SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
“ยกย่องและเก็บรักษาคุณค่าของคน ไว้ในธนาคารเวลา”
คู่มือชีวิต ตอน ๗๗ โดย นพพร เทพสิทธา
เนชั่นสุดสัปดาห์ ฉบับที่ ๑๑๙๕ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๘
ต้องขอขอบคุณ คุณธิราช รุ่งเรืองกนกกุล ผู้ก่อตั้งกลุ่มศิลปินไทยรักษ์แผ่นดิน ที่นา
แนวคิดและตัวอย่างเรื่อง “ธนาคารเวลา” มาคุยให้เพื่อนๆฟัง ในวงเสวนาสภากาแฟ ของ กลุ่ม
Ex Go Network II ภายใต้ชมรม Executive Go for Strategic Wisdom เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๘
มีนาคม ๒๕๕๘ ที่สโมสรปัญญาภิรมย์ ทาให้ได้รู้จักเรื่องนี้ และ เห็นว่าในโลกนี้ยังมีเรื่อง
ดีๆอีกมากมาย บางเรื่องอยู่ใกล้ตัวเรามากเสียจนเราคิดไม่ถึงว่า ถ้านามาจัดการใหม่
อย่างง่ายๆ ก็สามารถสร้างคุณค่าให้คนหมู่มากได้อย่างน่าอัศจรรย์ เป็น “คุณค่าที่จับ
ต้องไม่ได้” ซึ่งให้ผลคุ้มค่าในระยะยาวมากกว่า “คุณค่าที่จับต้องได้”
หลังจากที่ได้เสวนากันอย่างกว้างขวางในเรื่องนี้เพื่อนๆก็เห็นพ้องด้วยกันว่า น่าจะลอง
นาเรื่อง “ธนาคารเวลา” มาเป็นเครื่องมือหนึ่งในการทากิจกรรมของกลุ่ม โดยเริ่มจากกิจกรรม
เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น เรื่อง “ซับน้าตาให้ม้าน้า”
เมื่อศึกษาหาข้อมูลเรื่อง “ธนาคารเวลา” เพิ่มเติม ก็มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น
เห็นว่า เป็นเรื่องที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง น่าจะนามาแชร์ให้คนที่สนใจทราบด้วย
เท่าที่อ่านพบ “ธนาคารเวลา” เริ่มต้นในประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี ค.ศ.๑๙๗๓ (พ.ศ.
๒๕๑๖) เมื่อคุณเทรุโกะ มิซูชิมา (Teruko Mizushima) เกิดความคิดขึ้นมาว่า “น่าจะมีวิธีที่ทา
ให้คนสามารถนาเวลาในปัจจุบัน ไปฝากไว้เป็นทุน ที่สามารถนากลับมาใช้เวลาใดก็ได้
เมื่อต้องการในอนาคต” เธอจึงตั้ง “ธนาคารเวลา” ด้วยหลักการอย่างง่ายๆ ว่า “ ๑ ชั่วโมง
ที่สมาชิกให้บริการแก่คนอื่น เขามีสิทธิ์ที่จะได้รับบริการจาก ผู้อื่นที่พร้อมให้บริการ
ตามที่สมาชิกผู้นั้นร้องขอ เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง เท่ากัน ซึ่งบริการดังกล่าวนี้ อาจจาเป็น
อย่างมาก เมื่อย่างเข้าสู่วัยชรา” นับว่า เธอเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล เล็งเห็นข้อจากัดของ
ผู้สูงอายุ ซึ่งกาลังเป็นปัญหาสาคัญด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน และ
ได้เสนอวิธีแก้ไขอย่างง่ายๆ แต่ได้ผลทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ล่วงหน้ากว่า ๔๐ปีก่อน
จนถึงช่วงทศวรรษ ๙๐ “ธนาคารเวลา” ได้เริ่มเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา โดย ดร.เอ็ดก้าร์
เอส คาห์น (Dr. Edgar S Cahn) และ ในสหราชอาณาจักร โดย นายมาร์ติน ไซม่อน (Martin
Simon) ดร. คาห์น นา “ระบบธนาคารเวลา (Time Banking)” มาใช้แทนเงิน ในโครงการ
สวัสดิการสังคมที่รัฐบาลไม่มีงบประมาณสนับสนุนและไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่าง
สร้างสรรค์
ดร.คาห์นได้เขียนไว้ว่า “สหรัฐอเมริกาเผชิญกับปัญหาที่ยากจะหาทางออก อย่าง
น้อย ๓ ปัญหาใหญ่ ได้แก่ ๑.ความไม่เสมอภาคของคนชั้นล่าง ในการเข้าถึงสินค้าและ
บริการพื้นฐานที่จาเป็น, ๒.ปัญหาสังคมในการสร้างครอบครัว เพื่อนบ้าน และ ชุมชนที่
เข้มแข็ง, และ ๓.การไขปัญหาที่ไม่ตรงจุด กระจัดกระจาย ทัศนคติของผู้มีอานาจที่ไม่
ตั้งใจช่วยจริง มุ่งไปที่การให้ เงินและวัตถุ แทนที่จะทาให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้าง
ชุมชนของตน .....ระบบธนาคารเวลา จะทาให้เกิด ความเชื่อใจ (Trust) และ ความ
ห่วงใย (Care) ที่จะช่วยสานทอให้ครอบครัวและชุมชนเข้มแข็ง และ ส่งเสริมให้คนแต่
ละคน ตลอดจนทั้งชุมชน พึ่งพาตนเองได้มากขึ้น, ไม่ตกเป็นเหยื่อของการเมือง, และ
ดึงเอาความสามารถของคน ซึ่งถูกสังคมทอดทิ้ง ออกมา”
ปรัชญา ของ “ระบบธนาคารเวลา” ซึ่งอาจเรียกอีกอย่างว่า “ระบบแลกเปลี่ยนเวลา
(Time Trade)” ตั้งอยู่บนหลักการสาคัญ ๕ ประการ ที่เรียกว่า “คุณค่าหลักของระบบ
ธนาคารเวลา (Time Banking's Core Values)” ประกอบด้วย
๑. แต่ละคน คือ สินทรัพย์
๒. งานบางอย่าง ไม่สามารถตีค่าเป็นเงินได้
๓. การช่วยเหลือ อยู่บนหลักการของการต่างตอบแทน
ด้วยการเป็นทั้ง “ผู้ให้” และ “ผู้รับ”
๔. เครือข่ายทางสังคม คือ สิ่งที่จาเป็นต้องมี
๕. เคารพในมนุษย์ทุกคน
ตัวอย่างของบริการ ที่สมาชิก “ธนาคารเวลา” เสนอให้แก่กัน เช่น การดูแลเด็ก,
การดูแลทดแทนแบบชั่วคราว (Respite Care), การซ่อมบ้าน, การตัดหญ้าทาสวน, การเขียน,
การทบทวนบทเรียน, การสอนภาษา, การสอนขับรถยนต์, การช่วยเหลือด้านกฎหมาย, การ
ช่วยเหลือด้านบัญชี, งานสนับสนุนในสานักงาน, งานสนับสนุนในธุรกิจ, งานส่งของ, งานศพ,
และ งานจิปาถะ (Odd Job) เป็นต้น
เป้าหมายสุดท้ายของ “ระบบธนาคารเวลา” คือ การสร้างชุมชนในอุดมคติ
ผลตอบแทนที่สมาชิกจะได้รับจาก “ธนาคารเวลา” ดูเหมือนเป็นเรื่องธรรมดาๆ แต่เป็นสิ่งที่
จาเป็นมากสาหรับมนุษย์ทุกคน แต่ละคนจะมีชุมชนของตน เป็ นส่วนหนึ่งของชุมชน
และ ได้แชร์เวลาที่เหลือของชีวิตอยู่ในชุมชน ซึ่งเป็นชุมชนที่ปลอดภัย สงบสุข อบอุ่น
พึ่งพิงได้ ด้วยความเชื่อใจและความห่วงใยที่มีต่อกัน
ดังจะเห็นได้บทสรุปจากการสัมภาษณ์ สมาชิก ของ “ธนาคารเวลากอร์บอลส์” ใน
กรุงกลาสโกว์ สกอตแลนด์
“ธนาคารเวลา ดึงให้ทุกคนมีส่วนร่วมกัน เป็ นชุมชน ดึงเอา ‘จิตวิญญาณของ
ชุมชน’ อันยิ่งใหญ่ ที่ไม่เคยปรากฏ เป็นเวลานานแสนนานมาแล้ว ให้กลับมา ทั้งๆที่
เราเคยมีในอดีต แต่เดี๋ยวนี้ ในบางพื้นที่ ผู้คนไม่กล้าแม้แต่จะไปขอน้าตาลเพียง
เล็กน้อยจากเพื่อนบ้านที่อยู่ประตูถัดไป ‘ธนาคารเวลา’ กาลังทางานของมัน ดึงบางสิ่ง
ในอดีตที่หายไปกลับมา นั่นคือ “จิตวิญญาณของความเป็นชุมชน”
ปัจจุบัน “ธนาคารเวลา” ได้แพร่หลายไปในอีกหลายประเทศ เช่น แคนาดา,
ออสเตรเลีย, ไอร์แลนด์, ตูนิเซีย, ยูเครน, และ ประเทศไทย เป็นต้น
ในด้านการบริหารจัดการ เห็นว่า “ธนาคารเวลา” เป็นเรื่อง “การบริหารจัดการห่วงโซ่
คุณค่า (Value Chain Management)” ที่มีลักษณะพิเศษ คือ เป็นการบริหารจัดการ “คุณ
ค่าที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Value)” ที่ใช้ “เวลา” เป็นโซ่ร้อย เป็นห่วงโซ่ที่คล้องกัน
เป็ นวงกลม ไม่มีต้นน้า กลางน้า ปลายน้า และ สามารถสร้างและส่งมอบคุณค่าได้
อย่างไม่มีสิ้นสุด หากมีระบบการบริหารจัดการที่ดีและปรับให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์อยู่เสมอ
เป็นความชาญฉลาดอย่างยิ่ง ที่นาเอา “เวลา” ซึ่งเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ และ ไม่ได้มี
อยู่จริงในธรรมชาติ แต่ถูกมนุษย์บัญญัติขึ้น เพื่อใช้ลาดับเหตุการณ์และใช้เป็นมาตรฐาน
สาหรับวัดความรู้สึกเร็วช้าของมนุษย์ มาเป็นหน่วยวัด สาหรับการแลกเปลี่ยน “บริการ”,
“น้าใจ”, และ “คุณค่าที่จับต้องไม่ได้” เพื่อให้เกิด “เครือข่าย (Network)” และ “ชุมชน
(Community)” ที่ให้ความสาคัญกับคุณค่าของคนเท่ากัน ไม่ได้ยึดเอาทรัพย์สินเป็นสิ่ง
สาคัญที่สุดของชีวิต ไม่ได้บูชาเงินเป็ นพระเจ้า และ อยู่กันอย่างสันติสุข บนพื้นฐาน
ของ ความเชื่อใจและความห่วงใยซึ่งกันและกัน
“ธนาคารเวลา” สร้างความยอมรับและยกย่องคุณค่าของคนทุกคนในชุมชน ซึ่ง
สามารถเก็บรักษาไว้ และ นามาใช้ให้เป็ นประโยชน์ได้ในกาลข้างหน้า เมื่อต้องการ
คุณค่าบางอย่างที่เราสร้างเองไม่ได้ โดยเฉพาะในช่วงที่เราทาในสิ่งที่เคยทา ไม่ได้
หลักการสาคัญอีกประการหนึ่งของ “ธนาคารเวลา” คือ “การเป็นผู้ให้” และ “การเป็น
ผู้รับ” อย่างมีศักดิ์ศรีของความเป็ นคน โดย สิ่งที่ให้และรับ ไม่ใช่วัตถุ แต่เป็นสิ่งที่จับต้อง
ไม่ได้ ซึ่งเรียกรวมๆว่า “บริการ”
เมื่อคุณให้ คุณก็จะได้รับ และ ขอรับได้ โดยไม่รู้สึกว่า เป็น “ผู้ขอ”
และ เมื่อคุณได้รับแล้ว ก็จะเป็น “ผู้ให้” ด้วยความรู้สึกที่มีคุณค่าต่อชุมชน
ชุมชน และ สังคม ก็จะอยู่ได้อย่างมีสันติสุข และ ยั่งยืน
สุดท้ายจะพบว่า “คุณค่าจากการให้” มากกว่า “คุณค่าจากการรับ” และ รู้สึก
อยากมาเข้าร่วมกิจกรรมของ “เครือข่าย” และ ใช้ชีวิตอยู่ใน “ชุมชน” อย่างเป็น “ผู้ให้”
มากกว่าเป็ น “ผู้รับ” เมื่อรู้ว่า คุณค่าของสิ่งที่ให้ออกไป เป็นที่ยอมรับ เป็ นที่ต้องการ
ของคนอื่น และ มีความสาคัญไม่ด้อยกว่าคุณค่าใดๆของใครก็ตาม เพราะไม่ได้วัดกัน
ด้วยเงิน คุณวุฒิ หรือ วัยวุฒิ
“บริการ” เป็น สิ่งที่จับต้องไม่ได้ มีต้นทุน คือ เวลา แรงกาย และ แรงใจ การให้
“บริการ” ไม่ง่ายเหมือนการให้วัตถุ ต้นทุนของการให้วัตถุ คือ สิ่งของหรือเงิน เมื่อให้แล้วก็
แล้วกันไป ไม่ต้องใช้ความพยายามอะไรเพิ่มเติม แต่ “การให้บริการ” ต้องเริ่มจาก “การให้
เวลา” และ ให้ทั้งหมด ตลอดเวลาที่ยังให้บริการอยู่ นอกจากนี้ยังต้องใส่แรงกายและแรงใจของ
ตนเข้าไปด้วย “บริการ” จึงจะสาเร็จผลได้ด้วยดี
คนมีเงินเท่ากัน อาจมีเวลา แรงกาย และ แรงใจ ไม่เท่ากัน
คนไม่มีเงิน อาจมีเวลา แรงกาย และ แรงใจ มากกว่าคนมีเงิน
ยิ่งกวานั้น “การให้บริการ” อาจนามาซึ่งสิ่งดีๆอื่นๆ รวมทั้งคุณธรรม ถ้าให้ด้วย
“ใจ” และ “ปัญญา” เช่น ความมีวินัย ความเสียสละ ความความอดทน ความพากเพียร ความ
ซื่อสัตย์ ความมุ่งมั่น ความเมตตา และ ความวางใจให้เป็นกลาง เป็นต้น
พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่อง “เวยยาวัจจมัย” ใน “บุญกิริยาวัตถุ ๑๐” ไว้ว่า
“บุญ สาเร็จได้ด้วยการช่วยขวนขวายรับใช้ ให้บริการคนอื่น”
แม้นว่า ในสังคมไทย จะคุ้นเคยและทาอยู่แล้ว เรื่อง การให้บริการ, การช่วยเหลือ
คนอื่น, การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์, การเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือสังคม ฯลฯ เป็นสิ่งที่มีอยู่
แล้ว เห็นได้ทั่วไป โดยเฉพาะในชนบท แต่ในสังคมตะวันตกที่ถูกครอบงาด้วยระบบทุนนิยม
และกาลังมีปัญหาความเลื่อมล้าต่าสูงระหว่างคนรวยกับคนจนมากขึ้นๆ “ธนาคารเวลา” จึง
เป็นทางออกหนึ่ง ให้กับสังคมตะวันตกแบบทุนนิยม และ สังคมตะวันออกที่กาลังเดิน
ตามก้นของสังคมตะวันตกแบบทุนนิยม ไปสู่ความหายนะของสังคม
ข้อดีของ “ธนาคารเวลา” ก็คือ การนาระบบการจัดการที่สังคมตะวันตก
เชี่ยวชาญ มารวมกับ “การสร้างคุณค่าทางใจ” ที่สังคมตะวันออกคุ้นเคย แต่ทาจากัดอยู่
แค่เพียงในระดับปัจเจกบุคคล สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมในวงที่กว้างมากยิ่งขึ้น
ตั้งแต่ระดับชุมชนเล็กไปจนถึงชุมชนใหญ่และสังคมทั้งประเทศ
“ระบบธนาคารเวลา” ให้ความสาคัญกับคนและชุมชน ควบคู่ไปกับระบบ
เศรษฐกิจ สอดคล้องกับหลักการของ ระบบเศรษฐกิจการตลาดเพื่อสังคม (Social
Market Economy) ที่ทาให้เยอรมันฟื้นฟูประเทศจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ มาผงาดอยู่ได้ใน
ปัจจุบันนี้และ สอดคล้องกับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) ที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานชาวไทยไว้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
ประเทศไทย
มาร่วมกัน ยกย่องและเก็บรักษา คุณค่าของคน อย่างจริงจัง
เพื่อสร้างชุมชนและสังคมไทย ที่เข้มแข็งและมีสันติสุข
โดยใช้ “ธนาคารเวลา” เป็นจุดตั้งต้น อย่างเป็นระบบ
ดึงจิตวิญญาณของชุมชนและสังคมไทยในอดีตกลับคืนมา
และ นาไปสู่ “การให้เวลาต่อกันและกัน” โดยไม่ต้องใช้ “ธนาคารเวลา”

Contenu connexe

En vedette

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

2015-04-24 คู่มือชีวิต ตอน 77 ยกย่องและเก็บรักษาคุณค่าของคน ไว้ในธนาคารเวลา

  • 1. “ยกย่องและเก็บรักษาคุณค่าของคน ไว้ในธนาคารเวลา” คู่มือชีวิต ตอน ๗๗ โดย นพพร เทพสิทธา เนชั่นสุดสัปดาห์ ฉบับที่ ๑๑๙๕ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๕๘ ต้องขอขอบคุณ คุณธิราช รุ่งเรืองกนกกุล ผู้ก่อตั้งกลุ่มศิลปินไทยรักษ์แผ่นดิน ที่นา แนวคิดและตัวอย่างเรื่อง “ธนาคารเวลา” มาคุยให้เพื่อนๆฟัง ในวงเสวนาสภากาแฟ ของ กลุ่ม Ex Go Network II ภายใต้ชมรม Executive Go for Strategic Wisdom เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๘ ที่สโมสรปัญญาภิรมย์ ทาให้ได้รู้จักเรื่องนี้ และ เห็นว่าในโลกนี้ยังมีเรื่อง ดีๆอีกมากมาย บางเรื่องอยู่ใกล้ตัวเรามากเสียจนเราคิดไม่ถึงว่า ถ้านามาจัดการใหม่ อย่างง่ายๆ ก็สามารถสร้างคุณค่าให้คนหมู่มากได้อย่างน่าอัศจรรย์ เป็น “คุณค่าที่จับ ต้องไม่ได้” ซึ่งให้ผลคุ้มค่าในระยะยาวมากกว่า “คุณค่าที่จับต้องได้” หลังจากที่ได้เสวนากันอย่างกว้างขวางในเรื่องนี้เพื่อนๆก็เห็นพ้องด้วยกันว่า น่าจะลอง นาเรื่อง “ธนาคารเวลา” มาเป็นเครื่องมือหนึ่งในการทากิจกรรมของกลุ่ม โดยเริ่มจากกิจกรรม เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น เรื่อง “ซับน้าตาให้ม้าน้า” เมื่อศึกษาหาข้อมูลเรื่อง “ธนาคารเวลา” เพิ่มเติม ก็มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น เห็นว่า เป็นเรื่องที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง น่าจะนามาแชร์ให้คนที่สนใจทราบด้วย เท่าที่อ่านพบ “ธนาคารเวลา” เริ่มต้นในประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี ค.ศ.๑๙๗๓ (พ.ศ. ๒๕๑๖) เมื่อคุณเทรุโกะ มิซูชิมา (Teruko Mizushima) เกิดความคิดขึ้นมาว่า “น่าจะมีวิธีที่ทา ให้คนสามารถนาเวลาในปัจจุบัน ไปฝากไว้เป็นทุน ที่สามารถนากลับมาใช้เวลาใดก็ได้ เมื่อต้องการในอนาคต” เธอจึงตั้ง “ธนาคารเวลา” ด้วยหลักการอย่างง่ายๆ ว่า “ ๑ ชั่วโมง ที่สมาชิกให้บริการแก่คนอื่น เขามีสิทธิ์ที่จะได้รับบริการจาก ผู้อื่นที่พร้อมให้บริการ ตามที่สมาชิกผู้นั้นร้องขอ เป็นเวลา ๑ ชั่วโมง เท่ากัน ซึ่งบริการดังกล่าวนี้ อาจจาเป็น
  • 2. อย่างมาก เมื่อย่างเข้าสู่วัยชรา” นับว่า เธอเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล เล็งเห็นข้อจากัดของ ผู้สูงอายุ ซึ่งกาลังเป็นปัญหาสาคัญด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน และ ได้เสนอวิธีแก้ไขอย่างง่ายๆ แต่ได้ผลทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ล่วงหน้ากว่า ๔๐ปีก่อน จนถึงช่วงทศวรรษ ๙๐ “ธนาคารเวลา” ได้เริ่มเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกา โดย ดร.เอ็ดก้าร์ เอส คาห์น (Dr. Edgar S Cahn) และ ในสหราชอาณาจักร โดย นายมาร์ติน ไซม่อน (Martin Simon) ดร. คาห์น นา “ระบบธนาคารเวลา (Time Banking)” มาใช้แทนเงิน ในโครงการ สวัสดิการสังคมที่รัฐบาลไม่มีงบประมาณสนับสนุนและไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ ดร.คาห์นได้เขียนไว้ว่า “สหรัฐอเมริกาเผชิญกับปัญหาที่ยากจะหาทางออก อย่าง น้อย ๓ ปัญหาใหญ่ ได้แก่ ๑.ความไม่เสมอภาคของคนชั้นล่าง ในการเข้าถึงสินค้าและ บริการพื้นฐานที่จาเป็น, ๒.ปัญหาสังคมในการสร้างครอบครัว เพื่อนบ้าน และ ชุมชนที่ เข้มแข็ง, และ ๓.การไขปัญหาที่ไม่ตรงจุด กระจัดกระจาย ทัศนคติของผู้มีอานาจที่ไม่ ตั้งใจช่วยจริง มุ่งไปที่การให้ เงินและวัตถุ แทนที่จะทาให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการสร้าง ชุมชนของตน .....ระบบธนาคารเวลา จะทาให้เกิด ความเชื่อใจ (Trust) และ ความ ห่วงใย (Care) ที่จะช่วยสานทอให้ครอบครัวและชุมชนเข้มแข็ง และ ส่งเสริมให้คนแต่ ละคน ตลอดจนทั้งชุมชน พึ่งพาตนเองได้มากขึ้น, ไม่ตกเป็นเหยื่อของการเมือง, และ ดึงเอาความสามารถของคน ซึ่งถูกสังคมทอดทิ้ง ออกมา” ปรัชญา ของ “ระบบธนาคารเวลา” ซึ่งอาจเรียกอีกอย่างว่า “ระบบแลกเปลี่ยนเวลา (Time Trade)” ตั้งอยู่บนหลักการสาคัญ ๕ ประการ ที่เรียกว่า “คุณค่าหลักของระบบ ธนาคารเวลา (Time Banking's Core Values)” ประกอบด้วย ๑. แต่ละคน คือ สินทรัพย์ ๒. งานบางอย่าง ไม่สามารถตีค่าเป็นเงินได้ ๓. การช่วยเหลือ อยู่บนหลักการของการต่างตอบแทน ด้วยการเป็นทั้ง “ผู้ให้” และ “ผู้รับ”
  • 3. ๔. เครือข่ายทางสังคม คือ สิ่งที่จาเป็นต้องมี ๕. เคารพในมนุษย์ทุกคน ตัวอย่างของบริการ ที่สมาชิก “ธนาคารเวลา” เสนอให้แก่กัน เช่น การดูแลเด็ก, การดูแลทดแทนแบบชั่วคราว (Respite Care), การซ่อมบ้าน, การตัดหญ้าทาสวน, การเขียน, การทบทวนบทเรียน, การสอนภาษา, การสอนขับรถยนต์, การช่วยเหลือด้านกฎหมาย, การ ช่วยเหลือด้านบัญชี, งานสนับสนุนในสานักงาน, งานสนับสนุนในธุรกิจ, งานส่งของ, งานศพ, และ งานจิปาถะ (Odd Job) เป็นต้น เป้าหมายสุดท้ายของ “ระบบธนาคารเวลา” คือ การสร้างชุมชนในอุดมคติ ผลตอบแทนที่สมาชิกจะได้รับจาก “ธนาคารเวลา” ดูเหมือนเป็นเรื่องธรรมดาๆ แต่เป็นสิ่งที่ จาเป็นมากสาหรับมนุษย์ทุกคน แต่ละคนจะมีชุมชนของตน เป็ นส่วนหนึ่งของชุมชน และ ได้แชร์เวลาที่เหลือของชีวิตอยู่ในชุมชน ซึ่งเป็นชุมชนที่ปลอดภัย สงบสุข อบอุ่น พึ่งพิงได้ ด้วยความเชื่อใจและความห่วงใยที่มีต่อกัน ดังจะเห็นได้บทสรุปจากการสัมภาษณ์ สมาชิก ของ “ธนาคารเวลากอร์บอลส์” ใน กรุงกลาสโกว์ สกอตแลนด์ “ธนาคารเวลา ดึงให้ทุกคนมีส่วนร่วมกัน เป็ นชุมชน ดึงเอา ‘จิตวิญญาณของ ชุมชน’ อันยิ่งใหญ่ ที่ไม่เคยปรากฏ เป็นเวลานานแสนนานมาแล้ว ให้กลับมา ทั้งๆที่ เราเคยมีในอดีต แต่เดี๋ยวนี้ ในบางพื้นที่ ผู้คนไม่กล้าแม้แต่จะไปขอน้าตาลเพียง เล็กน้อยจากเพื่อนบ้านที่อยู่ประตูถัดไป ‘ธนาคารเวลา’ กาลังทางานของมัน ดึงบางสิ่ง ในอดีตที่หายไปกลับมา นั่นคือ “จิตวิญญาณของความเป็นชุมชน” ปัจจุบัน “ธนาคารเวลา” ได้แพร่หลายไปในอีกหลายประเทศ เช่น แคนาดา, ออสเตรเลีย, ไอร์แลนด์, ตูนิเซีย, ยูเครน, และ ประเทศไทย เป็นต้น ในด้านการบริหารจัดการ เห็นว่า “ธนาคารเวลา” เป็นเรื่อง “การบริหารจัดการห่วงโซ่ คุณค่า (Value Chain Management)” ที่มีลักษณะพิเศษ คือ เป็นการบริหารจัดการ “คุณ
  • 4. ค่าที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Value)” ที่ใช้ “เวลา” เป็นโซ่ร้อย เป็นห่วงโซ่ที่คล้องกัน เป็ นวงกลม ไม่มีต้นน้า กลางน้า ปลายน้า และ สามารถสร้างและส่งมอบคุณค่าได้ อย่างไม่มีสิ้นสุด หากมีระบบการบริหารจัดการที่ดีและปรับให้เหมาะสมกับ สถานการณ์อยู่เสมอ เป็นความชาญฉลาดอย่างยิ่ง ที่นาเอา “เวลา” ซึ่งเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ และ ไม่ได้มี อยู่จริงในธรรมชาติ แต่ถูกมนุษย์บัญญัติขึ้น เพื่อใช้ลาดับเหตุการณ์และใช้เป็นมาตรฐาน สาหรับวัดความรู้สึกเร็วช้าของมนุษย์ มาเป็นหน่วยวัด สาหรับการแลกเปลี่ยน “บริการ”, “น้าใจ”, และ “คุณค่าที่จับต้องไม่ได้” เพื่อให้เกิด “เครือข่าย (Network)” และ “ชุมชน (Community)” ที่ให้ความสาคัญกับคุณค่าของคนเท่ากัน ไม่ได้ยึดเอาทรัพย์สินเป็นสิ่ง สาคัญที่สุดของชีวิต ไม่ได้บูชาเงินเป็ นพระเจ้า และ อยู่กันอย่างสันติสุข บนพื้นฐาน ของ ความเชื่อใจและความห่วงใยซึ่งกันและกัน “ธนาคารเวลา” สร้างความยอมรับและยกย่องคุณค่าของคนทุกคนในชุมชน ซึ่ง สามารถเก็บรักษาไว้ และ นามาใช้ให้เป็ นประโยชน์ได้ในกาลข้างหน้า เมื่อต้องการ คุณค่าบางอย่างที่เราสร้างเองไม่ได้ โดยเฉพาะในช่วงที่เราทาในสิ่งที่เคยทา ไม่ได้ หลักการสาคัญอีกประการหนึ่งของ “ธนาคารเวลา” คือ “การเป็นผู้ให้” และ “การเป็น ผู้รับ” อย่างมีศักดิ์ศรีของความเป็ นคน โดย สิ่งที่ให้และรับ ไม่ใช่วัตถุ แต่เป็นสิ่งที่จับต้อง ไม่ได้ ซึ่งเรียกรวมๆว่า “บริการ” เมื่อคุณให้ คุณก็จะได้รับ และ ขอรับได้ โดยไม่รู้สึกว่า เป็น “ผู้ขอ” และ เมื่อคุณได้รับแล้ว ก็จะเป็น “ผู้ให้” ด้วยความรู้สึกที่มีคุณค่าต่อชุมชน ชุมชน และ สังคม ก็จะอยู่ได้อย่างมีสันติสุข และ ยั่งยืน สุดท้ายจะพบว่า “คุณค่าจากการให้” มากกว่า “คุณค่าจากการรับ” และ รู้สึก อยากมาเข้าร่วมกิจกรรมของ “เครือข่าย” และ ใช้ชีวิตอยู่ใน “ชุมชน” อย่างเป็น “ผู้ให้” มากกว่าเป็ น “ผู้รับ” เมื่อรู้ว่า คุณค่าของสิ่งที่ให้ออกไป เป็นที่ยอมรับ เป็ นที่ต้องการ
  • 5. ของคนอื่น และ มีความสาคัญไม่ด้อยกว่าคุณค่าใดๆของใครก็ตาม เพราะไม่ได้วัดกัน ด้วยเงิน คุณวุฒิ หรือ วัยวุฒิ “บริการ” เป็น สิ่งที่จับต้องไม่ได้ มีต้นทุน คือ เวลา แรงกาย และ แรงใจ การให้ “บริการ” ไม่ง่ายเหมือนการให้วัตถุ ต้นทุนของการให้วัตถุ คือ สิ่งของหรือเงิน เมื่อให้แล้วก็ แล้วกันไป ไม่ต้องใช้ความพยายามอะไรเพิ่มเติม แต่ “การให้บริการ” ต้องเริ่มจาก “การให้ เวลา” และ ให้ทั้งหมด ตลอดเวลาที่ยังให้บริการอยู่ นอกจากนี้ยังต้องใส่แรงกายและแรงใจของ ตนเข้าไปด้วย “บริการ” จึงจะสาเร็จผลได้ด้วยดี คนมีเงินเท่ากัน อาจมีเวลา แรงกาย และ แรงใจ ไม่เท่ากัน คนไม่มีเงิน อาจมีเวลา แรงกาย และ แรงใจ มากกว่าคนมีเงิน ยิ่งกวานั้น “การให้บริการ” อาจนามาซึ่งสิ่งดีๆอื่นๆ รวมทั้งคุณธรรม ถ้าให้ด้วย “ใจ” และ “ปัญญา” เช่น ความมีวินัย ความเสียสละ ความความอดทน ความพากเพียร ความ ซื่อสัตย์ ความมุ่งมั่น ความเมตตา และ ความวางใจให้เป็นกลาง เป็นต้น พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่อง “เวยยาวัจจมัย” ใน “บุญกิริยาวัตถุ ๑๐” ไว้ว่า “บุญ สาเร็จได้ด้วยการช่วยขวนขวายรับใช้ ให้บริการคนอื่น” แม้นว่า ในสังคมไทย จะคุ้นเคยและทาอยู่แล้ว เรื่อง การให้บริการ, การช่วยเหลือ คนอื่น, การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์, การเป็นอาสาสมัครช่วยเหลือสังคม ฯลฯ เป็นสิ่งที่มีอยู่ แล้ว เห็นได้ทั่วไป โดยเฉพาะในชนบท แต่ในสังคมตะวันตกที่ถูกครอบงาด้วยระบบทุนนิยม และกาลังมีปัญหาความเลื่อมล้าต่าสูงระหว่างคนรวยกับคนจนมากขึ้นๆ “ธนาคารเวลา” จึง เป็นทางออกหนึ่ง ให้กับสังคมตะวันตกแบบทุนนิยม และ สังคมตะวันออกที่กาลังเดิน ตามก้นของสังคมตะวันตกแบบทุนนิยม ไปสู่ความหายนะของสังคม ข้อดีของ “ธนาคารเวลา” ก็คือ การนาระบบการจัดการที่สังคมตะวันตก เชี่ยวชาญ มารวมกับ “การสร้างคุณค่าทางใจ” ที่สังคมตะวันออกคุ้นเคย แต่ทาจากัดอยู่
  • 6. แค่เพียงในระดับปัจเจกบุคคล สร้างคุณประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมในวงที่กว้างมากยิ่งขึ้น ตั้งแต่ระดับชุมชนเล็กไปจนถึงชุมชนใหญ่และสังคมทั้งประเทศ “ระบบธนาคารเวลา” ให้ความสาคัญกับคนและชุมชน ควบคู่ไปกับระบบ เศรษฐกิจ สอดคล้องกับหลักการของ ระบบเศรษฐกิจการตลาดเพื่อสังคม (Social Market Economy) ที่ทาให้เยอรมันฟื้นฟูประเทศจากสงครามโลกครั้งที่ ๒ มาผงาดอยู่ได้ใน ปัจจุบันนี้และ สอดคล้องกับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานชาวไทยไว้เป็นเครื่องมือในการพัฒนา ประเทศไทย มาร่วมกัน ยกย่องและเก็บรักษา คุณค่าของคน อย่างจริงจัง เพื่อสร้างชุมชนและสังคมไทย ที่เข้มแข็งและมีสันติสุข โดยใช้ “ธนาคารเวลา” เป็นจุดตั้งต้น อย่างเป็นระบบ ดึงจิตวิญญาณของชุมชนและสังคมไทยในอดีตกลับคืนมา และ นาไปสู่ “การให้เวลาต่อกันและกัน” โดยไม่ต้องใช้ “ธนาคารเวลา”