SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  42
Télécharger pour lire hors ligne
ชาวกรีกพบว่า แร่แมกนีไทต์ (magnetite) สามารถดูดเหล็กได้
วัตถุที่ดูดเหล็กได้ เรียกว่า แม่เหล็ก (magnets)
วัตถุที่แม่เหล็กออกแรงกระทา เรียกว่า สารแม่เหล็ก (magnetic
substance) เช่น เหล็ก นิกเกิล และโคบอลต์
แม่เหล็กไฟฟ้า
จากการทดสอบแท่งแม่เหล็กด้วยผงเหล็ก
คำถำม ตาแหน่งไหนเรียกว่าขั้วแม่เหล็ก ?
แม่เหล็กไฟฟ้า
คำถำม จะรู้ได้อย่างไรว่าขั้วไหนเป็นขั้วแม่เหล็กเหนือหรือใต้?
แม่เหล็กไฟฟ้า
จากการแขวนแท่งแม่เหล็กในแนวระดับ ---> แท่งแม่เหล็กจะวางตัวในแนว
เหนือใต้เสมอ
 ขั้วที่ชี้ไปทางทิศเหนือ เรียก ขั้วเหนือ (north pole, N)
 ขั้วที่ชี้ไปทางทิศใต้ เรียก ขั้วใต้ (south pole, S)
คำถำม จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อนาแท่งแม่เหล็ก 2 อัน มาใกล้กัน ?
แม่เหล็กไฟฟ้า
ขั้วต่ำงชนิดกันจะดูดกัน ขั้วชนิดเดียวกันจะผลักกัน
คำถำม จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าตัดแท่งแม่เหล็กออกเป็น 2 ส่วน ?
แม่เหล็กไฟฟ้า
โรยผงเหล็กบนกระดาษที่วางบนแท่งแม่เหล็ก เมื่อวางขั้วแม่เหล็กในลักษณะต่างๆ
สังเกตและอภิปรายผล
บริเวณที่มีแรงกระทาต่อสารแม่เหล็ก เรียกว่า สนามแม่เหล็ก (magnetic field )
แนวการเรียงตัวของผงเหล็ก เรียกว่า เส้นสนามแม่เหล็ก (magnetic field line)
รูป แสดงสนามแม่เหล็กและเส้นแรงแม่เหล็กจากแท่งแม่เหล็ก
แม่เหล็กไฟฟ้า
simulator
Click
สนามแม่เหล็กในธรรมชาติ มีลักษณะเป็น3 มิติ ดังรูป
แม่เหล็กไฟฟ้า
สรุป…
แม่เหล็กไฟฟ้า
simulator
สนามแม่เหล็กมีทิศจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็ก
ความหนาแน่นของเส้นสนามแม่เหล็กบอกขนาดของสนามแม่เหล็ก
- เส้นสนามแม่เหล็กหนาแน่นมาก ---> สนามแม่เหล็กมีค่ามาก
- บริเวณที่ไม่มีเส้นสนามแม่เหล็กผ่าน ---> สนามแม่เหล็กเป็นศูนย์ เรียกว่า “จุด
สะเทิน” (neutral point)
แม่เหล็กไฟฟ้า
คำถำม เรารู้ได้อย่างไรว่าโลกมีสนามแม่เหล็ก ?
แม่เหล็กไฟฟ้า
สร้างเข็มทิศ (compass) เพื่อใช้บอกทิศทาง
การดารงชีวิตของสัตว์บางชนิด เช่น นก และเต่าทะเล
ป้องกันอันตรำยจำกลมสุริยะ (solar wind) ---> แสงเหนือ (aurora borealis) แสง
ใต้ (aurora australis)
แม่เหล็กไฟฟ้า
เส้นสนามแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ในแนวตั้งฉาก เรียกว่า ฟลักซ์แม่เหล็ก (Φ)
ขนาดของสนามแม่เหล็ก หรือ ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก (magnetic flux
density) คือ อัตราส่วนระหว่างฟลักซ์แม่เหล็กต่อพื้นที่ตั้งฉากกับสนามหนึ่งตาราง
หน่วย หาได้จาก
แม่เหล็กไฟฟ้า
พื้ นที่ใก ล้
ขั้วแม่เหล็ก
พื้นที่ไกล
ขั้วแม่เหล็ก
คำถำม จะเกิดอะไรขึ้นเมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็ก
แม่เหล็กไฟฟ้า
X ทิศพุ่งเข้า ทิศพุ่งออก
แม่เหล็กไฟฟ้า
จำกรูป ถ้าประจุ q เคลื่อนที่
ด้วยความเร็ว v เข้าไปในบริเวณที่มี
สนามแม่เหล็ก B พบว่า ขนาดของแรง
แม่เหล็กจะแปรผันโดยตรงกับประจุ
และความเร็วของ หาได้จาก
F = qvBsin
เมื่อ เป็นมุมระหว่าง v กับ B
F เรียกว่า “แรงลอเรนทซ์”
(Lorentz force)
θ
แม่เหล็กไฟฟ้า
แรงแม่เหล็กจะตั้งฉากกับทิศของ
ความเร็วของอนุภาคและทิศของ
สนามแม่เหล็ก ดังรูป
ทิศทางดังกล่าวจะเป็นไปตาม กฎมือ
ขวา ดังรูป โดยถ้าเหยียดนิ้วทั้ง 4 ไปตาม
ทิศของ v แล้วกาไปตามทิศของ B ส่วน
นิ้วหัวแม่มือจะชี้ไปในทิศของ F
แม่เหล็กไฟฟ้า
อีกวิธีหนึ่ง ใช้มือขวา (ประจุบวก)
 นิ้วหัวแม่มือ แทนทิศของ F
 นิ้วชี้ แทนทิศของ V
 นิ้วกลาง แทนทิศของ B
** ในกรณีที่เป็นประจุไฟฟ้าลบเราก็
จะต้องกลับทิศทาง F ไปอีก 180
องศา
รูป แสดงการใช้กฎมือขวา (ประจุบวก)
แม่เหล็กไฟฟ้า
จากรูป จะได้
แรงเนื่องจากสนามไฟฟ้า = แรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก
FE = FB
qE = qvB
v =
E
B
BF
แม่เหล็กไฟฟ้า
เป็นเครื่องมือจาแนกมวลอะตอมของธาตุต่างๆ
จากรูป จะได้
แรงสู่ศูนย์กลาง = แรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก
Fc = FB
= qvB
เมื่อ
จะได้
2
mv
R
v =
E
B
2
qB
R =
mE
qB
R =
mv
คำถำม ถ้าให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาตรง แล้ววางเข็มทิศรอบลวดตัวนานั้น เข็มทิศ
จะมีการเรียงตัวอย่างไร
แม่เหล็กไฟฟ้า
ให้กระแสผ่านขดลวดไม่ให้กระแสผ่านขดลวด
ถ้าผ่านกระแสไฟฟ้าไปในลวดตัวนาที่ดัดเป็นวงกลม จะเกิดสนามแม่เหล็กรอบ ๆ
ลวดตัวนานั้น
ทิศของสนามแม่เหล็กหาได้จากกฎมือขวา โดยการกาลวดตัวนาแต่ละส่วน
แม่เหล็กไฟฟ้า
ลวดตัวนาที่มีฉนวนหุ้ม นามาขดเป็นวงกลมหลายๆ วง เรียงซ้อนกันเป็นรูป
ทรงกระบอก เรียกว่า โซเลนอยด์ (solenoid)
แม่เหล็กไฟฟ้า
แสดงการหาขั้วแม่เหล็กลวดโซเลนอยด์
ถ้าใส่แท่งเหล็กอ่อนไว้ที่แกนกลางของโซเลนอยด์ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่าน
โซเลนอยด์แท่งเหล็กอ่อนจะกลายเป็น แม่เหล็กไฟฟ้ำ (electromagnet)
ถ้า I และ N เพิ่มขึ้น สนำมแม่เหล็กของแม่เหล็กไฟฟ้ำจะเพิ่มขึ้น
เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้า แท่งเหล็กอ่อนจะหมดสภาพแม่เหล็กทันที
แม่เหล็กไฟฟ้า
รูป แม่เหล็กไฟฟ้าอย่างง่าย
ตัวอย่างการนาหลักการแม่เหล็กไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์
แม่เหล็กไฟฟ้า
รูป แสดงกำรนำหลักกำรแม่เหล็กไฟฟ้ำไปใช้ประโยชน์
แม่เหล็กไฟฟ้า
รูป แรงกระทาต่อลวดและกำรใช้มือขวำหำทิศของแรงที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มี
กระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ในสนามแม่เหล็ก
แม่เหล็กไฟฟ้า
แรงกระทาต่อลวดตัวนาที่มี
กระแสผ่าน ขณะลวดตัวนาวางตัวใน
แนวทามุม กับสนามแม่เหล็ก
เป็นไปตามสมการ
หรือ
 B
 F = I L x B
F = ILBsin
แม่เหล็กไฟฟ้า
รูป แรงที่กระทาต่อขดลวดในสนามแม่เหล็ก
แม่เหล็กไฟฟ้า
M = IAB
จากรูป 16.74 ให้ความยาว
PS = QR = a และความยาว
PQ = RS = b ดังนั้น แรงกระทาที่
เกิดขึ้นกับลวดส่วน PQ และ RS จึงมี
ค่า IbB โมเมนต์ของแรงคู่ควบหาได้
ดังนี้
แม่เหล็กไฟฟ้า
จากรูป พิจารณาระนาบ
ของขดลวด PQRS ทามุมกับ
สนามแม่เหล็ก โมเมนต์ของแรงคู่
ควบหาได้ ดังนี้
M = IABcos
ถ้าขดลวดมีลวดพัน N รอบจะได้
M = NIABcos
แม่เหล็กไฟฟ้า
แกลแวนอมิเตอร์
รูป ส่วนประกอบภายในของแกลแวนอมิเตอร์
แม่เหล็กไฟฟ้า
หลักการทางาน
รูป หลักการทางานของแกนแวนอมิเตอร์
แม่เหล็กไฟฟ้า
รูป แรงคู่ควบที่กระทาต่อขดลวด
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
แม่เหล็กไฟฟ้า
หลักการทางาน
รูป หลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
แม่เหล็กไฟฟ้า
กิจกรรม กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา
รูป อุปกรณ์ทดลองกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขดลวดตัวนา
Simulator
แม่เหล็กไฟฟ้า
ผลการทากิจกรรม
กระแสไฟฟ้าในขดลวดตัวนา
เกิดจากการที่มีการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์
แม่เหล็กที่ผ่านขดลวดตัวนา เรียก
กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากวิธีนี้ว่า
“กระแสไฟฟ้ำเหนี่ยวนำ (induce
current)” ซึ่ ง เ ป็ น ผ ล จ า ก ก า ร
เหนี่ยวนา
แม่เหล็กไฟฟ้า
รูป มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
มอเตอร์
แม่เหล็กไฟฟ้า
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
รูป เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
แม่เหล็กไฟฟ้า
รูป มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
แม่เหล็กไฟฟ้า
โครงสร้าง
รูป โครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
หลักการทางาน
รูป หลักการทางานของหม้อแปลงไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ของ
แรงเคลื่อนไฟฟ้ากับจานวนรอบ
ของขดลวด ดังสมการ
หรือ
1 1
2 2
=
E N
E N
1 1
2 2
=
V N
V N
แม่เหล็กไฟฟ้า
กาลังไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่างกาลังไฟฟ้าที่มีผลต่อ
กระแสในขดลวดทั้งสอง พิจารณาดังนี้
กำลังไฟฟ้ำขดลวดปฐมภูมิ = กำลังไฟฟ้ำขดลวดปฐมภูมิ
P1 = P2
I1V1 = I2V2 …(15.8)
กรณี ที่ไม่มีการสูญเสียพลังงาน
กรณี ที่มีการสูญเสียพลังงาน กำลังไฟฟ้ำขดลวดปฐมภูมิ
กำลังไฟฟ้ำขดลวดปฐมภูมิ
X 100 %ประสิทธิภำพ (Eff) =

Contenu connexe

Tendances

05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์Jiraporn
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 

Tendances (20)

05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ทฤษฎีอะตอมของโบร์
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 

En vedette

ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 

En vedette (10)

เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 

Similaire à แม่เหล็กไฟฟ้า

เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศSomporn Laothongsarn
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์Muk52
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดาbo222
 

Similaire à แม่เหล็กไฟฟ้า (20)

อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1อบรมSme1 มฟล.1
อบรมSme1 มฟล.1
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11งานนำเสนอ11
งานนำเสนอ11
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
พัชรินทร์
พัชรินทร์พัชรินทร์
พัชรินทร์
 
P18
P18P18
P18
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
นิดชุดา
นิดชุดานิดชุดา
นิดชุดา
 

Plus de Theerawat Duangsin

Plus de Theerawat Duangsin (6)

ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
แร่และหิน
แร่และหินแร่และหิน
แร่และหิน
 

แม่เหล็กไฟฟ้า