การธุรกิจจัดตั้ง หรือจด		                                            	 บริษัทจำกัดเป็นนิติบุคคลที่ตั้งขึ้น เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำไร
      	 ทะเบียนภายใต้กฎหมายเฉพาะ
                                                  จากกิจการที่กระทำโดยแบ่งทุนออกเป็นหุ้นซึ่งมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน และมีผู้
                                                                                   ถือหุ้นตั้งแต่ 3 คนแต่ไม่ถึง 100 คน ผู้ถือหุ้นทุกคนต่างรับผิดจำกัดเพียงไม่เกิน
     	 ห้างหุ้นส่วน (หจก.)
                                                        จำนวนเงินที่ตนยังส่งไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ
     	 ห้างหุ้นส่วน เป็นรูปแบบของการประกอบธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้น         ลักษณะของบริษัทจำกัด มีดังต่อไปนี้
     ไปทำสัญญาร่วมกันเพื่อวัตถุประสงค์ ในการแบ่งผลกำไรระหว่างกัน
                  	 1. มีผู้ริเริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทอย่างน้อย 3 คน
     สัญญาการจัดตั้ง ห้างหุ้นส่วน มีรายละเอียดดังนี้
                              	 2. มีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 3-99 คน ผู้ถือหุ้น 2 คนขึ้นไปถือหุ้นเดียวกันให้นับเป็น	
                                                                                                                                                                  

     	 1. มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป และเป็นบุคคลที่สามารถทำนิติกรรมตาม             ผู้ถือหุ้น 1 คน
     กฏหมายได้
                                                                    	 3. แบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าละเท่ากัน มูลค่าหุ้นไม่ต่ำกว่าหุ้นละ 5 บาท
     	 2. ต้องมีการแสดงเจตนาในการเข้าเป็นหุ้นส่วน
                                 	 4. ผู้ถือหุ้นทุกคนรับผิดในหนี้สินของบริษัทเพียงส่วนซึ่งยังส่งใช้ค่าหุ้นที่ตน
     	 3. ต้องมีการเข้าเป็นหุ้นส่วนกัน โดยใช้เงินสด หรือสินทรัพย์อื่นทั้งที่เป็น   ถือไม่ครบ
     สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ ตลอดจนกำลังกาย และกำลังความรู้ความ          	 5. มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำไร
     ชำนาญ
                                                                        	 6. ต้องมีกรรมการอย่างน้อย 1 คน ซึ่งเลือกตั้งจากที่ประชุมจัดตั้งบริษัท
     	 4. กิจการที่กระทำต้องไม่มีวัตถุประสงค์ที่ขัดกับกฏหมาย หรือขัดกับ            	 7. ต้องกำหนดอำนาจหน้าที่ของกรรมการในการกระทำการแทนบริษัทจำกัด
     ความสงบเรียบร้อย และศิลธรรมอันดีของประชาชน
                                   	 8. ต้องมีผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีประจำบริษัทจำกัด
     	 5. ต้องมีเจตนาร่วมกันในส่วนได้ส่วนเสีย (กำไรขาดทุน) ในการจัดการ             	 9. ต้องมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในราชอาณาจักร
     ดูแลกิจการซึ่งทำร่วมกัน
                                                      	 10. ต้องมีตราสำคัญแสดงการถือหุ้นที่ใช้ประทับในใบหุ้น
18   คู่มือ... SMEs                                                                                                       “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด”   19
11. ต้องมีใบสำคัญแสดงการถือหุ้นมอบให้ผู้ถือหุ้นทุกคน
                                    ซื้อหุ้นอย่างน้อยเจ็ดวัน ก่อนวันนัดประชุม ในการประชุมจัดตั้งจะมีการกำหนด
     	 12. ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
                                                          ข้อบังคับของบริษัทและเลือกตั้งคณะกรรมการอำนวยการดำเนินการต่อไป	 
     	 13. ต้องใช้คำว่า “บริษัท” นำหน้า และ “จำกัด” ต่อท้ายชื่อเสมอ
                            	 4. เรี ย กให้ ผู้ เ ข้ า ชื่ อ จองหุ้ น และผู้ เ ริ่ ม กิ จ การชำระเงิ น ค่ า หุ้ น คณะ
     	 14. อายุไม่จำกัดจนกว่าจะมีเหตุต้องเลิกตามกฎหมาย
                                         กรรมการอำนวยการจะเรียกเก็บเงินค่าหุ้น โดยเก็บไม่ต่ำกว่า 25 %	
     	 15. คุณสมบัติของผู้ถือหุ้นไม่เป็นสาระสำคัญ			
                                           	 5. จดทะเบี ย นบริ ษั ท โดยที่ ห ลั ง จากเรี ย กเก็ บ ค่ า หุ้ น ได้ ค รบตามที่
     	 ประเทศไทยมีการแบ่งบริษัทจำกัดออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) บริษัท                              กฎหมายกำหนดแล้ว คณะกรรมการอำนวยการจะต้องไปขอจดทะเบียนภายใน
     เอกชนจำกัด ซึ่งจัดตั้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 2) บริษัทมหาชน                         สามเดือนนับจากวันประชุมจัดตั้งบริษัท กระบวนการจัดตั้งบริษัทจะเสร็จลงเมื่อ
     จำกัด ซึ่งจัดตั้งตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2521 และภาย                          ได้ ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน ซึ่งแสดงว่าบริษัทจำกัดนั้นสามารถดำเนิน
     หลังได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามพระราชบัญญัติ พ.ศ.2535 วัตถุประสงค์                         กิจการได้ถูกต้องตามกฎหมายตั้งแต่นั้นเป็นต้นไป
     การจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัดเป็นการกระจายความเป็นเจ้าของกิจการไปในหมู่
     ประชาชนจำนวนมาก และผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะคนจะถื อ หุ้ น ในสั ด ส่ ว นที่ น้ อ ยเมื่ อ              ตารางเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่าง หจก. กับ บจก.
     เปรียบเทียบกับทุนเรือนหุ้นทั้งหมดของบริษัท
                                                    	     ปัจจัย	                  ห้างหุ้นส่วนจำกัด	                     บริษัท 
     
                                                                                          
   ความรับผิดต่อหนี้สิน        หุ้นส่วนบางคนรับผิดจำกัด
          จำกัดเพียงเงินที่ยัง
     	 วิธีการจัดตั้งบริษัทจำกัด
                                                                                               
                                                                                                
   ของผู้ประกอบการ
                                                                                                    
                           
                                  ส่งให้ค่าหุ้นไม่ครบ
                                                                                                                                                                   
     	 1. จัดทำหนังสือบริคณห์สนธิไปขอจดทะเบียน โดยผู้ก่อตั้งบริษัทไม่น้อย                       
                                                                                                
   อายุของกิจการ
              ขึ้นอยู่กับหุ้นส่วนที่ไม่จำกัด     ไม่ขึ้นอยู่กับอายุ
     กว่า 3 คน ทำการบันทึกวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งบริษัท 2 ฉบับขึ้นไป โดยผู้                       
                           ความรับผิดชอบ
                     เจ้าของ
     เริ่มกิจการทุกคนลงลายมือชื่อไว้ พร้อมพยานลงชื่อรับรองด้วย 2 คน หนังสือ                         
                           
                                  
                                                                                                    การถ่ายโอนความเป็น          ทำได้ถ้าเป็นหุ้นส่วนที่รับ         ทำได้ง่ายมาก
     บริคณห์สนธิต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
                                                        เจ้าของ
                                                                                                    
                           ผิดชอบ
                                                                                                                                
                                  
                                                                                                                                                                   
     	 1.1 ชื่อบริษัทที่จะตั้งขึ้นซึ่งต้องมีคำว่า“จำกัด”ไว้ท้ายชื่อเสมอ
                            การขยายกิจการ
                                                                                                    
                           ทำได้ค่อนข้างยาก
                                                                                                                                
                                  ทำได้ง่าย
                                                                                                                                                                   
     	 1.2 ทีตงสำนักงานของบริษัท ซึงจดทะเบียนนันจะต้องอยูประเทศไทย
                   ่ ั้                   ่             ้           ่                               ข้อจำกัดทางกฎหมาย
                                                                                                    
                           ค่อนข้างเข้มงวด
                                                                                                                                
                                  เข้มงวดมาก
                                                                                                                                                                   
     	 1.3 วัตถุประสงค์ของบริษัท
                                                                   การจัดตั้ง
                                                                                                    
                           ทำได้ค่อนข้างยาก
                                                                                                                                
                                  ทำได้ยาก
                                                                                                                                                                   
     	 1.4 ถ้อยคำที่แสดงว่าความรับผิดของผู้ถือหุ้นมีจำกัด
                                          การหาแหล่งเงินทุน
          ทำได้ค่อนข้างยาก
                  ทำได้ง่าย
                                                                                                    
                           
                                  
     	 1.5 จำนวนทุกหุนทีจะจดทะเบียนมีมลค่าหุนละเท่าไร (ต้องไม่ตำกว่า 5 บาท)
                           ้ ่                ู ้                       ่                           การรักษาความลับ             มีค่อนข้างน้อย
                    ไม่มี
     	 1.6 ชื่อที่อยู่ อาชีพ และลายมือชื่อของบรรดาผู้เริ่มกิจการ และจำนวน
                	         ของกิจการ
                                                                                                    
                           
                                                                                                                                
                                  
                                                                                                                                                                   
     	          หุ้นของแต่ละคนที่ต่างเข้าชื่อไว้ 	
                                                 ประสิทธิภาพในการ            มีค่อนข้างน้อย
                    มีมาก
     	 2. จัดให้มีผู้เข้าชื่อซื้อหุ้น หลังจากได้รับใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน                          บริหาร
     หนังสือบริคณห์สนธิแล้ว ผู้ก่อตั้งจะเริ่มหาผู้สนใจเข้าร่วมซื้อหุ้นให้ครบตาม                                                          ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
     จำนวนทุนเรือนหุ้นที่บริษัทกำหนด จดทะเบียนโดยอาจบอกกล่าวโดยวาจาหรือ                                                                                  ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2553
     ลายลักษณ์อักษรได้ แต่ห้ามมิให้ชี้ชวนประชาชนให้ซื้อหุ้น	
                                                  ตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
     	 3. ประชุมจัดตั้งบริษั ท เมื่อมีผู้ซื้อหุ้นหมดแล้ว ผู้เริ่มกิจการจะนัดวัน               เบอร์โทรศัพท์ 0-2547-5050 สายด่วน 1570 หรือดูรายละเอียดได้ที่ www.thairegistration.com
     ประชุมใหญ่เพื่อจัดตั้งบริษัทโดยจะต้องรายงานการจัดตั้งบริษัทไปยังผู้เข้าชื่อ
20   คู่มือ... SMEs                                                                                                                         “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด”   21
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ

Contenu connexe

En vedette

การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้Sompop Petkleang
 
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aecคู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก AecSompop Petkleang
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าSompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริSompop Petkleang
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าSompop Petkleang
 
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศSompop Petkleang
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 

En vedette (10)

การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
 
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aecคู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่า
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
 
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
 
Flood r7 sainoi
Flood r7 sainoiFlood r7 sainoi
Flood r7 sainoi
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 

Similaire à คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ

Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการUtai Sukviwatsirikul
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลwutichai
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...Punyapon Tepprasit
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECUtai Sukviwatsirikul
 
Sirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientation
Sirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientationSirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientation
Sirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientationSirisak Polsimma
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตคู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตMobile_Clinic
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดssuser711f08
 
Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1wutichai
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการRuangvate Meesup
 
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจคู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจMobile_Clinic
 
DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
 DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จWeera Chearanaipanit
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2Mobile_Clinic
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจUtai Sukviwatsirikul
 

Similaire à คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ (20)

Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
 
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากลContent สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
Content สรุปหัวใจหลัก sm es ไทยก้าวไกลสู่สากล
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 13 ประจำเดือนเมษายน 2559
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
 
Tax manual for start up
Tax manual for start upTax manual for start up
Tax manual for start up
 
เปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AECเปิดแนวรุก บุก AEC
เปิดแนวรุก บุก AEC
 
Sirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientation
Sirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientationSirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientation
Sirisak polsimma significant indicator of entrepreneurial orientation
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิตคู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจภาคการผลิต
 
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาดSWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
SWOT Analysis สำหรับผู้บริหาร และการจัดทำแผนการตลาด
 
Bus lesson1
Bus lesson1Bus lesson1
Bus lesson1
 
Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1Nec53(ใหม่)1
Nec53(ใหม่)1
 
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการคุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
คุณลักษณะผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในภาคใต้ : ภาคการบริการ
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจคู่มือการวางแผนธุรกิจ
คู่มือการวางแผนธุรกิจ
 
DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
 DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
DBD smart trade association การเสริมสร้างและบริหารเครือข่ายสู่ความสำเร็จ
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 17 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ
 

Plus de Sompop Petkleang

คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าSompop Petkleang
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์Sompop Petkleang
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์Sompop Petkleang
 
สรุปกิจกรรมค่ายดิน
สรุปกิจกรรมค่ายดินสรุปกิจกรรมค่ายดิน
สรุปกิจกรรมค่ายดินSompop Petkleang
 
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”Sompop Petkleang
 

Plus de Sompop Petkleang (15)

คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
AEC Blue Print
AEC Blue PrintAEC Blue Print
AEC Blue Print
 
Flood r6 bangyai
Flood r6 bangyaiFlood r6 bangyai
Flood r6 bangyai
 
Flood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroiFlood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroi
 
Flood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathongFlood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathong
 
Flood r3 paked
Flood r3 pakedFlood r3 paked
Flood r3 paked
 
Flood r2 nont
Flood r2 nontFlood r2 nont
Flood r2 nont
 
Flood r1
Flood r1Flood r1
Flood r1
 
Flood management
Flood managementFlood management
Flood management
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
 
สรุปกิจกรรมค่ายดิน
สรุปกิจกรรมค่ายดินสรุปกิจกรรมค่ายดิน
สรุปกิจกรรมค่ายดิน
 
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
 

คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ

  • 4. นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบัน นายสันติ วิลาสศักดานนท์ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อุตสาหกรรมการผลิต (SMI) นับเป็นเรื่องสำคัญมากที่ทิศทางการเติบโตของเอสเอ็มอีไทย จะต้อง ในแต่ละปี มีผประกอบการจำนวนมากทีเ่ ริมต้นการทำธุรกิจของตนเอง ู้ ่ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและในอนาคต ซึ่งขณะนี้รัฐบาลกำหนดให้ แต่มีจำนวนไม่ถึงครึ่งที่สามารถดำเนินธุรกิจให้อยู่รอดและพัฒนาให้เติบโตขึ้น การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสู่ระบบเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative ได้ เพียงเพราะการเริมต้นการดำเนินธุรกิจที่ไม่เป็นระบบ การไม่ทราบถึงแหล่ง ่ Economy) ซึ่งนับเป็นแนวทางในการปรับตัวของเอสเอ็มอีไทยได้เป็นอย่างดี ข้อมูลที่จำเป็นหรือการมองข้ามเรื่องสำคัญบางเรื่องไป ทำให้การพัฒนาธุรกิจ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เป็นหนึ่งในหน่วยงานที่ ให้เติบโตเป็นไปได้ยากลำบาก การที่ผู้ประกอบการไม่รู้ว่าจะสามารถไปขอรับ มีพันธกิจในการสนับสนุนธุรกิจเอสเอ็มอี เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ คำปรึกษาในการแก้ไขปัญหาจากที่ใดได้บ้าง ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่ง ที่ทำให้ต้อง เลิกกิจการไป ภาครัฐและเกิดประโยชน์สูงสุดให้กับผู้ประกอบการ ทั้งการผลักดันให้มีการ สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต ขยายตัวของธุรกิจอย่างต่อเนื่องและเป็นตัวกลางประสานงานกับหน่วยงานที่ (SMI) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสถาบันที่มีพันธกิจในการ เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมการประกอบการทั้งทางด้านการหาแหล่งเงินทุน การ พัฒนา ประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนผูประกอบการเอสเอ็มอี ได้ตระหนัก ้ จดทะเบียน การบริหารจัดการ การถ่ายทอดเทคโนโลยี รวมทั้งการสนับสนุน ถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ คู่มือ SMEs ฉบับ “เป็นเจ้าของธุรกิจ ไม่ยาก ในการพัฒนาด้านอื่นๆ อีกด้วย อย่างที่คิด” ขึ้น โดยผู้ประกอบการเอสเอ็มอี สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ สภาอุตสาหกรรมฯ มีความตั้งใจ และมุ่งมั่นในการที่จะพัฒนาภาค การเริมต้นในการดำเนินธุรกิจของตน เพือเป็นรากฐานในการทีจะพัฒนาธุรกิจ ่ ่ ่ อุตสาหกรรม โดยมีความมุ่งหวังว่า คู่มือเอสเอ็มอี ฉบับ “เป็นเจ้าของธุรกิจ ให้เติบโตยิ่งขึ้น และพัฒนาไปสู่ธุรกิจที่เข้มแข็งในอนาคต ไม่ยากอย่างที่คิด” จะเป็นคู่มือแนะนำแนวทาง รวมถึงเทคนิคต่างๆ สำหรับผู้ สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต ประกอบการใหม่ ในการวางรากฐานการดำเนินธุรกิจให้เข้มแข็งและพร้อมจะ (SMI) มีความตั้งใจที่จะช่วยเหลือผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ในทุกๆ ด้าน การ เติบโตต่อไปในอนาคตอย่างมั่นคง จัดทำคู่มือ การจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาฯ และโครงการอื่นๆ ที่จะดำเนินการ ในอนาคต ถือเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี ดังกล่าว ทั้งนี้ ต้องขอขอบคุณคณะทำงานจัดทำคู่มือฯ ในการ ทุ่มเททำงานอย่างหนัก จนทำให้ได้คู่มือที่เป็นประโยชน์ ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้น (นายสันติ วิลาสศักดานนท์) ในความร่วมมือในการช่วยเหลือผู้ประกอบการเอสเอ็มอี อย่างเป็นรูปธรรม ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล) ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI)
  • 5. ดร.ยุทธศักดิ์ สุภสร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาด คำนำ สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต กลางและขนาดย่อม(สสว.) (SMI) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำคู่มือ ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ถือเป็นรากฐานสำคัญ ้ “SMEs ฉบับ เป็นเจ้าของธุรกิจไม่ยากอย่างที่คิด” เพื่อเป็นคำแนะนำความ ของเศรษฐกิจไทย เป็นกลไกสำคัญทีจะผลักดันให้ระบบเศรษฐกิจมีความเจริญ ่ รู้เบื้องต้นและเสริมสร้างผู้ประกอบการ SMEs ในการเริ่มต้นดำเนินการทำ ก้าวหน้า จำเป็นอย่างยิงทีจะต้องได้รบการวางรากฐานการประกอบกิจการอย่าง ่ ่ ั ธุรกิจ เพื่อให้เกิดการวางแผนที่ดีรวมถึงความเข้าใจแนวทางและขั้นตอน เป็นระบบตังแต่เริมต้น เพือให้ธรกิจประสบความสำเร็จในการแจ้งเกิด เติบใหญ่ ้ ่ ่ ุ การดำเนินธุรกิจ ตลอดจนวิธีการแก้ปัญหาการดำเนินธุรกิจบางประการใน และขยายตัวขึ้นไปอย่างยั่งยืน เบื้องต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการจุดประกายให้กับผู้ที่ต้องการเริ่มประกอบธุรกิจ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ซึ่งเป็น ด้วยตนเอง แต่ยังกล้าๆ กลัวๆ อยู่ ให้มีความกล้ามากกว่ากลัวในการที่จะ หน่วยงานทีทำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์กลางประสาน และขับเคลือนระบบการทำงานของ ่ ่ ริเริ่มสร้างธุรกิจของตน และนอกจากความคาดหวังที่จะต้องการให้หนังสือ ทุกภาคส่วนทีเ่ กียวข้องกับเอสเอ็มอี รูสกยินดีเป็นอย่างยิง ที่ได้รบทราบว่า สภา ่ ้ึ ่ ั เล่มนีเ้ ป็นคูมอของผูประกอบการรายใหม่แล้ว สำหรับผูประกอบการทีประกอบ ่ื ้ ้ ่ อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ซึงเป็นพันธมิตรทีดกบ สสว. ตลอดมา ่ ่ีั ธุรกิจอยู่แล้ว หากได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้วบางที ท่านอาจจะได้รับทราบ ได้จดทำคูมอ SMEs ฉบับ “เป็นเจ้าของธุรกิจไม่ยากอย่างทีคด” ขึน ซึงถือเป็น ั ่ื ่ิ ้ ่ กลเม็ดเคล็ดลับบางอย่างที่ท่านได้ทำตกหล่นหรือมองข้ามไป ซึ่งอาจจะนำ อีกหนึ่งคู่มือที่จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับผู้ประกอบการที่กำลังจะเริ่มต้น มาใช้ได้ให้เป็นประโยชน์ต่อธุรกิจของท่านได้ หลังอ่านหนังสือเล่มนี้จบ ดำเนินกิจการของตนเอง หรือผูประกอบการทียงไม่เข้าใจข้อมูลบางอย่างเกียวกับ ้ ่ั ่ กาจจัดทำหนังสือเล่มนี้ เป็นหนึ่งในภารกิจอันหลากหลายของ การทำธุรกิจ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการทำธุกจของตนเองได้ อีกทังการ ิ ้ สถาบัน SMI ที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาขีดความสามารถ SMEs สนับสนุนให้เกิดผูประกอบการใหม่ เพิมขึนมาอย่างมีคณภาพในระบบธุรกิจของ ้ ่ ้ ุ ของประเทศให้สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืนและมีขีดความสามารถในการ ประเทศ ก็นบได้วาเป็นหนึงในภารกิจและยุทธศาสตร์ของสสว. ด้วยแล้ว ผมเอง ั ่ ่ แข่งขันสูงขึ้น สถาบัน SMI หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เนื้อหาสาระที่บรรจุอยู่ใน ก็ยิ่งมีความยินดีที่ได้เห็นหนังสือคู่มือเล่มนี้และก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ส.อ.ท.จะ หนังสือคู่มือเล่มนี้ คงจะสร้างประโยชน์ต่อท่านผู้ประกอบการธุรกิจ SMEs ดำเนินการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ร่วมกับสสว. และผู้สนใจทั่วไปได้เป็นอย่างดี ให้ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ก่อเกิดผลประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของประเทศ ต่อไป (นายอำนาจ นันทหาร) รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันวิสาหกิจขนาดกลาง (ดร.ยุทธศักดิ์ สุภสร) และขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI) ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง ประธานคณะทำงานจัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs Consulting Center) และขนาดย่อม(สสว.)
  • 6. คณะกรรมการสถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม คณะกรรมการบริหารสถาบันวิสาหกิจขนาดกลาง อุตสาหกรรมการผลิต (SMI) วาระ 2551-2553 และขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI) วาระ 2551-2553 ที่ปรึกษา ทีปรึกษา ่ 1. นายสุชาติ วิสวรรณ ุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีปรึกษา ่ 1. ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ปรึกษา 2. ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีปรึกษา ่ 2. นายปราโมทย์ วิทยาสุข รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ปรึกษา 3. นายทวี ปิยะพัฒนา รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีปรึกษา ่ 3. นายอาทิตย์ วุฒิคะโร อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ที่ปรึกษา 4. นายทวีกจ จตุรเจริญคุณ ิ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีปรึกษา ่ 4. นายภักดิ์ ทองส้ม รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ที่ปรึกษา 5. นายธานี พุฒพนธุพฤทธิ ิั ์ ์ เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีปรึกษา ่ ขนาดกลางและขนาดย่อม 6. นายธนารักษ์ พงษ์เภตรา ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคใต้ ทีปรึกษา ่ 5. นายโสฬส สาครวิศว กรรมการผู้จัดการธนาคารวิสาหกิจขนาดกลาง ที่ปรึกษา 7. นายวิศษฐ์ ลิมลือชา ิ ้ เหรัญญิกสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทีปรึกษา ่ 8. นายเกรียงไกร เธียรนุกล ุ ประธานกลุมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณฑ์กระดาษ ทีปรึกษา ่ ั ่ และขนาดย่อม 9. นายภักดิ์ ทองส้ม รองผูอำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง ้ 6. ศ.ดร.ธเนตร นรภูมิพิภัชน์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง ที่ปรึกษา และขนาดย่อมหรือผูแทน ้ ทีปรึกษา ่ และขนาดย่อม 10. รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทีปรึกษา ่ 7. รศ.ดร.กิตติ ลิ่มสกุล คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษา กรรมการ คณะกรรมการ 1. นายพยุงศักดิ์ ชาติสทธิผล ุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธาน 1. นายสันติ วิลาสศักดานนท์ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธาน 2. นายเจน นำชัยศิร ิ รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองประธาน 3. นายสมมาต ขุนเศษฐ รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองประธาน 2. นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองประธาน 4. นายอำนาจ นันทหาร รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองประธาน 3. นายสุชาติ วิสุวรรณ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 5. นายมานะผล ภูสมบุญ ่ กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองประธาน 4. นายทวีกิจ จตุรเจริญคุณ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 6. นายอิศเรศ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองประธาน 5. นายมังกร ธนสารศิลป์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 7. นายประเสริฐ ธรรมมนุญกุล กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองประธาน 6. นายสมพงษ์ ตันเจริญผล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 8. นายวิเชียร เชิดชูตระกูลทอง กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 9. นายประยงค์ หิรญญะวณิชย์ ประธานคณะกรรมการคลัสเตอร์ยางและไม้ยางพารา ั กรรมการ 7. ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 10. นายเดช พัฒนเศรษฐพงษ์ ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองนุงห่ม ่ ่ ่ กรรมการ 8. นายธานี พุฒิพันธุ์พฤทธิ์ เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 11. นายวงกต ตังสืบกุล ้ ประธานกลุมอุตสาหกรรมเฟอร์นเิ จอร์ ่ กรรมการ 9. นายเจน นำชัยศิริ รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 12. ดร.ชโย ตรังอดิศยกุล ั ประธานกลุมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง ่ กรรมการ 10. นายไพรัตน์ ตังคเศรณี รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 13. นายปัญญาสาร ปริศวงศ์ รองประธานกลุมอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กรรมการ ่ 11. นายวัลลภ วิตนากร รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 14. นายเชิญพร เต็งอำนวย ประธานกลุมอุตสาหกรรมยา ่ กรรมการ 12. นายสมมาต ขุนเศษฐ รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 15. นายธวัฒน์ จิว ประธานกลุมอุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑ์หนัง ่ กรรมการ 16. นางกรภัคร์ มีสทธิตา ิ ประธานกลุมอุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม ่ กรรมการ 13. นายอำนาจ นันทหาร รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 17. นางสาวสุภาภรณ์ ชัยสถาวรวงศ์ กรรมการกลุมอุตสาหกรรมอาหาร ่ กรรมการ 14. นายวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา เหรัญญิกสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 18. นายสมสิทธิ์ มูลสถาน ประธานกลุมอุตสาหกรรมการจัดการของเสีย ่ 15. นายอิศเรศ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ และวัสดุเหลือใช้ กรรมการ 16. นายวิเชียร เชิดชูตระกูลทอง กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 19. นายกมล สุรงค์สรยกุล ั ุิ ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองจักรกลการเกษตร ่ ่ กรรมการ 17. นายประเสริฐ ธรรมมนุญกุล กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ 20. นายอเนน อึงอภินนท์ ้ ั ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองจักรกลและโลหะการ กรรมการ ่ ่ 18. นายชาญ สารเลิศโสภณ ผู้อำนวยการบริหาร กรรมการ 21. นายไพรัตน์ เอือชูยศ ้ ประธานกลุมอุตสาหกรรมเครืองปรับอากาศและ ่ ่ เครืองทำความเย็น ่ กรรมการ 19. นายสิรินทร์ ปิยพฤทธิ์ ผู้อำนวยการสถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและ กรรมการ 22. ดร.เมธี โอฬารสกุล กรรมการกลุมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ่ กรรมการ ขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI) และเลขานุการ 23. นายทีฆ คุณวัฒน์ เลขาธิการกลุมอุตสาหกรรมน้ำตาล ่ กรรมการ 20. นายเอนก สิริวิชช์ ที่ปรึกษาสำนักงานสภาอุตสาหกรรม กรรมการและ 24. นายสมศักดิ์ สิทธิชาญคุณะ กรรมการและเหรัญญิกกลุมอุตสาหกรรมพลาสติก ่ กรรมการ แห่งประเทศไทย ผู้ช่วยเลขานุการ 25. นายพิชย ถินสันติสข ั ่ ุ ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ่ กรรมการ 26. นายสุทน พรชัยสุรย ิ ี์ กรรมการกลุมอุตสาหกรรมโรงเลือยและโรงอบไม้ ่ ่ กรรมการ 27. นางสาวพจนาถ โตวรรณเกษม รองประธานกลุมอุตสาหกรรมสมุนไพร ่ กรรมการ
  • 7. 28. ดร.สมพล เติมพิทยาเวช ประธานกลุมอุตสาหกรรมอัญมณีและเครืองประดับ 29. นายธนพล สินบริสทธิ ุ ์ 30. นางดารัตน์ วิภาตะกลัศ ่ 31. ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือผูแทน 32. นายชาญชัย จินดาสถาพร 33. นายสมนึก นาคะศักดิเ์ สวี 34. นายประภาส เอือนนทัช ้ ้ ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคตะวันออก ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคกลาง รองประธานสภาอุตสาหกรรมภาคใต้ ่ รองประธานกลุมอุตสาหกรรมชินส่วนและอะไหล่ยานยนต์ ่ ้ ประธานสภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ แนะนำสถาบัน SMI 35. นายสมเกียรติ อึงอารี นายกสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย กรรมการ สถาบั น วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มอุ ต สาหกรรมการผลิ ต 36. นางสาวนพรัตน์ สุขชัย กรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ (Small and Medium Industrial Institute : SMI) ได้รับอนุมัติการจัดตั้งจาก 37. นายกรกฎ ผดุงจิตต์ ผูชวยเลขานุการสายงานสภาจังหวัด ้่ กรรมการ 38. นายชาญ สารเลิศโสภณ ผูอำนวยการบริหาร ้ กรรมการ มติที่ประชุมคณะกรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12/2550 39. นายสิรนทร์ ปิยพฤทธิ ิ ์ ผูอำนวยการสถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ้ กรรมการ /220 (21) เมื่อวันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม 2550 เพื่อให้เป็นศูนย์กลางสนับสนุน อุตสาหกรรมการผลิต (SMI) และเลขานุการ 40. นายเอนก สิรวชช์ ิิ ทีปรึกษาสำนักงานสภาอุตสาหกรรมฯ ่ กรรมการและ ช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMI และเสนอนโยบายต่างๆ ทีแก้ปญหา พัฒนาให้ผู้ ่ ั ผูชวยเลขานุการ ้่ ประกอบการ SMI ภาคอุตสาหกรรมการผลิตสามารถอยู่ได้อย่างเข้มแข็งและยังยืน ่ คณะทำงานศูนย์ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs Consulting center) สถาบันวิสาหกิจขนาดกลาง โดยมีโครงสร้างองค์กรดังนี ้ ส.อ.ท และขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต (SMI) ที่ปรึกษา คณะกรรมการสถาบัน SMI 1. นายสุชาติ วิสุวรรณ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI ที่ปรึกษา 2. นายทวีกิจ จตุรเจริญคุณ ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI ที่ปรึกษา 3. นายภักดิ์ ทองส้ม ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI ที่ปรึกษา คณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI คณะทำงาน 1. นายอำนาจ นันทหาร รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI ประธาน สถาบัน SMI 2. นายวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI รองประธาน 3. นายประเสริฐ ธรรมมนุญกุล รองประธานคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI รองประธาน 4. นางกรภัคร์ มีสิทธิตา กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI คณะทำงาน งานวิชาการ งานบริหาร 5. นายพิชัย ถิ่นสันติสุข กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI คณะทำงาน 6. นายปัญญาสาร ปริศวงศ์ กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI คณะทำงาน 7. นายกรกฎ ผดุงจิตต์ กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI คณะทำงาน วิสยทัศน์ สถาบัน SMI “เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ประสาน ส่งเสริม ั 8. นายอมรพันธุ์ พูลสวัสดิ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก คณะทำงาน 9. นายสมปอง ผลเจริญจิต เลขาธิการสภาอุตสาหกรรมภาคเหนือ คณะทำงาน สนับสนุน และเชื่อมโยง เครือข่าย ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ 10. นายสุรินทร์ โกรพินธานนท์ ที่ปรึกษาสายงานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด คณะทำงาน ขนาดย่อมภาคการผลิต เพือเพิมศักยภาพและขีดความสามารถทางการแข่งขัน ่ ่ 11. นายพงศา แสนใจงาม กรรมการสายงานแรงงาน คณะทำงาน 12. นายพงษ์ศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ กรรมการสายงานแรงงาน คณะทำงาน อย่างยั่งยืน” 13. นายชาญ สารเลิศโสภณ กรรมการคณะกรรมการบริหารสถาบัน SMI คณะทำงาน 14. นายมนต์ชัย รัตนะ ผู้ช่วยผู้อำนวยการบริหารและรักษาการผู้อำนวย คณะทำงาน สถานที่ ติ ด ต่ อ : สถาบั น วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม การฝ่ายกิจการ สภาจังหวัดและงานทะเบียน อุ ต สาหกรรมการผลิ ต (SMI) สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย 15. นายสิรินทร์ ปิยพฤทธิ์ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ คณะทำงาน ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โซนดี ชั้น 3 เลขที่ 60 ถ.รัชดาภิเษก สถาบัน SMI และเลขานุการ 16. นางสาวจันทิมา สุวรรณโรจน์ เจ้าหน้าที่วิชาการ สถาบัน SMI ผู้ช่วยเลขานุการ ตัดใหม่ แขวงคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์: (662) 345-1059, 17. นางสาวพัชรียา เจตสรณ์ เจ้าหน้าที่บริหาร สถาบัน SMI ผู้ช่วยเลขานุการ (662) 345-1121 โทรสาร (662) 345-1108
  • 8. สารบัญ จุดเริ่มต้น... 1 บทที่ 13 .......... บทที่ 1 จุดเริ่มต้นการเป็นเจ้าของธุรกิจ 15 ......... บทที่ 2 นิยาม และการแบ่งขนาด SMEs การเป็นเจ้าของธุรกิจ 17 ......... บทที่ 3 เลือกแบบไหนดีนะ บจก. หรือ หจก. 22 ......... บทที่ 4 จดทะเบียนพาณิชย์ ทำยังไง เริ่มที่ไหนดี 26 ......... บทที่ 5 โรงงาน มีกี่จำพวก แล้วต้องขออนุญาตตั้งโรงงานหรือเปล่า...? 31 ......... บทที่ 6 การเขียนแผนธุรกิจ ทำได้ไม่ยุ่งยาก! 34 ......... บทที่ 7 เคล็ดลับการขอสินเชื่อให้โดนใจแบงค์ 39 ......... บทที่ 8 ประเภทของสินเชื่อในการทำธุรกิจ 41 ......... บทที่ 9 เพิ่มโอกาสสำเร็จต้องเรียนรู้การตลาด 44 ......... บทที่ 10 เทคโนโลยีสมัยใหม่ ช่วยธุรกิจได้เยอะเลย 48 ......... บทที่ 11 “บัญชี” เรื่องสำคัญ ไม่มีไม่ได้ 52 ......... บทที่ 12 วิเคราะห์งบการเงินเป็น ในอดีตไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา หากมีใครไปถามเด็กๆว่าโตขึ้นอยากเป็นอะไร ช่วยวางแผนธุรกิจได้! คำตอบที่ ได้คงไม่พ้นอยากเป็นหมอ เป็นทหาร เป็นตำรวจ เป็นนางพยาบาล 55 ......... บทที่ 13 สิทธิประโยชน์ทางภาษี ของ SMEs หรือเป็นวิศวกร นั่นคือความฝันของเด็กๆ ที่ไม่มีความจริงทางเศรษฐกิจเข้ามา 59 ......... บทที่ 14 รู้กฎหมายแรงงานไว้หน่อยก็ดีนะ เกี่ยวข้อง 66 ......... บทที่ 15 ประกันสังคม ทำไว้เถอะช่วยได้เยอะเลย แต่ในโลกแห่งความเป็นจริง ผู้เขียนมีโอกาสฟังวิทยุรายการหนึ่งรายงาน 72 ......... บทที่ 16 อย. คืออะไร จำเป็นแค่ไหน ? อาชีพที่คนไทยอยากทำมากที่สุด ในปี 2552 ผลกลับกลายเป็นอาชีพ “ทำธุรกิจ 75 ......... บทที่ 17 มอก.ก็สำคัญ! ส่วนตัว” 79 ......... บทที่ 18 คิดไว้ก่อนก็ดี ทำไมต้องธุรกิจส่วนตัว : คำตอบที่ได้ก็คือ ปัจจัยเสี่ยงเป็นอย่างไร แล้วจะบริหารอย่างไร 1. ความอิสระ : ทำได้ในสิ่งที่ชอบ เราคือนายตัวเรา และเวลาของการ 82 ......... บทที่ 19 การปรับโครงสร้างหนี้ คืออะไร ทำงานก็คือเวลาของเรา จะพักก็ได้ ทำก็ได้ เค้าทำกันอย่างไรนะ 2. รายได้ : อาจจะน้อยหรือมากกว่าการทำงานบริษัท แต่ความแตกต่าง 89 ......... บทที่ 20 หน่วยงานสนับสนุน SMEs มีที่ไหนบ้างนะ คือ ถ้าเราขยันมาก รายได้ก็มักจะมากตามไปด้วย 3. การยอมรับจากสังคม : แน่นอนว่าการได้เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือ กรรมการบริษัทย่อมดูดีกว่าการเป็นลูกจ้างบริษัทเป็นไหนๆ “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด” 13
  • 9. 4. ได้เป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ : จาก นิยาม... 2 ข้อมูลของ สสว. ในปี 2551 ระบุว่า GDP ของ SME ในประเทศไทยมีมูลค่าสูง ถึงประมาณ 3.4 ล้านล้านบาท หรือประมาณ 38% ของ GDP รวมทั้งประเทศ บทที่ และมี แ นวโน้ ม ขยายตั ว ต่ อไปเรื่ อ ยๆ นอกจากนี้ หากดู ตั ว เลขการจ้ า งงาน ประกอบด้วยแล้ว การจ้างงานในภาค SME ของประเทศก็ยังมีตัวเลขสูงถึง และการแบ่งขนาด SMEs ประมาณ 8.9 ล้านคน หรือคิดเป็นประมาณ 76% ของการจ้างงานรวมทั้งหมด ดังนั้นการได้เป็นเจ้าของธุรกิจ SMEs ก็ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยในการขับ เคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ โอกาสมาถึงแล้ว : เหตุผลง่ายๆ ก็คือ 1. ภาครัฐให้การสนับสนุน : ให้คำปรึกษาด้านต่างๆ อาทิ สำนักงานส่ง เสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กรมส่งเสริมการส่งออก (กสส.) เป็นต้น 2. เศรษฐกิจกำลังฟื้น : ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2552 มีสัญญาณบ่งชี้การฟื้น ตัวทางเศรษฐกิจจากหน่วยงานทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน โอกาสทางธุรกิจ และเวลาของการเริ่มต้นธุรกิจที่ดีที่สุด 3. ธุรกิจต่อเนื่องมีมาก : จำนวนธุรกิจ SMEs ที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ จึง SMEs ย่อมาจาก Small and Medium Enterprises หรือวิสาหกิจขนาด ทำให้เกิดธุรกิจต่อเนื่องและมีโอกาสทางธุรกิจจำนวนมาก กลางและขนาดย่อม คราวนี้หลายท่านอาจจะยังฉงนอยู่ว่าแล้วเอาอะไรมา เป็น 4. สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงเร็ว : “การเปลี่ยนแปลงคือโอกาส” โอกาส ตัวแบ่งว่าเป็นขนาดกลางหรือขนาดย่อม ในทางการท่านจะใช้ตัวแบ่ง หรือตัว ในการทำธุรกิจก็ย่อมมีมากเช่นกัน บ่งชี้ว่าธุรกิจใดจะเข้าข่ายเป็น SMEs หรือไม่ ดูจาก ตัวบ่งชี้ 2 ประเภท คือ 5. ระบบข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็ว : ปัจจุบันการเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆ การจ้างงาน (คน) และสินทรัพย์ถาวร (ไม่รวมที่ดิน) ดังนี้ ไม่ใช่เรื่องยาก ขึ้นอยู่กับต้องใช้ให้เป็น โอกาสทางธุรกิจก็จะเข้ามาถึงตัวท่านได้ เช่นเดียวกัน วิสาหกิจขนาดย่อม หวังว่าหลังจากท่านได้อ่านหนังสือคู่มือ SMEs เล่มนี้ ท่านจะมีความมันใจ ่ ประเภทกิจการ การจ้างงาน(คน) สินทรัพย์ถาวร(ไม่รวมที่ดิน) และกล้าเริมต้นผจญภัยในดินแดนแห่งการเป็นเจ้าของธุรกิจ SMEs ต่อไป ่ การผลิต ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 50 ล้านบาท สนับสนุนโดย... บริการ ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 50 ล้านบาท ค้าส่ง ไม่เกิน 25 ไม่เกิน 50 ล้านบาท ค้าปลีก ไม่เกิน 15 ไม่เกิน 50 ล้านบาท 14 คู่มือ... SMEs “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด” 15
  • 10. วิสาหกิจขนาดกลาง ประเภทกิจการ จ้างงาน(คน สินทรัพย์ถาวร(ไม่รวมที่ดิน) การผลิต 51-200 เกินกว่า 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท บริการ 51-200 เกินกว่า 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 200 ล้านบาท ค้าส่ง 26-50 เกินกว่า 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 100 ล้านบาท ค้าปลีก 16-30 เกินกว่า 30 ล้าน 3 แต่ไม่เกิน 60 ล้านบาท บทที่ ทั้งนี้ในกรณีที่จำนวนการจ้างงานของกิจการใดเข้าลักษณะของวิสาหกิจ ขนาดย่อมแต่มูลค่าสินทรัพย์ถาวร เข้าลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลาง หรือ จำนวนการจ้างงานเข้าลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลางแต่มูลค่าสินทรัพย์ถาวร เข้ า ลั ก ษณะของวิ ส าหกิ จ ขนาดย่ อ ม ให้ ถื อ จำนวนการจ้ า งงาน หรื อ มู ล ค่ า สินทรัพย์ถาวรที่น้อยกว่าเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา อ้างอิง : พระราชบัญญัตสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ.2543 ิ่ เลือหรือ หจก. นะ บจก. กแบบไหนดี ทีมา : ฝ่ายยุทธศาสตร์ SME มหาภาค สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ่ ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2553 ตรวจสอบรายละเอียดเพิมเติมได้ที่ : สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ่ การประกอบธุรกิจการค้าอาจดำเนินการได้หลายรูปแบบ ทั้งโดยบุคคล โทรศัพท์ 02-278-8800 หรือดูรายละเอียดได้ที่ www.sme.go.th คนเดียวเป็นเจ้าของกิจการโดยลำพัง หรืออาจดำเนินการโดยร่วมลงทุนกับ สนับสนุนโดย... บุคคลอื่นเป็นกลุ่มคณะก็ได้ การที่จะตัดสินใจเลือกดำเนินธุรกิจการค้าในรูป แบบใดนั้น ผู้ประกอบการจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบที่สำคัญหลายประการ ด้วยกัน เช่น ลักษณะของกิจการจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบที่สำคัญหลาย ประการด้วยกัน เช่น ลักษณะของกิจการค้า เงินทุน ความรู้ ความสามารถใน การดำเนินธุรกิจเป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้การประกอบธุรกิจสามารถประสบผล สำเร็จ และนำมาซึ่งผลประโยชน์และกำไรสูงสุด 16 คู่มือ... SMEs “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด” 17
  • 11. รูปแบบองค์กรธุรกิจ วิธีการจัดตั้งห้างหุ้นส่วน การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจะต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ รูปแบบ 1. ชื่อของห้างหุ้นส่วน องค์กรธุรกิจ 2. วัตถุประสงค์ของห้างหุ้นส่วน 3. สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่และสาขาทั้งปวง 4. ชื่อและที่อยู่ พร้อมทั้งอาชีพของหุ้นส่วนทุกคน เป็นนิติบุคคล ไม่เป็นนิติบุคคล 5. ชื่อของหุ้นส่วนผู้จัดการเมื่อได้แต่งตั้งให้หุ้นส่วน เป็นผู้จัดการแต่เพียงบางคน (จดทะเบียนตั้งขึ้น (อาจต้องจดทะเบียนตาม ตามกฎหมาย) พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์) 6. ถ้ามีข้อจำกัดอำนาจของหุ้นส่วนผู้จัดการให้ลงไว้ด้วย 7. ตราที่ ใช้เป็นตราสำคัญของห้างหุ้นส่วน การจดทะเบียนต้องลงลายมือชื่อ ของหุ้นส่วนทุกคนและต้องประทับตราของห้างหุ้นส่วนนั้นด้วย และให้พนักงาน 1. ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน 1. กิจการร้านค้า ทะเบียนทำใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนส่งมอบให้แก่ห้างหุ้นส่วนนั้นฉบับหนึ่ง 2. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจ้าของคนเดียว 3. บริษัทจำกัด 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญ 4. บริษัทมหาชนจำกัด บริษัทจำกัด (บจก.) 5. องค์การธุรกิจจัดตั้ง หรือจด บริษัทจำกัดเป็นนิติบุคคลที่ตั้งขึ้น เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำไร ทะเบียนภายใต้กฎหมายเฉพาะ จากกิจการที่กระทำโดยแบ่งทุนออกเป็นหุ้นซึ่งมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน และมีผู้ ถือหุ้นตั้งแต่ 3 คนแต่ไม่ถึง 100 คน ผู้ถือหุ้นทุกคนต่างรับผิดจำกัดเพียงไม่เกิน ห้างหุ้นส่วน (หจก.) จำนวนเงินที่ตนยังส่งไม่ครบมูลค่าหุ้นที่ตนถือ ห้างหุ้นส่วน เป็นรูปแบบของการประกอบธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้น ลักษณะของบริษัทจำกัด มีดังต่อไปนี้ ไปทำสัญญาร่วมกันเพื่อวัตถุประสงค์ ในการแบ่งผลกำไรระหว่างกัน 1. มีผู้ริเริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทอย่างน้อย 3 คน สัญญาการจัดตั้ง ห้างหุ้นส่วน มีรายละเอียดดังนี้ 2. มีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 3-99 คน ผู้ถือหุ้น 2 คนขึ้นไปถือหุ้นเดียวกันให้นับเป็น 1. มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป และเป็นบุคคลที่สามารถทำนิติกรรมตาม ผู้ถือหุ้น 1 คน กฏหมายได้ 3. แบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าละเท่ากัน มูลค่าหุ้นไม่ต่ำกว่าหุ้นละ 5 บาท 2. ต้องมีการแสดงเจตนาในการเข้าเป็นหุ้นส่วน 4. ผู้ถือหุ้นทุกคนรับผิดในหนี้สินของบริษัทเพียงส่วนซึ่งยังส่งใช้ค่าหุ้นที่ตน 3. ต้องมีการเข้าเป็นหุ้นส่วนกัน โดยใช้เงินสด หรือสินทรัพย์อื่นทั้งที่เป็น ถือไม่ครบ สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ ตลอดจนกำลังกาย และกำลังความรู้ความ 5. มีวัตถุประสงค์ในการแสวงหากำไร ชำนาญ 6. ต้องมีกรรมการอย่างน้อย 1 คน ซึ่งเลือกตั้งจากที่ประชุมจัดตั้งบริษัท 4. กิจการที่กระทำต้องไม่มีวัตถุประสงค์ที่ขัดกับกฏหมาย หรือขัดกับ 7. ต้องกำหนดอำนาจหน้าที่ของกรรมการในการกระทำการแทนบริษัทจำกัด ความสงบเรียบร้อย และศิลธรรมอันดีของประชาชน 8. ต้องมีผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีประจำบริษัทจำกัด 5. ต้องมีเจตนาร่วมกันในส่วนได้ส่วนเสีย (กำไรขาดทุน) ในการจัดการ 9. ต้องมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในราชอาณาจักร ดูแลกิจการซึ่งทำร่วมกัน 10. ต้องมีตราสำคัญแสดงการถือหุ้นที่ใช้ประทับในใบหุ้น 18 คู่มือ... SMEs “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด” 19
  • 12. 11. ต้องมีใบสำคัญแสดงการถือหุ้นมอบให้ผู้ถือหุ้นทุกคน ซื้อหุ้นอย่างน้อยเจ็ดวัน ก่อนวันนัดประชุม ในการประชุมจัดตั้งจะมีการกำหนด 12. ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ข้อบังคับของบริษัทและเลือกตั้งคณะกรรมการอำนวยการดำเนินการต่อไป 13. ต้องใช้คำว่า “บริษัท” นำหน้า และ “จำกัด” ต่อท้ายชื่อเสมอ 4. เรี ย กให้ ผู้ เ ข้ า ชื่ อ จองหุ้ น และผู้ เ ริ่ ม กิ จ การชำระเงิ น ค่ า หุ้ น คณะ 14. อายุไม่จำกัดจนกว่าจะมีเหตุต้องเลิกตามกฎหมาย กรรมการอำนวยการจะเรียกเก็บเงินค่าหุ้น โดยเก็บไม่ต่ำกว่า 25 % 15. คุณสมบัติของผู้ถือหุ้นไม่เป็นสาระสำคัญ 5. จดทะเบี ย นบริ ษั ท โดยที่ ห ลั ง จากเรี ย กเก็ บ ค่ า หุ้ น ได้ ค รบตามที่ ประเทศไทยมีการแบ่งบริษัทจำกัดออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) บริษัท กฎหมายกำหนดแล้ว คณะกรรมการอำนวยการจะต้องไปขอจดทะเบียนภายใน เอกชนจำกัด ซึ่งจัดตั้งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 2) บริษัทมหาชน สามเดือนนับจากวันประชุมจัดตั้งบริษัท กระบวนการจัดตั้งบริษัทจะเสร็จลงเมื่อ จำกัด ซึ่งจัดตั้งตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ.2521 และภาย ได้ ใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน ซึ่งแสดงว่าบริษัทจำกัดนั้นสามารถดำเนิน หลังได้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามพระราชบัญญัติ พ.ศ.2535 วัตถุประสงค์ กิจการได้ถูกต้องตามกฎหมายตั้งแต่นั้นเป็นต้นไป การจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัดเป็นการกระจายความเป็นเจ้าของกิจการไปในหมู่ ประชาชนจำนวนมาก และผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ล ะคนจะถื อ หุ้ น ในสั ด ส่ ว นที่ น้ อ ยเมื่ อ ตารางเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่าง หจก. กับ บจก. เปรียบเทียบกับทุนเรือนหุ้นทั้งหมดของบริษัท ปัจจัย ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัท ความรับผิดต่อหนี้สิน หุ้นส่วนบางคนรับผิดจำกัด จำกัดเพียงเงินที่ยัง วิธีการจัดตั้งบริษัทจำกัด ของผู้ประกอบการ ส่งให้ค่าหุ้นไม่ครบ 1. จัดทำหนังสือบริคณห์สนธิไปขอจดทะเบียน โดยผู้ก่อตั้งบริษัทไม่น้อย อายุของกิจการ ขึ้นอยู่กับหุ้นส่วนที่ไม่จำกัด ไม่ขึ้นอยู่กับอายุ กว่า 3 คน ทำการบันทึกวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งบริษัท 2 ฉบับขึ้นไป โดยผู้ ความรับผิดชอบ เจ้าของ เริ่มกิจการทุกคนลงลายมือชื่อไว้ พร้อมพยานลงชื่อรับรองด้วย 2 คน หนังสือ การถ่ายโอนความเป็น ทำได้ถ้าเป็นหุ้นส่วนที่รับ ทำได้ง่ายมาก บริคณห์สนธิต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ เจ้าของ ผิดชอบ 1.1 ชื่อบริษัทที่จะตั้งขึ้นซึ่งต้องมีคำว่า“จำกัด”ไว้ท้ายชื่อเสมอ การขยายกิจการ ทำได้ค่อนข้างยาก ทำได้ง่าย 1.2 ทีตงสำนักงานของบริษัท ซึงจดทะเบียนนันจะต้องอยูประเทศไทย ่ ั้ ่ ้ ่ ข้อจำกัดทางกฎหมาย ค่อนข้างเข้มงวด เข้มงวดมาก 1.3 วัตถุประสงค์ของบริษัท การจัดตั้ง ทำได้ค่อนข้างยาก ทำได้ยาก 1.4 ถ้อยคำที่แสดงว่าความรับผิดของผู้ถือหุ้นมีจำกัด การหาแหล่งเงินทุน ทำได้ค่อนข้างยาก ทำได้ง่าย 1.5 จำนวนทุกหุนทีจะจดทะเบียนมีมลค่าหุนละเท่าไร (ต้องไม่ตำกว่า 5 บาท) ้ ่ ู ้ ่ การรักษาความลับ มีค่อนข้างน้อย ไม่มี 1.6 ชื่อที่อยู่ อาชีพ และลายมือชื่อของบรรดาผู้เริ่มกิจการ และจำนวน ของกิจการ หุ้นของแต่ละคนที่ต่างเข้าชื่อไว้ ประสิทธิภาพในการ มีค่อนข้างน้อย มีมาก 2. จัดให้มีผู้เข้าชื่อซื้อหุ้น หลังจากได้รับใบสำคัญแสดงการจดทะเบียน บริหาร หนังสือบริคณห์สนธิแล้ว ผู้ก่อตั้งจะเริ่มหาผู้สนใจเข้าร่วมซื้อหุ้นให้ครบตาม ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ จำนวนทุนเรือนหุ้นที่บริษัทกำหนด จดทะเบียนโดยอาจบอกกล่าวโดยวาจาหรือ ข้อมูล ณ วันที่ 9 มีนาคม 2553 ลายลักษณ์อักษรได้ แต่ห้ามมิให้ชี้ชวนประชาชนให้ซื้อหุ้น ตรวจสอบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ 3. ประชุมจัดตั้งบริษั ท เมื่อมีผู้ซื้อหุ้นหมดแล้ว ผู้เริ่มกิจการจะนัดวัน เบอร์โทรศัพท์ 0-2547-5050 สายด่วน 1570 หรือดูรายละเอียดได้ที่ www.thairegistration.com ประชุมใหญ่เพื่อจัดตั้งบริษัทโดยจะต้องรายงานการจัดตั้งบริษัทไปยังผู้เข้าชื่อ 20 คู่มือ... SMEs “เป็นเจ้าของธุรกิจ...ไม่ยากอย่างที่คิด” 21