SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
วิธีการสร้างความมั่งคั่ง ร่ารวยง่ายๆ
เริ่มได้เพียงเดือนละพันบาท
วางแผนการเงินด้วย
เอไอเอ ลิงค์ AIA Link
หรือ 4 ดี ลิงค์ (4D Link)
ฐิตารีย์ ทวีพงศภัทร์ , FChFP
นักวางแผนการเงินส่วนบุคคล
7 เหตุผลที่ต้องวางแผนการเงิน
1. เพื่อลดความเสี่ยงทางการเงิน
2. เพื่อปลดภาระหนี้สิน
3. เพื่อชีวิตที่ยาวนานขึ้น
4. เพื่อมีบ้านสักหลัง
5. เพื่อชีวิตที่สุขสบายในวัยเกษียน
6. เพื่อใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน
7. เพื่อเป็นมรดกตกทอด
เป็นเรื่องง่าย ๆ ที่ทุกคนทาได้ทันที คือควรจัดระเบียบการใช้เงินให้ดี
การแบ่งสัดส่วนเงินเป็นพีระมิดวางแผนการเงิน
Speculation
เก็งกาไร
I Active Investment
เงินลงทุนเพื่อเกษียณ
I Cash Management
เงินสารองฉุกเฉิน 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายต่อเดือน
I Risk Management
3 % - 5 % ของเงินทั้งระบบต่อปี สร้างมูลค่าวงเงินเพื่อป้องกันทรัพย์สิน
ทั้งหมดของครอบครัวในเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึง
การบริหารความเสี่ยง
คุ้มครองเงินทั้งระบบ
80 % -100 %
แบ่งเงินลงทุนหรือกาไรจากการ
ลงทุน ปีละ 3 % -5 %
ไปบริหารความเสี่ยง
นักวางแผนการเงินการลงทุน(Financial Planner)
• Insurance
• Investment
• Tax Planning
• Education Planning
• Retirement Planning
•Financial Planner
Wealth Protection
กรมธรรม์ประกันชีวิต
Wealth Creation
•เงินฝาก
•กองทุนรวม
•ทอง
•หุ้น
•อื่นๆ
อิสรภาพทางการเงิน… เป้าหมายที่ปรารถนา
ความสาเร็จทางการเงิน มี 2 ระดับ
1.อัตราส่วนความอยู่รอด = รายได้จากการทางาน + รายได้จากสินทรัพย์ > 1
(Survival Ratio) รายจ่าย
(เป็นอิสรภาพทางด้านการเงินเบื้องต้น)
2.อัตราส่วนความมั่งคั่ง = รายได้จากสินทรัพย์ > 1
(Wealth Ratio) รายจ่าย
หมายเหตุ : 1.การทาให้เงินไม่กระเด็นจากกระเป๋ า
2.การทาให้เงินมากขึ้น
การวิเคราะห์ งบการเงินส่วนบุคคล
อัตราส่วนสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องต่อความมั่งคั่งสุทธิ
= สินทรัพย์ที่แปรเป็นเงินสด ≥ 15 %
สินทรัพย์ – หนี้สิน
‟หลายครั้ง เศรษฐี ทาเงินหล่นหาย
(Poor Millionaire)”
(สัดส่วนเงินสดน้อยกว่าสินทรัพย์เยอะมาก)
คนรวยทาไมถึงรวย
1.มีเงิน (Money)
2.โอกาสในการลงทุน
(Opportunity)
3.กลยุทธในการลงทุน(Strategy)
การลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงิน
E
Employee
S
Small
Business
Owner
B
I
Big
Business Owner
Investor
มีงานทา
เป็นเจ้าของงาน
เป็นเจ้าของระบบและคนงาน
ใช้เงินทางาน
ทาไมจึงควรลงทุน ?
?
เราจะสร้างความมั่งคั่ง แบบไหน ?
ทาไมจึงควรลงทุน
เปรียบเทียบอัตราเงินเฟ้อกับอัตราเงินฝากในประเทศไทย 2548 - 2557
ความเสี่ยงที่เรานาเงินฝากธนาคารอย่าง
เดียว มีโอกาสติดลบถึง 2.4 %
การเปรียบเทียบค่าเงินเฟ้อ
อายุ
ต้นทุนสะสม
(บาท)
มูลค่าเงินลงทุนโดยประมาณเมื่อนาไปลงทุนได้ผลตอบแทนต่างๆ (บาท)
2% 4% 6% 8% 10%
25 83,000 84,000 86,000 88,000 89,000 91,000
30 252,000 269,000 287,000 307,000 328,000 351,000
35 467,000 520,000 582,000 652,000 733,000 827,000
40 742,000 860,000 1,005,000 1,181,000 1,398,000 1,664,000
45 1,093,000 1,315,000 1,601,000 1,975,000 2,463,000 3,106,000
50 1,541,000 1,917,000 2,432,000 3,145,000 4,142,000 5,544,000
55 2,113,000 2,711,000 3,576,000 4,850,000 6,752,000 9,621,000
60 2,843,000 3,751,000 5,139,000 7,309,000 10,771,000 16,377,000
มูลค่าเงินลงทุนของ “นาย A” เมื่อนาไปลงทุนได้ผลตอบแทนต่างๆ
(เก็บออม 10% ของเงินเดือน และครึ่งหนึ่งของโบนัสที่ได้รับในแต่ละปี
สถิติผลตอบแทนจากการ
ลงทุน (2542-2554)
Cash
(เงินฝาก)
Bond
(พันธบัตร)
Stock
(หุ้น)
ผลตอบแทนเฉลี่ยแบบทบต้น 2.61% 5.96% 11.78%
ผลตอบแทนเฉลี่ย 2.62% 6.14% 19.33%
ค่าสูงสุด 6.00% 18.78% 120.68%
ค่าต่าสุด 0.68% -4.18% -44.12%
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.56% 6.36% 44.19%
สถิติผลตอบแทนของสินทรัพย์เพื่อการลงทุนระหว่างปี 2542-2554
ผลตอบแทนที่ต่างกัน
พลังทวีดอกเบี้ยทบต้น
16
มีคนไปสัมภาษณ์อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
ในช่วงบั้นปลายชีวิตของท่าน
ในฐานะที่ท่านเป็นนักฟิสิกส์
ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก
และมีส่วนสาคัญเกี่ยวข้องกับ
การคิดค้นระเบิดปรมาณู
ที่มีอานาจในการ
ทาลายล้างอย่างมหาศาลว่า
“ท่านคิดว่าแรงใดเป็นแรงที่มีพลังมากที่สุดในโลก” ไอน์สไตน์ตอบว่า
”ดอกเบี้ยทบต้น” (Compound interest is the most powerful force on Earth.)
17
ปัจจัยหลักที่สาคัญที่สร้างพลังทวี ดอกเบี้ยทบต้น คือ
1. เงินต้นที่ลงทุน หรือใส่ไปในระบบ เงินจานวนมากย่อมมองเห็นภาพชัดกว่า
2. ระยะเวลาการลงทุน ยิ่งยาวยิ่งดี ระบบจะทางานได้อย่างต่อเนื่อง
3. อัตราผลตอบแทน ในแต่ละเดือน แต่ละปีที่มีอัตราผลตอบแทน ต่างกันแค่ 1- 2 %
ควบรวมกับ เงินต้นและระยะเวลาการลงทุนแล้วจะทาให้คุณงง และสงสัยว่า
ผลตอบแทนต่างกัน และเพิ่มขึ้นมากอย่างไม่น่าเชื่อเลยทีเดียวค่ะ
ตัวอย่างพลังทวีดอกเบี้ยทบต้น
การออมที่เท่ากัน แต่ผลตอบแทนและระยะเวลาที่ต่างกัน
18
19
1 คน
ร่ารวย
3 คน ทางานเต็มเวลา
เพื่อหาเงินใช้จ่าย
4 คน
มีเงินออมเพียงพอ หลังเกษียณ
29 คน
เสียชีวิต
63 คน
พึ่งสวัสดิการสังคมและมูลนิธิการกุศลต่างๆ
มาดูสถิติ ชีวิตหลังเกษียณของคนในประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่
พัฒนาแล้ว ในจานวน 100 คน ซึ่งเป็นวัยทางาน อายุ 25-65 ปี เป็นอย่างไร
เมื่อทราบวิธีการต่างๆ เพื่อสร้างความมั่งคั่งของคุณแล้วก็แค่ เริ่มต้น ”เดี๋ยวนี้”
เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนการเงิน
เป็นนวัตกรรมใหม่
ที่จะช่วยให้คุณ
บรรลุเป้าหมายทางการเงินได้อย่างง่ายดาย
เริ่มง่ายแค่เดือนละพันบาท
Unit Link คืออะไร
ประกันชีวิต การลงทุนในกองทุนรวม
ข้อดี 4 แบบ ที่เราจะได้จาก Unit Link
ดิฉันขอเรียกว่า 4D Link นะคะ จะได้จาง่ายค่ะ
D ที่ 1
คือ ลดภาษี มีเงินเพิ่ม ใช้สิทธิตัวเองได้อย่างคุ้มค่า
D ที่ 2 คือ
ได้ลงทุน ผ่านกองทุนรวม มีโอกาสได้รับผลตอบแทนเพิ่มขึ้น
ตามความเสี่ยงที่ยอมรับได้
เข้าถึงกองทุนชั้นนาระดับประเทศ
ออกแบบ และเลือกกองทุนเองได้
เริ่มต้นเดือนละพัน ซื้อได้ทุกกองทุนใน 10 กอง
ซึ่งถ้าลงทุนเองทาไม่ได้ถ้าเงินไม่ถึงที่บริษัทกาหนด
D ที่ 3
คือ คุ้มครองชีวิต ชีวิตมีมูลค่า และความคุ้มครองสูง
ยืดหยุ่นสูงออกแบบปรับเปลี่ยนได้ ตามความเหมาะสม
หยุดพักได้ถอนเงินออกมาใช้ได้ตามความต้องการ
D ที่ 4
ครบพร้อมในเครื่องมือเดียว ได้ลงทุน ได้ประกัน ได้ออมเงิน
ได้ลดภาษี ลงทุนน้อย เริ่มง่ายเพียงเดือนละพันบาท
เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้คุณบรรลุแผนการเงิน ที่ตั้งไว้
พร้อมทั้งมีเงินใช้ไปตลอดชีวิต
ขั้นตอนการคัดเลือกกองทุนสาหรับ
AIA Link
ขั้นตอนการคัดเลือกกองทุนสาหรับ AIA Link
ข้อมูลกองทุน
ของเอไอเอลิงค์
ผลการดาเนินงานของกองทุน
ภายใต้การจัดพอร์ตการลงทุน
ของกรมธรรม์เอไอเอลิงค์
เครื่องมือช่วยในการลงทุน
ของ ยูนิตลิงค์ (Unit Link)
หรือ 4 ดีลิงค์(4D Link)
วันนี้คุณเตรียมเงินไว้ยามเกษียณ
เพียงพอรึยัง?????
การเตรียมเงินเพื่อเกษียณ
ชีวิตหลังเกษียณ
อีกกี่ปี
(เกษียณอายุ
60 ปี)
ค่าใช้จ่ายต่อเดือนหลังเกษียณ (บาท)
10,000 30,000 50,000 70,000 100,000
เงินออมขั้นต่าที่ต้องมี
5 600,000 1,800,000 3,000,000 4,200,000 6,000,000
10 1,200,000 3,600,000 6,000,000 8,400,000 12,000,000
15 1,800,000 5,400,000 9,000,000 12,600,000 18,000,000
20 2,400,000 7,200,000 12,000,000 16,800,000 24,000,000
หมายเหตุ : อัตราดังกล่าวยังไม่ได้คานวณรวมเงินเฟ้อ ประมาณ 3 - 4 %
เตือน ! ระวัง 6 หลุมพรางเงินเก็บเกษียณหมดกลางทาง
1. คานวณเงินผิดพลาด ไม่ว่าจะเป็นการออม และค่าใช้จ่ายต่อเดือนหลัง
เกษียณ บางคนมีอายุยืนยาวถึง 90- 100 ปีก็ได้
2. ลืมคิดเงินเฟ้อ
3. การใช้มากกว่าที่ตั้งใจ หรือใช้แบบไม่มีวินัย เงินออมอาจหมดก่อน
4. ค่ารักษาพยาบาลแพงกว่าที่คิด
5. คิดว่าวางแผนเกษียณเป็นเรื่องไกลตัว ไม่เตรียมพร้อมตั้งแต่ช่วงที่ทางาน
6. การลงทุนหลังเกษียณ ซึ่งเป็นทั้งความเสี่ยงและการหารายได้เพิ่ม
เรือแห่งความมั่งคั่ง (Wealth boat)
CBA
ลงทุนมากเกินไป
(เสี่ยงสูง)
ฝากธนาคารมาก
เกินไป
มีการวางแผนที่
เหมาะสม
Road To Rich
Wealth
Creation
Rule of 72
Rule of 100
Rule of 20 (ออม 20 %)
- Wealthy
- Healthy
- Security
Rich
I : Money
II : Opportunity
III : Strategy
- Asset Allocation
- DCA
- Rebalancing
- SwitchingBasic Need
การวางแผนเหมือนการปีนเขา
ติดตามและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
www.WealthPublic.com
https://www.facebook.com/Wealthpublic
E-mail : wealthpublic@gmail.com
: info@wealthpublic.com
Line ID : Titaree68
Phone : 086-4051693

More Related Content

Viewers also liked

เรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร
เรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสารเรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร
เรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสารMarg Kok
 
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิตการเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิตSathida Suyati
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance KnowledgePao Nanu
 
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตามTreetita Intachai
 
Eis presentation
Eis presentationEis presentation
Eis presentationpimpatcha
 
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผลเป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผลmasteriii
 
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพการโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพThaniyaphatra Saengngam
 
เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...
เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...
เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...BAINIDA
 
นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...
นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...
นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งKriengsak Niratpattanasai
 

Viewers also liked (16)

เรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร
เรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสารเรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร
เรื่องที่ 5 การค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร
 
Chippy27
Chippy27Chippy27
Chippy27
 
10 ec3d brochure
10 ec3d brochure10 ec3d brochure
10 ec3d brochure
 
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิตการเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
 
Assurance Knowledge
Assurance KnowledgeAssurance Knowledge
Assurance Knowledge
 
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
 
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
34 วิธีการพูด ให้ผู้อื่นคล้อยตาม
 
7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)7 habits (19 5-2554)
7 habits (19 5-2554)
 
Eis presentation
Eis presentationEis presentation
Eis presentation
 
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผลเป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
 
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพการโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
การโทรนัดหมายแบบมืออาชีพ
 
เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...
เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...
เสถียรภาพและความมั่นคงของกองทุนการออมแห่งชาติ: การประเมินทางคณิตศาสตร์ประกันภ...
 
นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...
นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...
นิสัย 7 ประการสู่ความสำเร็จ THE SEVEN HABITS OF HIGHLY EFFECTIVE PEOPLE Steph...
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่งเจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
เจ็ดอุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง
 

Similar to วางแผนการเงินด้วย 4D Link ลงทุน ออมเงิน ประกันชีวิต ลดหย่อนภาษี

เกร็ดการออม
เกร็ดการออมเกร็ดการออม
เกร็ดการออมSuthida Kawjakrua
 
Amway vision
Amway visionAmway vision
Amway visionDave54826
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
FIT Finance 101 Presentation
FIT Finance 101 PresentationFIT Finance 101 Presentation
FIT Finance 101 PresentationGlobalShapersBkk
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
มนุษย์หุ้น 2.0 by Cway
มนุษย์หุ้น 2.0 by Cwayมนุษย์หุ้น 2.0 by Cway
มนุษย์หุ้น 2.0 by CwayJow Moonlover
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.patmsy
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้าน
1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้าน1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้าน
1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้านKang ZenEasy
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
การออม
การออมการออม
การออมfalanfriend
 
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)Nutthakorn Songkram
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 

Similar to วางแผนการเงินด้วย 4D Link ลงทุน ออมเงิน ประกันชีวิต ลดหย่อนภาษี (20)

H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
ฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออมฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออม
 
เกร็ดการออม
เกร็ดการออมเกร็ดการออม
เกร็ดการออม
 
Amway vision
Amway visionAmway vision
Amway vision
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
FIT Finance 101 Presentation
FIT Finance 101 PresentationFIT Finance 101 Presentation
FIT Finance 101 Presentation
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
มนุษย์หุ้น 2.0 by Cway
มนุษย์หุ้น 2.0 by Cwayมนุษย์หุ้น 2.0 by Cway
มนุษย์หุ้น 2.0 by Cway
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้าน
1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้าน1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้าน
1 ชีวิตกับเงิน 4 ด้าน
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
การออม
การออมการออม
การออม
 
Happy
HappyHappy
Happy
 
How to retire happy
How to retire happyHow to retire happy
How to retire happy
 
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
2 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มธนิตา)
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 

วางแผนการเงินด้วย 4D Link ลงทุน ออมเงิน ประกันชีวิต ลดหย่อนภาษี