SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
กิตติกรรมประกาศ
รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลาย
ท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณท่านแรกที่ผู้ศึกษาคือ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์
เอี่ยมครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอา
ใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุด ท่านที่สอง คือ
ครูมารินทร์ จานแก้ว ที่ให้คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ เทคนิคการนาเสนอ
รายงานปากเปล่า ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ไว้ ณ โอกาส นี้นอกจากนี้ขอขอบคุณ
นายกิตติภพ เฉลยไฉ นางสาวประทานพร กุมภาพันธ์ นักเรียนห้อง ม.5/4 ที่ช่วยในการสืบค้น
ข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และให้กาลังใจในการศึกษาค้นคว้าตลอดมา
คณะผู้จัดทา
บทที่ 1
ทรัพยากรป่าไม้
1.1.ทรัพยากรป่าไม้หมายถึง
ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็น
มนุษย์หรือสัตว์อื่น ๆ เพราะป่าไม้มีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัย
สี่ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรคสาหรับมนุษย์ และยังมีประโยชน์ใน
การรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม ถ้าป่าไม้ถูกทาลายลงไปมาก ๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อ
สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
เช่น สัตว์ป่า ดิน น้า อากาศ ฯลฯ เมื่อป่าไม้ถูกทาลาย จะส่งผลไปถึงดินและแหล่งน้า
ด้วย เพราะเมื่อเผาหรือถางป่าไปแล้ว พื้นดินจะโล่งขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะ
ล้างหน้าดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนั้นเมื่อขาดต้นไม้คอยดูดซับน้าไว้น้าก็
จะไหลบ่าท่วมบ้านเรือน และที่ลุ่มในฤดูน้าหลากพอถึงฤดูแล้งก็ไม่มีน้าซึมใต้ดินไว้หล่อเลี้ยงต้น
น้าลาธารทาให้แม่น้ามีน้าน้อย ส่งผลกระทบต่อมาถึงระบบเศรษฐกิจและสังคม เช่น การขาด
แคลนน้าในการการชลประทานทาให้ทานาไม่ได้ผลขาดน้ามาผลิตกระแสไฟฟ้า
รูปที่ 1.1 ป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์
1.2 ความสาคัญของทรัพยากรป่าไม้
ป่าไม้มีประโยชน์มากมายต่อการดารชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้
1.2.1. ประโยชน์ทางตรง (Direct benefits) ได้แก่การนามาใช้สนองปัจจัยพื้นฐานในการ
ดารงชีวิตของมนุษย์ 4 ประการ ได้แก่
1. นามาสร้างอาคารบ้านเรือนและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟืน
เป็นต้น
2. ใช้เป็นอาหาร
3. ใช้เส้นใยที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์ มาถักทอเป็นเครื่องนุ่งห่ม เชือก และอื่น ๆ
4. ใช้ทายารักษาโรคต่าง ๆ
1.3 ประโยชน์ทางอ้อม (Indirect benefits)
1. ป่าไม้เป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าลาธาร เพราะต้นไม้จานวนมากในป่า จะทาให้น้าฝนที่ตกลงมา
ค่อย ๆ ซึมซับลงในดิน กลายเป็นน้าใต้ดินซึ่งจะไหลซึมมาหล่อเลี้ยงให้แม่น้าลาธารมีน้าไหลอยู่
ตลอดปี
2. ป่าไม้ทาให้เกิดความชุมชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้าซึ่งเกิดจากการหายใจของพืช
จานวนมากในป่า ทาให้อากาศเหนือป่ามีความชื้นสูง เมื่ออุณหภูมิลดต่าลงไอน้า เหล่านั้นก็จะ
กลั่นตัวกลายเป็นเมฆแล้วกลายเป็นฝนตกลงมา ทาให้บริเวณที่มีพื้นที่ป่าไม้มีความชุมชื้นอยู่
เสมอ ฝนตกต้องตามฤดูกาลและไม่เกิดความแห้งแล้ง
3. ป่าไม้เป็นแหล่งพักผ่อนและศึกษาหาความรู้ บริเวณป่าไม้จะมีภูมิประเทศที่ สวยงามจาก
ธรรมชาติรวมทั้งสัตว์ป่าจึงเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้ดี นอกจากนั้นป่าไม้ยังเป็นที่รวมของ
พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์จานวนมาก จึงเป็นแหล่งให้มนุษย์ได้ศึกษาหาความรู้
4. ป่าไม้ช่วยบรรเท่าความรุนแรงของลมพายุและป้องกันอุทกภัย โดยช่วยลดความเร็วของลม
พายุที่พัดผ่านได้ตั้งแต่ 11-44% ตามลักษณะของป่าไม้แต่ละชนิดจึงช่วยให้บ้านเมือง รอดพ้น
จากวาตภัยได้ ซึ่งเป็นการป้องกันและควบคุมน้าตามแม่น้าไม่ให้สูงขึ้นอย่างมารวดเร็วล้นฝั่ง
กลายเป็นอุทกภัย
บทที่2
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
2.1 ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ เกิดจากอะไร
1. การลักลอบตัดไม้ทาลายป่า ตัวการของปัญหานี้คือ นายทุนพ่อค้าไม้ เจ้าของโรงเลื่อย
เจ้าของโรงงานแปรรูปไม้ ผู้รับสัมปทานทาไม้และชาวบ้านทั่วไป ซึ่งทาการตัดไม้เพื่อเอาประ
โยชน์จากเนื้อไม้ททั้งที่ถูกและไม่ถูกกฎหมาย ปริมาณป่าไม้ที่ถูกทาลายนี้นับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย
ๆ ตามอัตราการเพิ่มจานวนประชากร ยิ่งมีประชากรเพิ่มขึ้นเท่าใด ความต้องการใช้ไม้ก็เพิ่ม
มากขึ้น เช่น ใช้ไม้ ในการปลูกสร้างบ้านเรือน เครื่องมือเครื่องใช้ในการเกษตรกรรม เครื่องเรือน
และถ่านในการหุงต้ม เป็นต้น
2. การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน เมื่อประชากรเพิ่มสูงขึ้น ความต้องการ
ใช้พื้นดินเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัยและที่ดินทากินก็สูงขึ้น เป็นผลให้ราษฎรเข้าไปบุกรุกพื้นที่ป่า
ไม้ แผ้วถางป่า หรือเผาป่าทาไร่เลื่อนลอย นอกจากนี้ยังมีนายทุนที่ดินที่จ้างวานให้ราษฎรเข้า
ไปทาลายป่าเพื่อจับจองที่ดินไว้ขายต่อไป
ภาพที่2.1 การตัดไม้ทาลายป่า
3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออกในพื้นที่ป่าที่ไม่เหมาะสม เช่น มัน
สัมปะหลัง ปอ เป็นต้น โดยไม่ส่งเสริมการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้ง ๆ ที่พื้นที่ป่าบางแห่งไม่
เหมาะสมที่จะนามาใช้ในการเกษตร
4. การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทาไม่ชัดเจน หรือไม่กระทาเลยในหลาย ๆ พื้นที่ ทาให้ราษฎรเกิด
ความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ทาให้เกิดการพิพาทในเรื่องที่ดินทากินและที่ดินป่าไม้อยู่
ตลอดเวลาและมักเกิดการร้องเรียนต่อต้านในเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน
5. การจัดสร้างสาธรณูปโภคของรัฐ เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลา
น้า จะทาให้พื้นที่เก็บน้าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัดโค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทา
การย้ายออกมาไม่ทันจะถูกน้าท่วมยืนต้นตาย เช่น การสร้างเขื่อนรัชประภา เพื่อกั้นคลองพระแสงอันเป็น
สาขาของแม่น้าพุมดวง-ตาปี ทาให้น้า
ท่วมบริเวณป่าดงดิบซึ่งมีพันธุ์ไม้หนาแน่น
สัตว์นานาชนิดนับพื้นที่เป็นแสนไร่ ต่อมา
จึงเกิดปัญหาน้าเน่าไหลลงลาน้าพุมดวง
6. ไฟไหม้ป่า มักจะเกิดขึ้นในช่วง
ฤดูแล้ง อากาศแห้งและร้อนจัด ทั้งโดย
ธรรมชาติและจากการกระทาของมนุษย์ที่
อาจลักลอบเผาป่าหรือเผลอจุดไฟทิ้งไว้
โดยเฉพาะในป่าผลัดใบ ไฟป่าเมื่อเกิดขึ้น
จะทาให้เกิดการสูญเสียพื้นที่ป่าจานวนมากภาพที่2.2 ผู้คนตัดไม้ทาลายป่า
7. การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดิน
ก่อน จึงทาให้ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง เส้นทางการขนย้ายแร่ในบางครั้งต้องทาลายป่าไม้ลงจานวน
มาก เพื่อสร้างถนนหนทาง การระเบิดหน้าดินเพื่อให้ได้มาซึ่งแร่ธาตุส่งผลถึงการทาลายป่า
บทที่ 3
แนวทางการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม
3.1 ความหมายของป่าไม้เสื่อมโทรม
"ป่าเสื่อมโทรม" หมายความว่า พื้นที่ป่าในบริเวณป่าสงวนแห่งชาติทั้งหมดหรือบางส่วน มีไม้มี
ค่าที่มีลักษณะสมบูรณ์เหลืออยู่เป็นส่วนน้อย และป่านั้นยากที่จะกลับฟื้นคืนได้ตามธรรมชาติ
โดยมีลูกไม้ขนาดความสูงเกิน 2 เมตร ขึ้นไป ขึ้นกระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 20 ต้น หรือมี
ไม้ขนาดความโตวัดโดยรอบลาต้นตรงที่สูง 130 เซนติเมตร ตั้งแต่ 50 - 100 เซนติเมตร ขึ้น
กระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 8 ต้น หรือมีไม้ขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตร ขึ้นไป ขึ้น
กระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 2 ต้น หรือพื้นที่ป่าที่มีไม้เข้าหลักเกณฑ์ทั้ง 3 ลักษณะดังกล่าว
เมื่อรวมกันแล้วต้องมีจานวนไม่เกินไร่ละ 16 ต้น
ภาพที่3.1 ป่าไม้เสื่อมโทรม
3.2สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขป่าเสื่อมโทรม
1.การทาไม้ ความต้องการไม้เพื่อกิจการต่างๆ เช่น เพื่อทาอุตสาหกรรมโรงเลื่อย โรงงาน
กระดาษสร้างที่อยู่อาศัยหรือการค้า ทาให้ต้นไม้ถูกลอบตัดและตัดถูกต้องตามกฎหมาย ทั้ง
อนุญาตผูกขาดทั้งสัมปทานระยะยาว ขาดระบบการควบคุมที่ดี ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมุ่งแต่
ตัวเลขปริมาตรที่จะทาออก โดยไม่ระวังดูแลพื้นที่ป่า ไม่ติดตามผลการปลูกป่าทดแทนตาม
เงื่อนไขสัมปทานว่า ได้ดูแลรักษาต้นไม้ให้เจริญเติบโตอย่างปลอดภัยหรือไม่ จนในที่สุดได้มี
พระราชกาหนด ณ วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2531 ประกาศยกเลิกสัมปทานป่าไม้ (ป่าบก) ทั่ว
ประเทศไทย เมื่อเกิดกรณีกระทู้ขึ้นมาและกล่าวโทษว่า การทาไม้เป็นเหตุทาลายป่า เป็นผลให้
เกิดภัยพิบัติเช่นนั้นขึ้น
2.การเพิ่มจานวนประชากร ของประเทศ ทาให้ความต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึ้น
ความจาเป็นที่ต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น พื้นที่ป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของ
การขยายพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก การบุกรุกพื้นที่ป่าอาจกระทาโดยราษฏรสามารถบุกรุกเข้า
ครอบครองพื้นที่หลัง การทาไม้ได้อย่างง่ายดาย จากการ เพิกเฉยของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง หรือ
เกษตรกรเหล่านี้ทาการเกษตรโดยขาดการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างมี ประสิทธิภาพเป็นเหตุให้
มีหนี้สินเพิ่มขึ้น ต้องขายที่ดินแล้วอพยพเข้าป่าลึกไปเรื่อยๆ
3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์
เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มัน
สาปะหลัง ปอ ฯลฯ
ภาพที่3.2 จานวนประชากรเพิ่มขึ้น
4.การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทาไม่ชัดเจนหรือไม่กระทาเลยในหลายๆ ป่า ทาให้ราษฏร
เกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา บางแห่งเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เองยังไม่สามารถชี้แนว
เขตได้ถูกต้อง ทาให้เกิดการพิพาทในเรื่องที่ดินทากินและที่ดินป่าไม้อยู่ตลอดเวลา และมักเกิด
การร้องเรียนต่อต้านในเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน ซึ่งช่วงระยะนี้เองการบุกรุกพื้นที่ป่าก็ดาเนินไป
เรื่อยๆ กว่าจะรู้แพ้รู้ชนะป่าก็หมดสภาพไปแล้ว
5.ไฟไหม้ป่า ประเทศไทยมักเกิดไฟไหม้ป่าในฤดูร้อนเป็นประจาทุกปี เพราะในฤดูร้อนพวก
วัชพืชในป่าหรือจากการผลัดใบของต้นไม้ ใบไม้จะแห้งแล้งและติดไฟง่าย การสูญเสียป่าไม้
เกิดขึ้นทุกๆ ปีในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไฟป่าอาจเกิดจากการ
กระทาของคนหรือจากธรรมชาติ ผลเสียของไฟไหม้ป่าทาลายทรัพยากรป่าไม้ คือ (1) ทาลาย
ต้นไม้ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ (2) ทาให้ดินเสื่อมคุณภาพ ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง
เนื่องจากฮิวมัสถูกทาลายและบางครั้งเกิดการพังทลายของดินตามมาด้วย (3) ทาให้โรคพืช
ระบาดกับต้นไม้ได้ง่าย เนื่องจากบางส่วนของต้นไม้ถูกทาลาย โรคเห็ด รา แมลง เจาะไชเป็นไป
ได้ง่ายขึ้น (4) ต้นไม้ที่หยุดการเจริญเติบโตชั่วคราวจะถูกต้นไม้อื่นเบียดบังแสงจนทาให้ ต้นไม้
แคระแกร็นไม่มีประโยชน์ (5) ความชื้นในดินถูกทาลาย เนื่องจากพืชคลุมดินถูกทาลายพืชขาด
แคลนน้า
ภาพที่ 3.3 ไฟไหม้ป่า
บทที่ 4
ผลกระทบ
4.1 ทรัพยากรดิน
ปกติพืชพรรณต่างๆ ของต้นไม้ ไม้พุ่ม วัชพืชต่างๆ ทุกส่วนของต้นไม้มีบทบาท ในการช่วยสกัด
กั้นไม่ให้ฝนตกถึงดินโดยตรง ความต้านทานการไหลบ่าของน้า ช่วยลดความเร็วของน้าที่จะพัด
พาหน้า ดินไป มีส่วนของรากช่วยยึดเหนี่ยวดินไว้ทาให้เกิดความคงทนต่อการพังทลายมาก
ยิ่งขึ้น แต่หากพื้นที่ว่างเปล่าอัตราการ พังทลายของดินจะเกิดรุนแรง การสูญเสียดินจะเพิ่มขึ้น
ภาพที่4.1 การชะล้างพังทลายของดิน
4.2มนุษย์
เนื่องจากพื้นที่ป่าไม้ถูกทาลาย พื้นดินขาดความอุดมสมบูรณ์หรือจากฝนตกหนักพร้อม ๆ กับ
การเกิดการพังทลายของดินลงมาจากพื้นที่ป่าถูกทาลาย พัดพาบ้านเรือนสิ่งของต่างๆ และ
ทาลายชีวิตมนุษย์อย่าง เตรียมตัวไม่ทัน การอพยพไปอยู่ถิ่นใหม่จึงเกิดขึ้น เนื่องจากถิ่นเก่าไม่
ปลอดภัยต่อการดารงอยู่ดังเหตุเกิดในภาคใต้ บริเวณพื้นที่ ต.กระทูน อ.พิปูน ต.คีรีวงค์ อ.ลาน
สกา จ.นครศรีธรรมราช การเกิดภัยแล้งจนต้องอพยพมาหางานทาในถิ่นอื่น
4.3ทรัพยากรน้า
น้าท่วมในฤดูฝน การกระทาใด ๆ ที่รบกวนดิน เช่น การตัดไม้ทาลายป่า ไฟป่า การชักลากไม้
ทาให้ผิวดินแน่น จานวนรูพรุนขนาดใหญ่ลดลง การซึมน้าผ่านผิวดินลดลง ก่อให้เกิดน้าไหลบ่า
หน้าผิวดินเพิ่มมากขึ้นจนระบายน้าไม่ทัน จะกลายสภาพเป็นอุทกภัยในพื้นที่ตอนล่างได้ไม่มาก
ก็น้อย ความแห้งแล้งในฤดูแล้ง การแผ้วถางทาลายป่าต้นน้าเป็นบริเวณกว้างทาให้พื้นที่ป่าไม้
ไม่ติดต่อกันเป็นผืนใหญ่ ทาให้เกิดการระเหยของน้าจากผิวดินสูง แต่การซึมน้าผ่านผิวดินต่า
ดินดูดซับและเก็บน้าภายในดินน้อยลง ทาให้น้าหล่อ เลี้ยงลาธารมีน้อยหรือไม่มี ลาธารจะขอด
แห้ง ความแห้งแล้งและการขาดแคลนน้าปรากฏให้เห็นในปลายปี 2534-2536 และต้นปี 2535-
2537 และปี 2536 ได้มีการรณรงค์เกี่ยวกับการเกิดภาวะการขาดแคลนน้าอย่างกว้างขวาง โดย
ขอให้ ทุกคนประหยัดการใช้น้าพร้อมกับข้อเสนอแนะวิธีการใช้น้าในทุกรูปแบบ เพื่อลดการ
สูญเสียของน้าที่ใช้อุปโภค บริโภค คุณภาพน้าเสื่อมลง คุณภาพน้าทั้งทางกายภาพ เคมี และ
ชีวภาพล้วนด้อยลง ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง หรือทาลายพื้นที่ป่า การปนเปื้อนของดินตะกอนที่น้า
พัดพาด้วยการไหลบ่าผ่านผิวหน้าดินหรือในรูปแบบอื่น ๆ นอกจากนี้การปราบวัชพืชหรือ
อินทรีย์ต่างๆ ที่อยู่ในแนวทางเดินของน้า ก่อให้เกิดการปนเปื้อนและสร้างความสกปรกต่อน้าได้
ไม่มากก็น้อย และมีแนวโน้มมากขึ้นเรื่อยๆ เป็นทวีคูณซึ่งต่างไปจากพื้นที่ต้นน้าที่มีป่าปกคลุม
น้าจะมีคุณภาพดีไหล สม่าเสมอและมีปริมาณมากพอทาให้ไม่สามารถนาน้ามาใช้ในการ
อุปโภคบริโภคได้ ตะกอนที่อยู่ในแหล่งน้าหรือลงสู่ ทะเล จะทาให้น้าอยู่ในสภาพขุ่นข้น ทาให้
แสงจากดวงอาทิตย์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์แสงไม่สามารถส่องไปได้ เป็นการ
ขัดขวางขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชน้า ส่งผลกระทบต่อทางประมงในทางอ้อม
ภาพที่ 4.2 ทรัพยากรน้า
บทที่ 5 แนวทางการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม
5.1 การปลูกป่า
เป็นการดาเนินงานในการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ต้นน้าลาธารที่ถูกแผ้วถางบุกรุกทาลายจนกลาย
สภาพเป็นภูเขาหัวโล้น จาเป็นต้องปลูกป่าทดแทน เพื่อให้สามารถคืนสภาพป่าที่ถูกทาลายไป
ให้กลับมามีสภาพดังเดิมตามธรรมชาติให้มากที่สุด โดยกาหนดขั้นตอนในการดาเนินงานดังนี้
(1) การสารวจพื้นที่และจัดทาข้อมูลเบื้องต้น
-ดาเนินการสารวจรายละเอียดในพื้นที่เพื่อหาข้อมูลพื้นฐานต่างๆ สาหรับใช้ประกอบการจัดทา
แผนที่และกาหนดแผนการดาเนินงานต่อไป
-ให้ระบุชนิดป่า พรรณไม้ท้องถิ่น ตลอดจนไม้พื้นล่างที่สาคัญหรือที่มีเป็นจานวนมาก
-ให้ระบุลักษณะของอันตรายที่จะได้รับจากคน สัตว์ป่า สัตว์เลี้ยง แมลง หรือภัยธรรมชาติ และ
ความเห็นในการป้องกัน
-การคมนาคม ให้ระบุระยะและเส้นทางคมนาคม ที่ติดต่อระหว่างป่ากับหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ
จังหวัด และหากจาเป็นต้องตัดถนนเมื่อเริ่มดาเนินการเพื่อจะใช้เป็น--ทางตรวจการณ์ และ แนว
กันไฟ หรือ เส้นทางขนส่งกล้าไม้และวัสดุอุปกรณ์ให้กาหนดเส้นทางไว้ในแผนที่ด้วย
-ให้แสดงความเห็นเกี่ยวกับชนิดพรรณไม้ที่จะใช้ในการปลูก แหล่งเมล็ดไม้ และ แรงงานปลูก
ป่า
-ให้ระบุรายละเอียดสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินและการถือครองที่ดินในพื้นที่
-หากมีรายละเอียดอื่นใดที่เห็นว่าควรระบุไว้ เช่น มีหน่วยงานอื่นอยู่ในพื้นที่หรือปัจจัยภายนอก
ที่มีผลกระทบต่อลุ่มน้า ก็ให้ลดข้อเสนอแนะให้ชัดเจนด้วย
-ควรให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการสารวจคัดเลือกพื้นที่
5.2 การทาแนวกันไฟและทางตรวจการณ์การป้องกันไฟ
ให้ทาแนวกันไฟขนาดความกว้าง 8-11เซนติเมตร รอบพื้นที่เพื่อกาหนดแนวเขตและควบคุม
ป้องกันไฟป่าไม่ให้ลุกลามเข้ามาในพื้นที่เตรียมการปลูกป่าเพราะจะทาความเสียหายให้แก่
ต้นไม้ และกล้าไม้ที่มีอยู่เดิมซึ่งสามารถฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติ และถ้าหากเป็นการปลูกป่า
แปลงใหญ่ หรือสภาพพื้นที่เป็นภูเขาหรือเนินเขาสูงชันสลับซับซ้อนควบคุมป้องกันไฟป่าได้ยาก
ให้ทาแนวกันไฟภายแปลงปลูกป่าตามบริเวณแนวสันเขาและขอบเขา และหากมีการตัดถนนก็
สามารถใช้เป็นทางตรวจการณ์และแนวกันไฟได้
ภาพที่ 5.1 การทาแนวกันไฟและทางตรวจการณ์การป้องกันไฟ
5.3 การคัดเลือกชนิดพรรณไม้ปลูก
กล้าไม้ที่ปลูกต้องเป็นพรรณไม้ยืนต้น (tree) ที่เป็นพรรณไม้ท้องถิ่นที่สามารถสืบพันธุ์ตาม
ธรรมชาติ (natural regeneration ) ได้ดี ถ้าหากเมล็ดเป็นฝัก หรือผลสัตว์กินได้แล้วยิ่งเป็นการ
ดี เพราะเมื่อไม้ที่ปลูกโตเต็มวัย จะสามารถแพร่กระจายเมล็ดได้เอง ทาให้พื้นที่ป่ากลับฟื้นคืน
เองตามธรรมชาติใกล้เคียงสภาพดั้งเดิมได้ ให้กาหนดชนิดพรรณไม้ปลูกตั้งแต่ 5 ชนิดขึ้นไป
5.4การกาหนดระยะปลูก
กาหนดให้ปลูกต้นไม้แบบคละกัน ลักษณะไม่เป็นแถวเป็นแนว
5.5 การผลิตกล้าไม้
กล้าไม้ที่จะปลูกต้องเป็นกล้าไม้ที่เพาะเมล็ดจากแม่ไม้ที่มีลักษณะดีและอยู่ในวัยที่สมบูรณ์
เต็มที่ มีจานวนเพียงพอ ตามที่กาหนดจานวนต้นต่อไร่ และเพิ่มจานวนกล้าไม้ร้อยละ 21 ของ
กล้าไม้ที่ปลูกในพื้นที่เพื่อใช้ในการปลูกซ่อม กล้าไม้ที่พร้อมปลูกต้องมีสภาพแข็งแรงและแกร่ง
ขนาดความสูงประมาณ 31-61 เซนติเมตร (ตามความเหมาะสมของพรรณไม้แต่ละชนิด)
5.6 การบารุงรักษา
หลังจากการปลูกแล้วประมาณ 1-2 เดือน เพื่อที่จะให้กล้าไม้ที่ปลูกมีการรอดตายและ
เจริญเติบโตได้ดี พ้นจากการแก่งแย่งของวัชพืช ให้ทาการถางวัชพืชโดยเลือกใช้วิธีการถางเจาะ
ร่องตามแนวระดับ หรือถากวงกลมรอบต้น หรือถางทั้งพื้นที่ ทั้งนี้แล้วแต่ความหนาแน่นของ
วัชพืชและ สภาพพื้นที่ จากนั้นให้ทาการนับอัตราการรอดตายและปลูกซ่อมกล้าไม้ที่ตายทันที
โดยให้เสร็จสิ้น ภายในปีงบประมาณ
ภาพที่ 5.2 การบารุงรักษา
บรรณานุกรม
http://siripeerawit.blogspot.com/
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&ch
ap=5&page=t3-5-infodetail13.html
สานกงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม2552.
กลไกการเผยแพร่ข้อมูล
Aksornkoae, S. 1975. Structure Regeneration and Productivity
of Mangroves inThailand. Ph.D. Thesis., Michigan State, USA.
Aksornkoae, S., G. Wattayakorn and W. Kaitpraneet. 1978.
Physical and ChemicalProperties of Soil and Water in Mangrove
Forest at AmphoeKlung, ChangwatChantaburi Thailand. Final
Report Submitted to UNESCO, Paris.Aksornkoae, S., J.
Kongsangchai, S. Panichsuko. W. Srisawatt, S. Panichchart, V.
Ag-uru,N. Jintana, V. Jintana, J. Krachaivong and B.
Kooha.1989. Inventory andMonitoring on Mangroves in
Thailand. Final Report Submitted to The Office ofthe National
Environment Board, Bangkok.
ภาคผนวก
ข้อมูลรายละเอียดต่างๆ
-งานก#1
-งานย่อย 4
-งานย่อย
ผู้จัดทา
น.ส.ชญาธร ปรางค์ทอง
ม.5/4 เลขที่ 14
น.ส.วริษา หาญแรง
ม.5/4 เลขที่ 17
น.ส.ลินจง ภู่ระหงษ์
ม.5/4 เลขที่ 24
น.ส.อนันตยา มหาวัย
ชั้น ม.5/4 เลขที่ 25

Contenu connexe

Tendances

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 

Tendances (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 

Similaire à ปัญหาทรัพยากรป่าไม้

เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)DekDoy Khonderm
 
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทยทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทยwittawat_name
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนneungzaba
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3Nanapawan Jan
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางพัน พัน
 

Similaire à ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ (18)

เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)โครงการในพระราชดำร (1)
โครงการในพระราชดำร (1)
 
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทยทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3
 
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทางโครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
โครงการรักษ์โลกให้ถูกทาง
 

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 

Plus de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 

ปัญหาทรัพยากรป่าไม้

  • 1. กิตติกรรมประกาศ รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลาย ท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณท่านแรกที่ผู้ศึกษาคือ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์ เอี่ยมครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอา ใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ที่สุด ท่านที่สอง คือ ครูมารินทร์ จานแก้ว ที่ให้คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ เทคนิคการนาเสนอ รายงานปากเปล่า ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ไว้ ณ โอกาส นี้นอกจากนี้ขอขอบคุณ นายกิตติภพ เฉลยไฉ นางสาวประทานพร กุมภาพันธ์ นักเรียนห้อง ม.5/4 ที่ช่วยในการสืบค้น ข้อมูลแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และให้กาลังใจในการศึกษาค้นคว้าตลอดมา คณะผู้จัดทา
  • 2. บทที่ 1 ทรัพยากรป่าไม้ 1.1.ทรัพยากรป่าไม้หมายถึง ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็น มนุษย์หรือสัตว์อื่น ๆ เพราะป่าไม้มีประโยชน์ทั้งการเป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัย สี่ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรคสาหรับมนุษย์ และยังมีประโยชน์ใน การรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม ถ้าป่าไม้ถูกทาลายลงไปมาก ๆ ย่อมส่งผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น สัตว์ป่า ดิน น้า อากาศ ฯลฯ เมื่อป่าไม้ถูกทาลาย จะส่งผลไปถึงดินและแหล่งน้า ด้วย เพราะเมื่อเผาหรือถางป่าไปแล้ว พื้นดินจะโล่งขาดพืชปกคลุม เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะ ล้างหน้าดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินไป นอกจากนั้นเมื่อขาดต้นไม้คอยดูดซับน้าไว้น้าก็ จะไหลบ่าท่วมบ้านเรือน และที่ลุ่มในฤดูน้าหลากพอถึงฤดูแล้งก็ไม่มีน้าซึมใต้ดินไว้หล่อเลี้ยงต้น น้าลาธารทาให้แม่น้ามีน้าน้อย ส่งผลกระทบต่อมาถึงระบบเศรษฐกิจและสังคม เช่น การขาด แคลนน้าในการการชลประทานทาให้ทานาไม่ได้ผลขาดน้ามาผลิตกระแสไฟฟ้า รูปที่ 1.1 ป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์
  • 3. 1.2 ความสาคัญของทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้มีประโยชน์มากมายต่อการดารชีวิตของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนี้ 1.2.1. ประโยชน์ทางตรง (Direct benefits) ได้แก่การนามาใช้สนองปัจจัยพื้นฐานในการ ดารงชีวิตของมนุษย์ 4 ประการ ได้แก่ 1. นามาสร้างอาคารบ้านเรือนและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟืน เป็นต้น 2. ใช้เป็นอาหาร 3. ใช้เส้นใยที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์ มาถักทอเป็นเครื่องนุ่งห่ม เชือก และอื่น ๆ 4. ใช้ทายารักษาโรคต่าง ๆ 1.3 ประโยชน์ทางอ้อม (Indirect benefits) 1. ป่าไม้เป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าลาธาร เพราะต้นไม้จานวนมากในป่า จะทาให้น้าฝนที่ตกลงมา ค่อย ๆ ซึมซับลงในดิน กลายเป็นน้าใต้ดินซึ่งจะไหลซึมมาหล่อเลี้ยงให้แม่น้าลาธารมีน้าไหลอยู่ ตลอดปี 2. ป่าไม้ทาให้เกิดความชุมชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้าซึ่งเกิดจากการหายใจของพืช จานวนมากในป่า ทาให้อากาศเหนือป่ามีความชื้นสูง เมื่ออุณหภูมิลดต่าลงไอน้า เหล่านั้นก็จะ กลั่นตัวกลายเป็นเมฆแล้วกลายเป็นฝนตกลงมา ทาให้บริเวณที่มีพื้นที่ป่าไม้มีความชุมชื้นอยู่ เสมอ ฝนตกต้องตามฤดูกาลและไม่เกิดความแห้งแล้ง 3. ป่าไม้เป็นแหล่งพักผ่อนและศึกษาหาความรู้ บริเวณป่าไม้จะมีภูมิประเทศที่ สวยงามจาก ธรรมชาติรวมทั้งสัตว์ป่าจึงเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้ดี นอกจากนั้นป่าไม้ยังเป็นที่รวมของ พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์จานวนมาก จึงเป็นแหล่งให้มนุษย์ได้ศึกษาหาความรู้ 4. ป่าไม้ช่วยบรรเท่าความรุนแรงของลมพายุและป้องกันอุทกภัย โดยช่วยลดความเร็วของลม พายุที่พัดผ่านได้ตั้งแต่ 11-44% ตามลักษณะของป่าไม้แต่ละชนิดจึงช่วยให้บ้านเมือง รอดพ้น จากวาตภัยได้ ซึ่งเป็นการป้องกันและควบคุมน้าตามแม่น้าไม่ให้สูงขึ้นอย่างมารวดเร็วล้นฝั่ง กลายเป็นอุทกภัย
  • 4. บทที่2 ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ 2.1 ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ เกิดจากอะไร 1. การลักลอบตัดไม้ทาลายป่า ตัวการของปัญหานี้คือ นายทุนพ่อค้าไม้ เจ้าของโรงเลื่อย เจ้าของโรงงานแปรรูปไม้ ผู้รับสัมปทานทาไม้และชาวบ้านทั่วไป ซึ่งทาการตัดไม้เพื่อเอาประ โยชน์จากเนื้อไม้ททั้งที่ถูกและไม่ถูกกฎหมาย ปริมาณป่าไม้ที่ถูกทาลายนี้นับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามอัตราการเพิ่มจานวนประชากร ยิ่งมีประชากรเพิ่มขึ้นเท่าใด ความต้องการใช้ไม้ก็เพิ่ม มากขึ้น เช่น ใช้ไม้ ในการปลูกสร้างบ้านเรือน เครื่องมือเครื่องใช้ในการเกษตรกรรม เครื่องเรือน และถ่านในการหุงต้ม เป็นต้น 2. การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน เมื่อประชากรเพิ่มสูงขึ้น ความต้องการ ใช้พื้นดินเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัยและที่ดินทากินก็สูงขึ้น เป็นผลให้ราษฎรเข้าไปบุกรุกพื้นที่ป่า ไม้ แผ้วถางป่า หรือเผาป่าทาไร่เลื่อนลอย นอกจากนี้ยังมีนายทุนที่ดินที่จ้างวานให้ราษฎรเข้า ไปทาลายป่าเพื่อจับจองที่ดินไว้ขายต่อไป ภาพที่2.1 การตัดไม้ทาลายป่า
  • 5. 3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออกในพื้นที่ป่าที่ไม่เหมาะสม เช่น มัน สัมปะหลัง ปอ เป็นต้น โดยไม่ส่งเสริมการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้ง ๆ ที่พื้นที่ป่าบางแห่งไม่ เหมาะสมที่จะนามาใช้ในการเกษตร 4. การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทาไม่ชัดเจน หรือไม่กระทาเลยในหลาย ๆ พื้นที่ ทาให้ราษฎรเกิด ความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ทาให้เกิดการพิพาทในเรื่องที่ดินทากินและที่ดินป่าไม้อยู่ ตลอดเวลาและมักเกิดการร้องเรียนต่อต้านในเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน 5. การจัดสร้างสาธรณูปโภคของรัฐ เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลา น้า จะทาให้พื้นที่เก็บน้าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัดโค่นมาใช้ประโยชน์ ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทา การย้ายออกมาไม่ทันจะถูกน้าท่วมยืนต้นตาย เช่น การสร้างเขื่อนรัชประภา เพื่อกั้นคลองพระแสงอันเป็น สาขาของแม่น้าพุมดวง-ตาปี ทาให้น้า ท่วมบริเวณป่าดงดิบซึ่งมีพันธุ์ไม้หนาแน่น สัตว์นานาชนิดนับพื้นที่เป็นแสนไร่ ต่อมา จึงเกิดปัญหาน้าเน่าไหลลงลาน้าพุมดวง 6. ไฟไหม้ป่า มักจะเกิดขึ้นในช่วง ฤดูแล้ง อากาศแห้งและร้อนจัด ทั้งโดย ธรรมชาติและจากการกระทาของมนุษย์ที่ อาจลักลอบเผาป่าหรือเผลอจุดไฟทิ้งไว้ โดยเฉพาะในป่าผลัดใบ ไฟป่าเมื่อเกิดขึ้น จะทาให้เกิดการสูญเสียพื้นที่ป่าจานวนมากภาพที่2.2 ผู้คนตัดไม้ทาลายป่า 7. การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดิน ก่อน จึงทาให้ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง เส้นทางการขนย้ายแร่ในบางครั้งต้องทาลายป่าไม้ลงจานวน มาก เพื่อสร้างถนนหนทาง การระเบิดหน้าดินเพื่อให้ได้มาซึ่งแร่ธาตุส่งผลถึงการทาลายป่า
  • 6. บทที่ 3 แนวทางการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม 3.1 ความหมายของป่าไม้เสื่อมโทรม "ป่าเสื่อมโทรม" หมายความว่า พื้นที่ป่าในบริเวณป่าสงวนแห่งชาติทั้งหมดหรือบางส่วน มีไม้มี ค่าที่มีลักษณะสมบูรณ์เหลืออยู่เป็นส่วนน้อย และป่านั้นยากที่จะกลับฟื้นคืนได้ตามธรรมชาติ โดยมีลูกไม้ขนาดความสูงเกิน 2 เมตร ขึ้นไป ขึ้นกระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 20 ต้น หรือมี ไม้ขนาดความโตวัดโดยรอบลาต้นตรงที่สูง 130 เซนติเมตร ตั้งแต่ 50 - 100 เซนติเมตร ขึ้น กระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 8 ต้น หรือมีไม้ขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตร ขึ้นไป ขึ้น กระจายอยู่ทั่วพื้นที่ไม่เกินไร่ละ 2 ต้น หรือพื้นที่ป่าที่มีไม้เข้าหลักเกณฑ์ทั้ง 3 ลักษณะดังกล่าว เมื่อรวมกันแล้วต้องมีจานวนไม่เกินไร่ละ 16 ต้น ภาพที่3.1 ป่าไม้เสื่อมโทรม
  • 7. 3.2สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขป่าเสื่อมโทรม 1.การทาไม้ ความต้องการไม้เพื่อกิจการต่างๆ เช่น เพื่อทาอุตสาหกรรมโรงเลื่อย โรงงาน กระดาษสร้างที่อยู่อาศัยหรือการค้า ทาให้ต้นไม้ถูกลอบตัดและตัดถูกต้องตามกฎหมาย ทั้ง อนุญาตผูกขาดทั้งสัมปทานระยะยาว ขาดระบบการควบคุมที่ดี ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมุ่งแต่ ตัวเลขปริมาตรที่จะทาออก โดยไม่ระวังดูแลพื้นที่ป่า ไม่ติดตามผลการปลูกป่าทดแทนตาม เงื่อนไขสัมปทานว่า ได้ดูแลรักษาต้นไม้ให้เจริญเติบโตอย่างปลอดภัยหรือไม่ จนในที่สุดได้มี พระราชกาหนด ณ วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2531 ประกาศยกเลิกสัมปทานป่าไม้ (ป่าบก) ทั่ว ประเทศไทย เมื่อเกิดกรณีกระทู้ขึ้นมาและกล่าวโทษว่า การทาไม้เป็นเหตุทาลายป่า เป็นผลให้ เกิดภัยพิบัติเช่นนั้นขึ้น 2.การเพิ่มจานวนประชากร ของประเทศ ทาให้ความต้องการจากภาคเกษตรกรรมมากขึ้น ความจาเป็นที่ต้องการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น พื้นที่ป่าไม้ในเขตภูเขาจึงเป็นเป้าหมายของ การขยายพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก การบุกรุกพื้นที่ป่าอาจกระทาโดยราษฏรสามารถบุกรุกเข้า ครอบครองพื้นที่หลัง การทาไม้ได้อย่างง่ายดาย จากการ เพิกเฉยของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง หรือ เกษตรกรเหล่านี้ทาการเกษตรโดยขาดการวางแผนการใช้ที่ดินอย่างมี ประสิทธิภาพเป็นเหตุให้ มีหนี้สินเพิ่มขึ้น ต้องขายที่ดินแล้วอพยพเข้าป่าลึกไปเรื่อยๆ 3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์ เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มัน สาปะหลัง ปอ ฯลฯ ภาพที่3.2 จานวนประชากรเพิ่มขึ้น
  • 8. 4.การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่า กระทาไม่ชัดเจนหรือไม่กระทาเลยในหลายๆ ป่า ทาให้ราษฏร เกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา บางแห่งเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เองยังไม่สามารถชี้แนว เขตได้ถูกต้อง ทาให้เกิดการพิพาทในเรื่องที่ดินทากินและที่ดินป่าไม้อยู่ตลอดเวลา และมักเกิด การร้องเรียนต่อต้านในเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน ซึ่งช่วงระยะนี้เองการบุกรุกพื้นที่ป่าก็ดาเนินไป เรื่อยๆ กว่าจะรู้แพ้รู้ชนะป่าก็หมดสภาพไปแล้ว 5.ไฟไหม้ป่า ประเทศไทยมักเกิดไฟไหม้ป่าในฤดูร้อนเป็นประจาทุกปี เพราะในฤดูร้อนพวก วัชพืชในป่าหรือจากการผลัดใบของต้นไม้ ใบไม้จะแห้งแล้งและติดไฟง่าย การสูญเสียป่าไม้ เกิดขึ้นทุกๆ ปีในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไฟป่าอาจเกิดจากการ กระทาของคนหรือจากธรรมชาติ ผลเสียของไฟไหม้ป่าทาลายทรัพยากรป่าไม้ คือ (1) ทาลาย ต้นไม้ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ (2) ทาให้ดินเสื่อมคุณภาพ ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง เนื่องจากฮิวมัสถูกทาลายและบางครั้งเกิดการพังทลายของดินตามมาด้วย (3) ทาให้โรคพืช ระบาดกับต้นไม้ได้ง่าย เนื่องจากบางส่วนของต้นไม้ถูกทาลาย โรคเห็ด รา แมลง เจาะไชเป็นไป ได้ง่ายขึ้น (4) ต้นไม้ที่หยุดการเจริญเติบโตชั่วคราวจะถูกต้นไม้อื่นเบียดบังแสงจนทาให้ ต้นไม้ แคระแกร็นไม่มีประโยชน์ (5) ความชื้นในดินถูกทาลาย เนื่องจากพืชคลุมดินถูกทาลายพืชขาด แคลนน้า ภาพที่ 3.3 ไฟไหม้ป่า
  • 9. บทที่ 4 ผลกระทบ 4.1 ทรัพยากรดิน ปกติพืชพรรณต่างๆ ของต้นไม้ ไม้พุ่ม วัชพืชต่างๆ ทุกส่วนของต้นไม้มีบทบาท ในการช่วยสกัด กั้นไม่ให้ฝนตกถึงดินโดยตรง ความต้านทานการไหลบ่าของน้า ช่วยลดความเร็วของน้าที่จะพัด พาหน้า ดินไป มีส่วนของรากช่วยยึดเหนี่ยวดินไว้ทาให้เกิดความคงทนต่อการพังทลายมาก ยิ่งขึ้น แต่หากพื้นที่ว่างเปล่าอัตราการ พังทลายของดินจะเกิดรุนแรง การสูญเสียดินจะเพิ่มขึ้น ภาพที่4.1 การชะล้างพังทลายของดิน 4.2มนุษย์ เนื่องจากพื้นที่ป่าไม้ถูกทาลาย พื้นดินขาดความอุดมสมบูรณ์หรือจากฝนตกหนักพร้อม ๆ กับ การเกิดการพังทลายของดินลงมาจากพื้นที่ป่าถูกทาลาย พัดพาบ้านเรือนสิ่งของต่างๆ และ ทาลายชีวิตมนุษย์อย่าง เตรียมตัวไม่ทัน การอพยพไปอยู่ถิ่นใหม่จึงเกิดขึ้น เนื่องจากถิ่นเก่าไม่ ปลอดภัยต่อการดารงอยู่ดังเหตุเกิดในภาคใต้ บริเวณพื้นที่ ต.กระทูน อ.พิปูน ต.คีรีวงค์ อ.ลาน สกา จ.นครศรีธรรมราช การเกิดภัยแล้งจนต้องอพยพมาหางานทาในถิ่นอื่น
  • 10. 4.3ทรัพยากรน้า น้าท่วมในฤดูฝน การกระทาใด ๆ ที่รบกวนดิน เช่น การตัดไม้ทาลายป่า ไฟป่า การชักลากไม้ ทาให้ผิวดินแน่น จานวนรูพรุนขนาดใหญ่ลดลง การซึมน้าผ่านผิวดินลดลง ก่อให้เกิดน้าไหลบ่า หน้าผิวดินเพิ่มมากขึ้นจนระบายน้าไม่ทัน จะกลายสภาพเป็นอุทกภัยในพื้นที่ตอนล่างได้ไม่มาก ก็น้อย ความแห้งแล้งในฤดูแล้ง การแผ้วถางทาลายป่าต้นน้าเป็นบริเวณกว้างทาให้พื้นที่ป่าไม้ ไม่ติดต่อกันเป็นผืนใหญ่ ทาให้เกิดการระเหยของน้าจากผิวดินสูง แต่การซึมน้าผ่านผิวดินต่า ดินดูดซับและเก็บน้าภายในดินน้อยลง ทาให้น้าหล่อ เลี้ยงลาธารมีน้อยหรือไม่มี ลาธารจะขอด แห้ง ความแห้งแล้งและการขาดแคลนน้าปรากฏให้เห็นในปลายปี 2534-2536 และต้นปี 2535- 2537 และปี 2536 ได้มีการรณรงค์เกี่ยวกับการเกิดภาวะการขาดแคลนน้าอย่างกว้างขวาง โดย ขอให้ ทุกคนประหยัดการใช้น้าพร้อมกับข้อเสนอแนะวิธีการใช้น้าในทุกรูปแบบ เพื่อลดการ สูญเสียของน้าที่ใช้อุปโภค บริโภค คุณภาพน้าเสื่อมลง คุณภาพน้าทั้งทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพล้วนด้อยลง ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง หรือทาลายพื้นที่ป่า การปนเปื้อนของดินตะกอนที่น้า พัดพาด้วยการไหลบ่าผ่านผิวหน้าดินหรือในรูปแบบอื่น ๆ นอกจากนี้การปราบวัชพืชหรือ อินทรีย์ต่างๆ ที่อยู่ในแนวทางเดินของน้า ก่อให้เกิดการปนเปื้อนและสร้างความสกปรกต่อน้าได้ ไม่มากก็น้อย และมีแนวโน้มมากขึ้นเรื่อยๆ เป็นทวีคูณซึ่งต่างไปจากพื้นที่ต้นน้าที่มีป่าปกคลุม น้าจะมีคุณภาพดีไหล สม่าเสมอและมีปริมาณมากพอทาให้ไม่สามารถนาน้ามาใช้ในการ อุปโภคบริโภคได้ ตะกอนที่อยู่ในแหล่งน้าหรือลงสู่ ทะเล จะทาให้น้าอยู่ในสภาพขุ่นข้น ทาให้ แสงจากดวงอาทิตย์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์แสงไม่สามารถส่องไปได้ เป็นการ ขัดขวางขบวนการสังเคราะห์แสงของพืชน้า ส่งผลกระทบต่อทางประมงในทางอ้อม ภาพที่ 4.2 ทรัพยากรน้า
  • 11. บทที่ 5 แนวทางการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม 5.1 การปลูกป่า เป็นการดาเนินงานในการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ต้นน้าลาธารที่ถูกแผ้วถางบุกรุกทาลายจนกลาย สภาพเป็นภูเขาหัวโล้น จาเป็นต้องปลูกป่าทดแทน เพื่อให้สามารถคืนสภาพป่าที่ถูกทาลายไป ให้กลับมามีสภาพดังเดิมตามธรรมชาติให้มากที่สุด โดยกาหนดขั้นตอนในการดาเนินงานดังนี้ (1) การสารวจพื้นที่และจัดทาข้อมูลเบื้องต้น -ดาเนินการสารวจรายละเอียดในพื้นที่เพื่อหาข้อมูลพื้นฐานต่างๆ สาหรับใช้ประกอบการจัดทา แผนที่และกาหนดแผนการดาเนินงานต่อไป -ให้ระบุชนิดป่า พรรณไม้ท้องถิ่น ตลอดจนไม้พื้นล่างที่สาคัญหรือที่มีเป็นจานวนมาก -ให้ระบุลักษณะของอันตรายที่จะได้รับจากคน สัตว์ป่า สัตว์เลี้ยง แมลง หรือภัยธรรมชาติ และ ความเห็นในการป้องกัน -การคมนาคม ให้ระบุระยะและเส้นทางคมนาคม ที่ติดต่อระหว่างป่ากับหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ จังหวัด และหากจาเป็นต้องตัดถนนเมื่อเริ่มดาเนินการเพื่อจะใช้เป็น--ทางตรวจการณ์ และ แนว กันไฟ หรือ เส้นทางขนส่งกล้าไม้และวัสดุอุปกรณ์ให้กาหนดเส้นทางไว้ในแผนที่ด้วย -ให้แสดงความเห็นเกี่ยวกับชนิดพรรณไม้ที่จะใช้ในการปลูก แหล่งเมล็ดไม้ และ แรงงานปลูก ป่า -ให้ระบุรายละเอียดสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินและการถือครองที่ดินในพื้นที่ -หากมีรายละเอียดอื่นใดที่เห็นว่าควรระบุไว้ เช่น มีหน่วยงานอื่นอยู่ในพื้นที่หรือปัจจัยภายนอก ที่มีผลกระทบต่อลุ่มน้า ก็ให้ลดข้อเสนอแนะให้ชัดเจนด้วย -ควรให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการสารวจคัดเลือกพื้นที่
  • 12. 5.2 การทาแนวกันไฟและทางตรวจการณ์การป้องกันไฟ ให้ทาแนวกันไฟขนาดความกว้าง 8-11เซนติเมตร รอบพื้นที่เพื่อกาหนดแนวเขตและควบคุม ป้องกันไฟป่าไม่ให้ลุกลามเข้ามาในพื้นที่เตรียมการปลูกป่าเพราะจะทาความเสียหายให้แก่ ต้นไม้ และกล้าไม้ที่มีอยู่เดิมซึ่งสามารถฟื้นตัวได้เองตามธรรมชาติ และถ้าหากเป็นการปลูกป่า แปลงใหญ่ หรือสภาพพื้นที่เป็นภูเขาหรือเนินเขาสูงชันสลับซับซ้อนควบคุมป้องกันไฟป่าได้ยาก ให้ทาแนวกันไฟภายแปลงปลูกป่าตามบริเวณแนวสันเขาและขอบเขา และหากมีการตัดถนนก็ สามารถใช้เป็นทางตรวจการณ์และแนวกันไฟได้ ภาพที่ 5.1 การทาแนวกันไฟและทางตรวจการณ์การป้องกันไฟ 5.3 การคัดเลือกชนิดพรรณไม้ปลูก กล้าไม้ที่ปลูกต้องเป็นพรรณไม้ยืนต้น (tree) ที่เป็นพรรณไม้ท้องถิ่นที่สามารถสืบพันธุ์ตาม ธรรมชาติ (natural regeneration ) ได้ดี ถ้าหากเมล็ดเป็นฝัก หรือผลสัตว์กินได้แล้วยิ่งเป็นการ ดี เพราะเมื่อไม้ที่ปลูกโตเต็มวัย จะสามารถแพร่กระจายเมล็ดได้เอง ทาให้พื้นที่ป่ากลับฟื้นคืน เองตามธรรมชาติใกล้เคียงสภาพดั้งเดิมได้ ให้กาหนดชนิดพรรณไม้ปลูกตั้งแต่ 5 ชนิดขึ้นไป 5.4การกาหนดระยะปลูก กาหนดให้ปลูกต้นไม้แบบคละกัน ลักษณะไม่เป็นแถวเป็นแนว
  • 13. 5.5 การผลิตกล้าไม้ กล้าไม้ที่จะปลูกต้องเป็นกล้าไม้ที่เพาะเมล็ดจากแม่ไม้ที่มีลักษณะดีและอยู่ในวัยที่สมบูรณ์ เต็มที่ มีจานวนเพียงพอ ตามที่กาหนดจานวนต้นต่อไร่ และเพิ่มจานวนกล้าไม้ร้อยละ 21 ของ กล้าไม้ที่ปลูกในพื้นที่เพื่อใช้ในการปลูกซ่อม กล้าไม้ที่พร้อมปลูกต้องมีสภาพแข็งแรงและแกร่ง ขนาดความสูงประมาณ 31-61 เซนติเมตร (ตามความเหมาะสมของพรรณไม้แต่ละชนิด) 5.6 การบารุงรักษา หลังจากการปลูกแล้วประมาณ 1-2 เดือน เพื่อที่จะให้กล้าไม้ที่ปลูกมีการรอดตายและ เจริญเติบโตได้ดี พ้นจากการแก่งแย่งของวัชพืช ให้ทาการถางวัชพืชโดยเลือกใช้วิธีการถางเจาะ ร่องตามแนวระดับ หรือถากวงกลมรอบต้น หรือถางทั้งพื้นที่ ทั้งนี้แล้วแต่ความหนาแน่นของ วัชพืชและ สภาพพื้นที่ จากนั้นให้ทาการนับอัตราการรอดตายและปลูกซ่อมกล้าไม้ที่ตายทันที โดยให้เสร็จสิ้น ภายในปีงบประมาณ ภาพที่ 5.2 การบารุงรักษา
  • 14. บรรณานุกรม http://siripeerawit.blogspot.com/ http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=3&ch ap=5&page=t3-5-infodetail13.html สานกงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม2552. กลไกการเผยแพร่ข้อมูล Aksornkoae, S. 1975. Structure Regeneration and Productivity of Mangroves inThailand. Ph.D. Thesis., Michigan State, USA. Aksornkoae, S., G. Wattayakorn and W. Kaitpraneet. 1978. Physical and ChemicalProperties of Soil and Water in Mangrove Forest at AmphoeKlung, ChangwatChantaburi Thailand. Final Report Submitted to UNESCO, Paris.Aksornkoae, S., J. Kongsangchai, S. Panichsuko. W. Srisawatt, S. Panichchart, V. Ag-uru,N. Jintana, V. Jintana, J. Krachaivong and B. Kooha.1989. Inventory andMonitoring on Mangroves in Thailand. Final Report Submitted to The Office ofthe National Environment Board, Bangkok.
  • 19. น.ส.ลินจง ภู่ระหงษ์ ม.5/4 เลขที่ 24 น.ส.อนันตยา มหาวัย ชั้น ม.5/4 เลขที่ 25