SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะบางอย่างที่มีปรากฏอยู่
ในรุ่นบรรพบุรุษ แล้วถ่ายทอดลักษณะนั้นๆ ให้กับรุ่นลูกหลานต่อๆ มา
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตอาจเกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปได้
โดยปัจจัย 2 ประการ คือ
1. พันธุกรรม
2. สิ่งแวดล้อม
ลักษณะทางพันธุกรรม
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ลักษณะทางพันธุกรรม
ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.1 ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันต่อเนื่อง เป็นลักษณะทาง
พันธุกรรมที่มีความลดหลั่นกันทีละน้อย สามารถนามาเรียงลาดับกัน
ได้ เช่น ความสูง น้าหนัก สีผิว เป็นต้น
1.2 ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีความแปรผันไม่ต่อเนื่อง เป็นลักษณะที่
แบ่งเป็นกลุ่ม ได้อย่างชัดเจน เช่นหมู่เลือดของคน ลักษณะผิวเผือก
ลักยิ้ม ติ่งหู การห่อลิ้นเป็นต้น
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ลักษณะทางพันธุกรรม
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
โครโมโซมและสารพันธุกรรม
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ รวมถึงหน่วยพันธุกรรมหรือ
ยีนก็อยู่ในดีเอ็นเออีกที ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมและถ่ายทอดข้อมูล เกี่ยวกับ
ลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต
เช่น ลักษณะของเส้นผม
ลักษณะดวงตา เพศ
และผิว
โครโมโซม (Chromosome)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
จานวนโครโมโซม
ในสิ่งมีชีวิตต่างๆ ๆ
โครโมโซม (Chromosome)
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
 มนุษย์มีโครโมโซมทั้งสิ้น 23 คู่ หรือ 46 แท่ง
 โครโมโซมมี 2 ชนิด คือ
1. โครโมโซมเพศ (sex chromosome)
คู่ที่ 23
2. โครโมโซมร่างกาย (autosome) คู่ที่
1-22
โครโมโซมมนุษย์
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ยีนเด่นและยีนด้อย
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ยีนเด่น (Dominant)
คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะ
นั้นออกมาได้ แม้มียีนเพียงยีน
เดียว เช่น ยีนผมหยิกอยู่คู่กับ
ยีนผม เหยียด แต่แสดง
ลักษณะผมหยิกออกมา แสดง
ว่า ยีนผมหยิกเป็นยีนเด่น
ยีนเด่นและยีนด้อย
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ยีนด้อย (Recessive)
คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะ
ให้ปรากฏออกมาได้ก็ต่อเมื่อบน
คู่ของโครโมโซมนั้น ปรากฏแต่
ยีนด้อย เช่น การแสดงออกของ
ลักษณะผมเหยียด จะต้องมียีน
ผมเหยียดบนโครโมโซมทั้งคู่
ยีนเด่นและยีนด้อย
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
โยฮัน เกรกอร์ เมนเดล
(Johann Gregor Mendel)
เป็นชาวออสเตรียได้ทาการทดลองทาง
ชีววิทยาซึ่งเมนเดลบวชอยู่ ได้ทดลองปลูก
ผักหลายชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งถั่วลันเตา
จึงพบกฏเกณฑ์การถ่ายทอดลักษณะต่างๆ
ทาให้ชื่อเสียงของเมนเดลเริ่มโด่งดังขึ้นและ
ได้ชื่อว่าเป็น บิดาแห่งวิชาพันธุศาาสตร์
บิดาแห่งวิชาพันธุศาาสตร์
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
กฏข้อที่ 1 การที่ยีนที่เป็นแอลลีลแยกออกจากกันเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
กฏข้อที่ 2 การที่ยีนที่เป็นแอลลีลแยกกันแล้วมารวมกันใหม่เพื่อสร้าง
เซลล์สืบพันธุ์
กฏของเมนเดล
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
กฏของเมนเดล
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
กฏของเมนเดล
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ในช่วงที่มีการแบ่งเซลล์ โครโมโซมประกอบด้วยหน่วย
พันธุกรรม หรือยีน โครโมโซมเป็นแหล่งที่มียีนมากมาย ซึ่งเมื่อมีการ
แบ่งเซลล์แบบไมโตซิส หรือ ไมโอซิส ความผิดพลาดอาจเกิดขึ้นได้
โดยอาจมีผลทาให้จานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้น หรือลดน้อยลง หรือ
ชิ้นส่วนของโครโมโซมเพิ่มขึ้นมาหรือขาดหายไป ปรากฏการณ์เหล่านี้
ยังส่งผลต่อลักษณะฟีโนไทป์ของคนได้หลายรูปแบบ
ความผิดปกติของโครโมโซมๆ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
กลุ่มอาการคริดูซาต์ๆ (Cri–du–chat Syndrome)
สาเหตุ โครโมโซมคู่ที่ 5 (ลูกศรชี้) เส้นหนึ่งมีบางส่วนของแขนข้างสั้นหายไป
โดยจานวนท่อนโครโมโซม ในเซลล์ร่างกายยังคงเป็น 46 ท่อนเท่าเดิม
โรคทางพันธุกรรมๆ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
กลุ่มอาการพาโต (Patau’s Syndrome)
สาเหตุ โครโมโซม คู่ที่ 13 เกินมา 1 ท่อน
โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็น 47 ท่อน
โรคทางพันธุกรรมๆ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
กลุ่มอาการดาว์นๆ (Down ’s Syndrome)
สาเหตุ โครโมโซม คู่ที่ 21 เกินมา 1 ท่อน โครโมโซมในเซลล์ร่างกายจึง
เป็น 47 ท่อน เกิดกับแม่ที่มีอายุมาก สร้างไข่ผิดปกติ (23 + x)
โรคทางพันธุกรรมๆ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
กลุ่มอาการเอ็ดวาดส์
(Edward’s Syndrome)
สาเหตุ
โครโมโซมคู่ที่ 18
เกินมา 1 ท่อน
โครโมโซมในเซลล์
ร่างกายจึงเป็น 47 ท่อน
โรคทางพันธุกรรมๆ
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
ทดสอบโรคตาบอดสี
1. ข้อใดเป็นความหมายของคาว่ายีนเด่น
ก. ยีนที่มีลักษณะแตกต่างจากยีนอื่นๆ
ข. ยีนที่แสดงลักษณะพันธุกรรมที่ไม่เป็นโรค
ค. ยีนที่ควบคุมลักษณะผิดปกติต่างๆในร่างกาย
ง. ยีนที่สามารถแสดงลักษณะต่างๆ ออกมาได้
มากกว่ายีนอื่น
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
2. ถ้ากาหนดให้ๆA เป็นยีนที่ควบคุมๆตาสีดาๆa
เป็นยีนที่ควบคุมตาสีฟ้าๆคนที่มีตาสีดาๆจะมีจีโน
ไทป์ เป็นแบบใด
ก. AA
ข. Aa
ค. aa
ง. เป็นได้ทั้ง AA หรือ Aa
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
3. จากข้อๆ2 ถ้าพ่อมียีนเป็นๆAA แม่มียีนเป็นๆaa
ลูกจะมีจีโนไทป์ แบบๆAA กี่เปอร์เซ็นต์
ก. 0 %
ข. 25 %
ค. 50 %
ง. 100 %
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
4. จากข้อๆ3 ลูกที่มีฟีโนไทป์ เป็นตาสีฟ้ามีกี่
เปอร์เซ็นต์
ก. 0 %
ข. 25 %
ค. 50 %
ง. 100 %
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
5. ส่วนประกอบใดของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่
ภายใน
ก. เยื่อหุ้มเซลล์
ข. ผนังเซลล์
ค. นิวเคลียส
ง. ไม่มีคาตอบที่ถูก
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
6. ข้อใดคือฟีโนไทป์
ก. สัญลักษณ์ของคู่ยีน
ข. AA หรือ aa
ค. Aa
ง. ผมสีทอง
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
7. ถ้านายแดงมีเลือดกรุ๊ปๆO นางน้อยมีเลือด
กรุ๊ปๆAB ลูกจะมีโอกาสมีเลือดกรุ๊ปๆA กี่
เปอร์เซ็นต์
ก. 0 %
ข. 25 %
ค. 50 %
ง. 100 %
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
8. จากข้อๆ7 ลูกของสามีภรรยาคู่นี้สามารถจะมี
เลือดกรุ๊ปใดได้บ้าง
ก. A เท่านั้น
ข. B เท่านั้น
ค. ทั้ง A และ B
ง. อาจเป็น A ,B, AB หรือ O ก็ได้
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
9. สิ่งใดเล็กที่สุดจากตัวเลือกต่อไปนี้
ก. เซลล์
ข. นิวเคลียส
ค. โครโมโซม
ง. ยีน
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
10. ข้อใดสัมพันธ์กับสัญลักษณ์ๆAa มากที่สุด
ก. ยีนเด่นทั้งคู่
ข. เป็นพันธุ์ทาง
ค. เป็นพันธุ์แท้
ง. เป็นจีโนไทป์ของยีนด้อย
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
11. การถ่ายทอดลักษณะจากรุ่นหนึ่งไปยังอีก
รุ่นหนึ่งของสิ่งมีชีวิตๆโดยอาศาัยเซลล์สืบพันธุ์
เป็นความหมายของข้อใด
ก. พันธุกรรม
ข. พันธุศาสตร์
ค. มรดกทางพันธุกรรม
ง. ลักษณะทางพันธุกรรม
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
12. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทางพันธุกรรม
ก. หมู่เลือด
ข. ศีรษะล้าน
ค. ความประพฤติ
ง. ลายพิมพ์นิ้วมือของแต่ละคน
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
13. ส่วนประกอบที่ทาหน้าที่ควบคุมการ
แสดงออกของลักษณะต่าง ๆของสิ่งมีชีวิตที่อยู่
บนโครโมโซมเรียกว่าอะไร
ก. ยีน
ข. DNA
ค. โครมาทิน
ง. นิวเคลียส
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
13. โครโมโซมร่างกายจะมีรูปร่างลักษณะที่
เหมือนกันเป็นคู่ ๆแต่ละคู่เรียกว่าอะไร
ก. โครมาทิน
ข. เซนโทรเมียร์
ค. ฮอมอโลกัสโครโมโซม
ง. ฮอมอไซกัสโครโมโซม
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
14. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องๆเกี่ยวกับโครโมโซม
ก. เพศหญิงมีโครโมโซม XX
ข. เพศชายมีโครโมโซม XY
ค. โครโมโซมของคนมี 23 คู่
ง. โครโมโซมเพศ เรียกว่า ออโตโซม
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
15. ลักษณะของยีนที่ควบคุมลักษณะใน
สิ่งมีชีวิตๆหมายถึงข้อใด
ก. แอลลีล
ข. จีโนไทป์
ค. ฟีโนไทป์
ง. เซลล์สืบพันธุ์
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
16. การป้องกันการเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับ
โรคทางพันธุกรรมควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ฝากครรภ์กับแพทย์ขณะตั้งครรภ์
ข. อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย
ค. หลีกเลี่ยงการแต่งงานในหมู่เครือญาติ
ง. ถูกทุกข้อ
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
17. การศาึกษาแบบแผนการถ่ายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรมในมนุษย์ทาได้ยากเพราะมี
ข้อจากัดใด
ก. มนุษย์มีจานวนลูกมาก
ข. ช่วงอายุมนุษย์แต่ละคนสั้น
ค. มนุษย์มีโอกาสเกิดลูกได้ง่าย
ง. ไม่สามารถควบคุมการแต่งงานให้เป็นไปตาม
ต้องการได้
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
18. สาร DNA ทาหน้าที่อะไรภายในเซลล์
ก. กาหนดเพศ
ข. กาหนดลักษณะเฉพาะ
ค. ลาเลียงสารภายในเซลล์
ง. ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
19. เซลล์อวัยวะภายในต่าง ๆของมนุษย์ๆมีการ
แบ่งเซลล์แบบใด
ก. ไมโอซิส
ข. ไมโทซิส
ค. ไมโอซิสและไมโทซิส
ง. ไม่มีข้อถูก
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun
20. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้เซลล์ใหม่ที่มี
จานวนโครโมโซมเป็นเท่าใด
ก. เท่ากับเซลล์เดิมทุกประการ
ข. เพิ่มขึ้นสองเท่าจากเซลล์เดิม
ค. ลดลงครึ่งหนึ่งจากเซลล์เดิม
ง. ลดลงหนึ่งในสี่จากเซลล์เดิม
ตะลุยโจทย์กันดีกว่า!!
Copyright © 2015 by Miss Wanwisa Panphanoun

Contenu connexe

Tendances

บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกJiraporn
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาkrupornpana55
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 

Tendances (20)

บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลกแรงโน้มถ่วงของโลก
แรงโน้มถ่วงของโลก
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาหน่วยย่อยที่ 2  แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
หน่วยย่อยที่ 2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 

En vedette

บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนกNonglawan Saithong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์น้อง อด.
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์Mook Sunita
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์Noknun Luesat
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ployprapim
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 

En vedette (14)

บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
การจัดจำแนก
การจัดจำแนกการจัดจำแนก
การจัดจำแนก
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์
ดาวฤกษ์
 
ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์ความหมายของดาวฤกษ์
ความหมายของดาวฤกษ์
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 

Similaire à พันธุกรรม ประถม

พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templatesmearnfunTamonwan
 

Similaire à พันธุกรรม ประถม (6)

พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
เอ๊ะ
เอ๊ะเอ๊ะ
เอ๊ะ
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templates
 

Plus de Ta Lattapol

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมTa Lattapol
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 

Plus de Ta Lattapol (7)

หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

พันธุกรรม ประถม