SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  74
การจัดการพื้นที่ร้านและ
             การทำา Merchandise Management
                      ผศ.ดร.วิพธ อ่องสกุล
                               ุ
                       คณะบริหารธุรกิจ
                 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์                                              1

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ผศ.ดร.วิพ ธ อ่อ ง
                                   ุ
                     สกุล งปัจจุบัน
                     ตำาแหน่
                      - ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายประกันคุณภาพ
                        - ผู้อำานวยการหลักสูตร Ph.D. in Finance
                        - ผู้ประสานงานภาควิชาการบริหารการปฏิบัติการ
                        -ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำาคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต
                        พัฒนบริหารศาสตร์
                        การศึก ษา:
                        December 2001                 ปริญญาเอก Industrial
                        Engineering จาก Texas Tech
                        University, Lubbock, TX, USA
                        August 1998                   ปริญญาโท Industrial
                        Engineering จาก Texas Tech University,
                                   Lubbock, TX, USA
                        อาจารย์ร ับ เชิญ
                        March 1996                    ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์
                        อุตสาหการ จากจุฬาลงกรณ์ ยธรรมศาสตร์ สถาบันทยาลัย
                                             มหาวิทยาลั               มหาวิ พระปกเกล้า
                        วิทยาลัยมหาดไทย
                        กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย                       มหาวิทยาลัย
                        เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยขอนแก่น
                                             มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร มหาวิทยาลัย
                        นเรศวร มหาวิทยาลัยพายัพ                       มหาวิทยาลัยบูรพา
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง นบริห ารศาสตร์
    ุ                   ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ มหาวิทยาลัยนานาชาStampford
                                     © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ประวัติการศึกษาและการเข้าอบรม
      การเข้า อบรม:
                            Instructor (วิทยากร)
      December 2011                Microeconomics of Competitiveness Affiliate
      Faculty Workshop, Harvard Business School,
                       Harvard University, Boston, Massachusetts, USA
      October 2010 Executive Leadership Program, Wharton School of
      Business,
                       University of Pennsylvania, Philadelphia, Pennsylvania,
      USA
      August 2009                  Thailand Spectrum Auctions Masterclass by
      Policy Tracker and Holios
                       organized by Thailand’s National Communication
      Commissions.
      October 2008 Case Research and Writing Workshop by Prof. Dr.
      Clifford E. Darden, The
                       Graziadio School of Business and Management,
      Pepperdine University
      January 2008 Toyota Talent: The Secret of Toyota’s amazing
      success and how you
                       can make it a reality in your company seminar by
วิพ ธ อ่อ งสกุP.คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ David ล Meier, the coauthor of © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business :
                                                                      Toyota Talent Adminis
ประสบการณ์ก ารเป็น วิท ยากร
     •Yum!, General Motor, Bayer, Acer, Auto Alliance, Citi
     Bank Group, ธนาคารกสิกร, Hitachi Global Storage
     Technologies, BSH Home Appliances, Office Mate, บางจาก,
     PTT , NEC, MFC, CPN, เมืองไทยประกันชีวิต, สหยูเนี่ยน,
     Panasonic, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Premier
     Marketing, Star Micro, ปูนซิเมนต์ไทย, กรุงเทพประกันชีวิต, Alan
     Dick, EEI, ไทยศรีประกันภัย, กรุงเทพโทรทัศน์ (ช่อง 7), สถาบันเพิ่ม
      ประสบการในการให้ค ำา ปรึก ษา
     ผลผลิต, การไฟฟ้านครหลวง, การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, กรุงศรีออโต้, ปตท,
      •สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, รางวัลคุณภาพการให้
     โรงงานยาสูบ, Team Consulting, ธอส, แพนด้าจิวเวอร์รี่, กทช, นำ้า
      บริการประชาชน, Doing Business (world bank), UN Public
     ประปาไทย, ขนส่งนำ้ามันทางท่อ, บางจาก, GreenSpot
      service award ตั้งแต่ปี 2003-Present
      •คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช), 3G Evaluation
      Project ปี 2010
      •Thai Storage Batteries (3K Batt) in TQM Project ปี 2009
      •ปตท, Business Plan for Lubrication Business Project, 2008
      •โรงงานยาสูบ, Customer Survey Project, 2007-2008
วิพ ธ •ไปรษณีย์ไทย, Organizationพัฒ นบริห ารศาสตร์ Project, of Business Adminis
    ุ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต Restructure
                                     © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School 2006
ระบบการขาย
     • ระบบการขายแบบผลัก (Push sale system)




     • ระบบการขายแบบดึง (Pull sale system)




                                                                                           5
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Pull Sale System

                                           หรือ


                             Push Sale System

                              สำาหรับร้านขายยา
                                                                                           6

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Category
                          3,000-5,000 SKU (Stock Keeping Unit)




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
7-11 เลือกสินค้า




 • เลือ กขายสิน ค้า ทีข ายดีเ ป็น
                      ่
   ทีน ย มของตลาด
     ่ ิ
                                                   วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ปีที่ 34 ฉบับที่
 • ขนาดของสิน ค้า ทีข ายต้อ ง
                        ่                          4239 ประชาชาติธุรกิจ
   เหมาะสมกับ ประเภทของ
   ร้า นค้า
 • 7-11 เลือ ก top 3 brands  top 3
   มี Market share รวมกัน เกิน
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การวัดพื้นที่การจัดเรียงสินค้า



  Share of Shelf (SOS) คือ
  สัดส่วนพื้นที่ในร้านค้าของสินค้าบนชันวางสินค้า
                                      ้
  ในกลุ่มผลิตภัณฑ์เดียวกัน

                               Share of Market (SOM) คือ
                                         สัดส่วนการขายในตลาด

การบริหารพื้นที่สินค้าที่เหมาะสมจะต้องมี
SOS = SOM                            SOS                                          SOM



วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
จัดเรียงดี
                              จัดเรียงแบบ แบรนด์บล็อก




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Plan – O - Gram
   Product Name
                                                                        Price

             Size
                                                                          Printed Date

            PMA
                                                                          Product Ranking
                                                                          Face
   Product Life




                     Core Product        Shelf No.     Detail


วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การจัด เรีย งตาม Plan-o-
     1.ชื่อ                                                            11. ราคา และ
          gram
     สิน ค้า                                                           หน่ว ยราคา
     2. ขนาด                                                           10. วัน ที่
     บรรจุ                                                             พิม พ์
                                                                       9. สัญ ลัก ษณ์
    3. รหัส
    สิน ค้า                                                            สิน ค้า TOP
      4. อายุ                                                          T1 คือ สิน ค้า TOP 1-300
                                                                       T2 คือ สิน ค้า TOP 301-550
      สิน ค้า
    5. สถานะ                                                        8. จำา นวน
    สิน ค้า                                                         แถวสิน ค้า
    C คือ บัง คับ ขาย                                   7. ชั้น วาง
                                                        ที่/สิน ค้า ตัว
                    6. เลขที่
    N คือ New products
                                                        ที่/จำา นวน
                    Shelf/รูป แบบ
                                                        SKU ที่ว าง
                    Shelf

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
รหัส สิน ค้า PMA ( Product Movement Analysis )


     4100151
                                Product Number
  Product Categories
  (PMA)




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
PMA ( Product Movement Analysis )

           คือ การกำา หนดหมวดหมู่
           ของสิน ค้า

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
PMA ( Product Movement Analysis )
                      ประเภทของสิน ค้า ที่ข ายในร้า น 7-eleven
                      ประเภทของสิน ค้า ที่ข ายในร้า น 7-eleven

Food ServiceBeverage Process Food Non Food Non Food Non Food
 SI Drink             Alcohol           Confectionary        Personal Care       Cigarette         Premium
 05 SI Drink          10 Alcoholic      40 Confectionary     50 Personal Care 12 Import Cigarette National Seasonal
                                                                                                   37
 SI Food              11 Liquor         Snacks               Variety             72 Thai Cigarette License
 04 Sweet Service     Dairy             41 Snacks            09 Value Card                         67 Go Game
 22 Fresh Food        29 UHT Milk       Grocery              13 Phone Card                         90 Promotion Premium
 23 SI Food           30 Pasteurized Milk Staple
                                        32                   26 Service
 Fast Food            Soft Drink        33 Noodle            27 7 Top up
 20 Frozen Lunch Box 38 Non CSD         34 Instant Power Drink House Ware
                                                             51
 21 Chilled           42 CSD                                 56 Battery & Film
 24 Warmed Food       45 Ice                                 68 Toys             28 หนังสือ
 25 Bakery Service    49 Power Drink                         69 Service Card     86 นิตยสาร
 78 Basket                                                   71 ERS              52 เครื่องเขียน
 Bakery & ICE Cream                                          74 Charity
                                                                                 39 Entertainment cat 01 หนัง
 44 Ice Cream Novelties                                      89 Catalog on shelf
 60 Package Bakery                                           Household                           cat 02 เพลง
 61 Sandwich Bread                                           54 Sanitary                         cat 03 สือสารเรียน
                                                                                                           ่
                                                                                                             การสอน
วิ63 ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริHouse Hold
  พ ุ Thai Snack                                             55
                                           © Viput Ongsakul,ห ารศาสตร์
                                                                  Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Shelf Inventory

    •   Days of Supply (DOS)
              จำานวนวันที่สินค้าบนชั้นวางจะหมดลง




                  DOS =               จำานวนสินค้าบนชั้นวาง
                                      จำานวนที่ขายต่อวัน




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ตัวอย่างการใช้: Days of Supply



                 Gatorade Orange 2L.




 การจัด เรีย งในชัน วางอยู่ไ ด้ก ี่ว ัน
                  ้                                             (DOS)?
           ค่าเฉลี่ยการขายต่อสัปดาห์               (Average weekly
    movement) = 4.6

           ขาแนวนอน          (Horizontal Facings) = 3,         ลึก (Depth Facing)
             =6

           จำานวนบนชั้นวาง= 3*6 = 18 ขวด
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ตัวอย่างการใช้: Days of Supply

         Space allocation
                        การเปรียบเทียบสินค้าคงคลังโดยการใช้DOS


         สิน ค้า               Capacity        Movement                  DOS
                               (จำานวน)        (จำานวน/วัน)
         Brand A                  10                  10                   1
         Brand B                  10                   5                   2
         Brand C                  10                   1                  10
         Brand D                  10                   2                   5
         Brand E                  10                   2                   5
         Retailer Brand           10                   7                  1.4




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ตัวอย่างการใช้: Days of Supply

         Space allocation
             การใช้นโยบายการบริหารสินค้าคงคลังด้วย 5 DOS

      สินค้า                      Capacity          Movement                   DOS
                                   (จำานวน)          (จำานวน/วัน)
      Brand A                          50                 10                      5
      Brand B                          25                 5                       5
      Brand C                          10                 1                       10
      Brand D                          10                 2                       5
      Brand E                          10                 2                       5
      Retailer Brand                   35                 7                       5


วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ปัญหาของค่าเฉลีย
                                           ่

                                                     SD




                                       50%

                                                                                          20

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ระดับการให้บริการ service level
                                                                           SD=50




                                                                =100
                                                          Stock=100, SL=
                                                          Stock=150, SL=
                                                          Stock=200,SL=
                                                          Stock=250,SL=


              Service level=1-stock out                                                   21

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การแก้ปญหาด้วย Inventory Position
        ั
    •   Critical ratio = กำาไร            สมมุติ กำาไร 24 บาท ขาดทุน 8 = 24     =75%
                       ขาดทุน+กำาไร                                   8+24




                             Average
                                                            Recommend order
                 75%
                                                                       =
                                                            (0.6745xSD)+Average

                                                             จาก Z = X-Average

                                 0.6745
                                                                           SD

        Ex. 300+(0.6745x227) =            453.11 กล่อง

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Critical Ratio

                          Average
                                                                Service Level = 75%
                                                                Stock out level=25%

                                                      Service Level Agreement=SLA
               75%

                                                    ข้อตกลงระดับการให้บริการ หรือ S
                                                    คำานวนมาจาก Critical Ratioของลูก
                             0.6745                 โดยแนวโน้ม ลุกค้าจะทำาระบบ VM
                                                    ส่งผลให้ MC~0 ทำาให้ Ratio~1
                                                    หรือ SLA~100%
                                                                                          23
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ระดับการให้บริการ service level
                                                        SD=25


                                                                 SD=50


                                                    =100
                                         ที่   Stock=150 SL ของรูปใหญ่=
                                                        SL ของรูปเล็ก =
                                         ที่ SL= 99.85%, Stock ของรูปใหญ่
                                         =
                                                             Stock ของรูปเล็ก =
                                                                                          24

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การวัดความสันไหวความต้องการ
                        ่

                                                     SD




           CV=




                                                                                          25

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การวัดความสันไหวความต้องการ
                                  ่
     • ปัญหาการสันไหวของความต้องการกับการแก้
                 ่
       ปัญหาด้วย สินค้าคงคลัง
        Mean = 300 กล่อง
        Standard Dev. = 227 กล่อง
        CV = STD/Mean
           = 0.75
                                                               avg.
        ถ้า CV มากกว่า 0.5 เกิด Demand Fluctuation




                                                                                          26
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การวัดความสันไหวความต้องการ
                         ่
                                              SD=25

                                                      SD=50



                                           =100

        CV=                            CV=?


                 ลด SD โดย คงที่เป็นไปได้ยาก
                 ลด จะเกิดอะไรขึ้นกับ SD
                 เพิ่ม จะเกิดอะไรขึ้นกับ SD                                              27

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การแตกตัวของตลาด (Market
                              Fragmentation)
     •   ตลาดแตกตัว 
     •   สินค้าใหม่ในแต่ละกลุ่ม 
     •   รายการสินค้า SKUมากขึ้น
     •   ปริมาณความต้องการแต่ละกลุ่มน้อยลง แต่ภาพ
         รวมเพิ่มขึ้น
     • CV สูงขี้นในแต่ละ fragment



                                                                                          28
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
รายการสินค้า (SKU) กับความสันไหวของ
                                     ่
                     ความต้องการ
     • การสันไหวของความต้องการ ที่เกิดจากความหลาก
            ่
       หลายของรายการสินค้า                               สินค้า



                                                                                          5
                                       ดั่งเดิม          ปูอด
                                                            ั      พริกเผา   พริกไทยดำา
          รสชาติ      สาหร่าย
                                                                                          x

          ขนาด        50g       100g              150g      200g                          4
                                                                                          x
          แบบซอง
                                                                                          4
                                                                                          x
           ของแถม                                                                         5
                                                                                          =
                                                                                          300SKU
                                                                                               29

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การแตกตัวของตลาด (Market
                              Fragmentation)
    รายการสินค้า SKUมากขึ้น ปริมาณความต้องการแต่ละกลุ่ม
    น้อยลง แต่ภาพรวมเพิ่มขึ้นCV สูงขี้นในแต่ละ fragment




                                 26    28     30    32    34




    6    8    10   12    14       6     8   10     12    14        6     8   10    12    14
                                                                                              30

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
รายการสินค้า                  (SKU-Stock Keeping Unit)




      การจัดการรายการสินค้า: Category Management
                                                        รายการ      ยอดขาย
                                                        20          80
                 Category ขายดี: Fast Moving
                                             80                     20
                 ขายปานกลางและตำ่า: Slow
                 Moving
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ความสั่นไหวของ ความต้องการกับวงจร
                                  ชีวิตผลิตภัณฑ์




                                                                                          32
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
คำาตอบ

     • ร้านจะได้ประโยชน์สงสุด เมื่อใช้ระบบ Push/Pull
                            ู
       พร้อมกัน
     • กลยุทธ์ที่จะใช้ Push/Pull คือ การเพิ่ม Turn Over
       หรือยอดขายให้สูงขึ้น
     • การเพิ่มยอดขายคือการเพิ่ม SKU ในร้านให้สูง
       ขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสการทำา Cross sales



                                                                                          33
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การออกแบบร้าน




                                                                                          34

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
กลยุทธ์ในการออกแบบร้าน
         • การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere)
              – จับจ่ายด้วยความสุข (shopping enjoyment)
              – ใช้เวลาในการดูและเลือกสินค้า (time spending)
              – เต็มใจทีจะพูดคุยกับพนักงานขาย (willingly
                        ่
                 talking)
              – จับจ่ายมากกว่าทีวางแผนไว้ (unplanned spending)
                                ่

              – กลับมาใช้บริการอีก (return to store)
         • ทั้งนี้การสร้างบรรยากาศเกี่ยวเนื่องไปกับการ
           รับรู้สื่อสัมผัสของลูกค้าไม่ว่า แสง เสียง กลิ่น
           การสัมผัส                                                                      35
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere)
         • การมองเห็น (sight appeal) เป็นสื่อในการสร้าง
           บรรยากาศที่ส ำา คัญ ที่สุดเกี่ยวข้องอยู่กับ
           ขนาด (size) รูปร่าง (shape) สี (color)
              – ขนาด (size)-ลูกค้าจำานวนมากมันใจในขนาดของ
                                                ่
                ร้านทีใหญ่กว่า เพราะร้านใหญ่นาจะมี บริการทีมา
                       ่                          ่              ่
                กกว่า สินค้าให้เลือกมากกว่า สินค้าที่มคุณภาพดี
                                                         ี
                กว่า ราคาทีถูกกว่า แต่ร้านค้าขนาดเล็กกว่าลูกค้า
                             ่
                จะมองว่า ให้บริการทีเป็นกันเองมากกว่า ราคาต่อ
                                      ่
                รองได้
              – รูปร่าง/รูปทรง (shape)-ทรงสูง (vertical )ให้ความ
                รู้สึกแข็งกร่างมันคงเป็นการเน้นยำ่า ฉะนั้นจะใช้
                                 ่
                ทรงสูงเพือเป็นการเน้นยำ่าสินค้าลูกค้าจะเลือก
                           ่                                       36
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere)
         • การมองเห็น (sight appeal) เป็นสื่อในการสร้าง
           บรรยากาศที่ส ำา คัญ ที่สุดเกี่ยวข้องอยู่กับ
           ขนาด (size) รูปร่าง (shape) สี (color)
              – สี (color) เป็นสิ่งทีสะดุดสายตามากทีสุด คุณสมบัติ
                                     ่                ่
                ของสีในทางจิตวิทยาแบ่งเป็น hue, value, intensity
              – Hue-แบ่งเป็นโทนอบอุ่น (warm) ประกอบด้วย แดง
                เหลือง ส้ม จะให้ความรู้สึกอบอุ่นสบาย กันเอง
                ส่วนโทนเย็น (cool) ประกอบด้วย ฟ้า เขียว ม่วง จะ
                ให้ความรู้สึก เป็นทางการ ห่างไกล เย็น
              – Value-แบ่งเป็นเข้ม (darkness) อ่อน (lightness) สีอ่อน
                ทำาให้ห้องหรือสินค้าดูใหญ่ขึ้น
              – Intensity-แบ่งเป็นสว่าง (brightness) หม่น (dullness)
                สีหม่นดูอ่อนนุ่ม                                      37
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere)
        • เสียง (sound appeal) เสียงอาจจะส่งเสริมหรือ
          ทำาลายบรรยากาศภายในร้านซึ่งแบ่งได้เป็น
          เสียงสองประเภท
                 – เสียงทีควรหลีกเลี่ยง (sound avoidance) เสียงที่
                             ่
                   รบกวนหรือทำาลายบรรยากาศอาจเกิดจากภายใน
                   หรือภายนอกร้าน ซึงเสียงเหล่านีต้องถูกควบคุม
                                                 ่                ้
                   หรือขจัดให้หมดไป เช่นเสียงส้นสูงกระทบพืนแข็ง                 ้
                   เสียงหึงของแอร์ เจาะหรือซ่อมถนน เสียงก่อสร้าง
                               ่
                   ต่างๆ หรือเสียงดนตรีจากร้านข้าง ทังนี้การซื้อ       ้
                   สินค้าบางประเภทจะต้องใช้การนึกคิดหรือการ
                   อ่านรายละเอียดสินค้า
                 – เสียงพึงมี (sound creation) -การสร้างบรรยากาศเช่น
                   การเปิดเพลงเบาๆ ตัวอย่าง การบินไทยเปิดเพลง 38
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต–ฒ นบริห ารศาสตร์ มูล School การ
    ุ              ก่อนเครื่องร่อViput Ongsakul, Ph.D. Graduate เช่น of Business Adminis
                                ©       นลง พัเสียงทีให้ข้อ่
การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere)
         • กลิ่น (scent appeal) ก็เป็นรูปแบบเดียวกับเสียง
           – กลิ่นที่ควรหลีกเลี่ยง (scent avoidance) เช่นกลิ่นอับ
              ชื้น กลิ่นนำ้ามันเครื่อง กลิ่นพลาสติก กลิ่นสารเคมี
              กลิ่นอาหาร ทังนีขึ้นอยู่กับระบบปรับอากาศ ระบาย
                              ้ ้
              อากาศของร้าน
           – กลิ่นพึงมี (scent creation) –กลิ่นสร้างบรรยากาศ
              เช่น-ซูเปอร์มาร์เกต มีกลิ่นหอมของกาแฟ เบเกอรี่
              ทำาให้บรรยากาศดีตั้งแต่เริ่มเข้าร้าน -ร้านขายยา
              โรงพยาบาล กลิ่นสะอาดหรือยาฆ่าเชื้อ
         • สัมผัส (touch) โดยมากจะหลีกเลี่ยงการให้
             ลูกค้าสัมผัสสินค้าเนื่องจากอาจเกิดความเสีย
             หายต่อความใหม่ของสินค้า อาจมีทางเลือก
             โดยการตั้งสินค้าตัวอย่างให้ลูกค้าสัมผัส เช่น                                 39
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
กลยุทธ์ในการออกแบบร้าน
         • รูปแบบร้าน
              – รูปแบบภายนอก-เป็นการสื่อสารระหว่าง
                ร้านกับลูกค้าเป้าหมาย ทำาให้ทราบถึง
                ลักษณะและคุณภาพของร้าน และยังเป็น
                จุดสร้างความประทับใจแรก (first
                impression) และสะท้อนภาพลักษณ์ (image)
                ของร้าน
              – รูปแบบภายในร้าน-ต้องเน้นยำ่าถึงความ
                ประทับใจแรกที่ลูกค้าได้รับจากรูปแบบ
                ภายนอก
                                                                                          40
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การออกแบบภายนอกร้าน
        • การมองเห็นตัวร้าน (Store visibility) ทำาให้
          ลูกค้าเห็นตัวร้านและทำาให้รับรู้ถึงภาพลักษณ์
          (image) หรือเกิดการประทับใจแรก (first
            impression)
             – Setback-เป็นการวางตัวร้านให้ลึกจากถนนหรือ
               ทางเข้าออกเพื่อให้ลูกค้าเห็นตัวร้านโดยรวมได้
               ชัดเจนและยังทำาให้เห็นป้ายต่างๆรวมถึงของโชว์
               ตามหน้าต่าง (window display)
             – Angle-มุมของร้านควรจะหันให้ร้านทำามุมกับถนน
               ให้สามารถเห็นร้านได้มากทีสุดเพือทีทำาให้
                                           ่     ่ ่
               attract ลูกค้า
             – Elevation-การวางร้านให้สูงหรือตำ่ากว่าถนน ควร                              41
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การออกแบบภายนอกร้าน
         • หน้าร้าน (Store front) เป็นสิ่งที่ลูกค้าเห็น
           ก่อนเข้าร้านจำาให้เกิด impression ต่างๆ
              – การวางหน้าร้าน (Storefront configurations)
                   • แบบตรง (straight front) โดยมากจะวางขนาน
                     กับทางเดิน ทีจอดรถ หรือ ถนน จะไม่เน้นทาง
                                    ่
                     เข้าทำาให้พื้นทีภายในจะไม่สูญเสียไปมาก แต่
                                      ่
                     อาจไม่ดงดูดในเข้าไปในร้าน
                             ึ
                   • แบบมุม (angled front) เป็นการวางมุมของ
                     ผนังทำาให้รู้สึกว่าทางเข้าใหญ่ขึ้น รูปแบบนี้จะ
                     เน้นทางเข้าทำาให้ดงดูดลูกค้าได้ดี
                                         ึ
                   • แบบอาเขต (Arcade front)เป็นการแบ่ง                                   42
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
รูปแบบต่างของหน้าร้าน




                   Angled-front                        Straight-front




                  Arcade-front
      43
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การออกแบบภายนอกร้าน
         • หน้าร้าน (Store front) เป็นสิ่งที่ลูกค้าเห็น
           ก่อนเข้าร้านทำาให้เกิด impression ต่างๆ
              – การจัดแสดงหน้าต่าง (Window display)
                   • หน้าต่างเรียบพืน (wall window) หน้าต่างทีมี
                                    ้                         ่
                     ความสูงเท่าหนังหรือทำาหน้าทีเป็นผนัง
                                                 ่
                   • หน้าต่างยก (elevated window) โดยมากจะสูง
                     จากพื้น ความสูงขึ้นกับลักษณะสินค้า
                   • กล่องหน้าต่าง (shadow box window) ขนาด
                     เล็ก คล้ายกล่องในระดับสายตาเช่น jewelry
                     นาฬิกา
                   • เกาะหน้าต่าง (island window) เป็นเกาะคือ
                     สามารถเห็นได้ทง 4 ด้าน
                                      ั้                                                  44
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การออกแบบภายในร้าน
         • พื้นที่ไม่เกี่ยวกับการขาย (nonselling
             area)
              – แบบตรงกลาง (core approach)
              – แบบรอบตัว (peripheral approach)
              – แบบพ่วงติด (Annex approach)
         • พื้นที่ขาย (selling area)
              – แบบ grid
              – แบบทาง-วน (loop or racetrack)
              – แบบไร้รูปแบบ (Free form or boutique)
                                                                                          45
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
พืนทีไม่เกียวกับการขาย (nonselling
             ้ ่      ่
                                         area)
                                         Nonselling area
              Selling area
                                                                       Selling area
               Nonselling
               area                      Selling area

                                                                       Nonselling
              Selling area                                             area


        The core approach The peripheral approach The annex approach



      46
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การออกแบบภายในร้าน
        • พื้นที่ขาย (selling area)
                 – แบบ grid คือรูปแบบการจัดวางชั้นวาง (shelves)
                   ทางเดิน (aisles) ขนานกัน และโดยมากแคชเชียร์
                   คิดเงินจะรวมกันในทางออก รูปแบบนี้จะเป็น
                   พวก ซูเปอร์มาร์เกต 7-11 homemart
                 – ข้อดี การใช้และบริหารพืนทีมีประสิทธิภาพ,
                                                     ้ ่
                   สะดวกและง่ายในการเดินของลูกค้า, การจัด
                   วางแผนการวางสินค้าทำาได้มีประสิทธิภาพ,
                   ประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่องอุปกรณ์ตลอดจนง่าย
                   ต่อการเปลี่ยนรูปแบบ
                 – หัวท้ายแถว โดยมากจะเป็นพืนทีทจัดวางสินค้าที่
                                                          ้ ่ ี่
                   ต้องการส่สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริหPh.D.อสินค้าโฆณา Business Adminis
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ
    ุ                         ©
                                  งเสริมการขาย หรื Graduate School of
                                     Viput Ongsakul, ารศาสตร์
                                                                                47
พื้นทีขายและการจัดวางแบบ grid
                   ่
                                      เนื้อสัตว์                                                      ผักสด


                            : ยน มน




                                                                                                                                              ง ่อลกม น ฟแา ก
                               เ
                            ี่ ร ดเ




                                                                                                ะ รำา ชษา ดะ ร ก
                                                                 ้ง หแรา หา อ

                                                                                ว ี่ยค บคม นข
                                           ง ๋อ ปะ ร กง ื่อร ค
                                                             เ




                                                                                                                                                                กอร ้กสไ
                                                                                                                   ดา อะ สมาว คำา ทา ยำ้า น
                            เหล้า
                                                                                     เ
                            เบียร์
                                                                 แคสเชียร์                                                               หัวแถว


                           ทางเข้าออก                                                                                            ทางเข้าออก


                                      รูปแบบของซูเปอร์มาร์เกต                                                                                                              48
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การออกแบบภายในร้าน
         • พื้นที่ขาย (selling area)
              – แบบทางวน (loop or racetrack) ทางเข้าออก
                อาจมีหลายทาง ลูกค้าสามารถเดินวนเพื่อ
                เลือกซื้อสินค้า รูปแบบนี้ใช้กันมากในพวก
                ห้างสรรพสินค้า ร้านเครื่องกีฬา
              – แบบไร้รูปแบบ (Free form or boutique) การ
                จัดแบบไม่สมดุล ตามลักษณะแฟชัน ความ่
                สวยงาม สะดุดสายตา เช่นร้านเสื้อผ้า
                เครื่องประดับ
                                                                                          49
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
พืนทีขายและการจัดวางแบบทาง-วนและ
        ้ ่
                แบบไร้รูปแบบ
        กระเป๋าเดินทาง เครื่องกีฬา
                                                      ที่เก็บสินค้า        ห้องลองเสื้อ

                  เครื่อง         กระเป๋า
       รองเท้า    -หนังเสื้อผ้าชาย
                                                          ถุงเท้า แคชเชียร์ สูท




                                                                                    ง ก งา ก
                                                 นใ นช
                                                    ั้




                                                                                       เ
                 เสื้อผ้า                                   หมวก clearance ่องประดับ
                                                                        เครื
        ขนม                       Jewelry
                 เด็กเสื้อผ้าหญิง
                                                 ์ ส นย    เข็มขัด       เนคไท




                                                                                        เ เ
                                                                                    ิ้ต ช ื้อส
                           เครื่องสำาอาง
                                                     ี

                                               หน้าต่างโชว์สินค้า      หน้าต่างโชว์สินค้า

         รูปแบบของห้างสรรพสินค้า                     รูปแบบของร้านเสื้อผ้าชาย                    50

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
แผนภาพสินค้า planogram
         • แผนภาพสินค้า (planogram) แสดงรายละเอียด
           ของการจัดแบ่งพื้นที่และจัดวางสินค้าในชั้น
           วาง
              –   กำาไรต่อชิ้นของสินค้า
              –   อัตราการหมุนเวียนสินค้า
              –   ความใหม่หรือฤดูกาลของสินค้า
              –   ความนิยมของสินค้า
              –   ขนาดของสินค้า-ความสูง, และการกินพืนที่
                                                    ้
              –   สีสันและรูปทรงของสินค้า

                                                                                          51
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
แผนภาพสินค้า planogram
         • ทั้งนี้การจัดทำาแผนภาพสินค้า (planogram)
           ประกอบด้วยรายงานต่อไปนี้
         • รายงาน productivity ในแต่ละ SKU เทียบกับ sales
             history
            โดยดูจาก sales per square foot
         • รายงาน ABC analysis โดยกฎของ 80/20
         • รายงานการใช้พนที่ (utilization report) ถึงพืนที่ที่
                            ื้                         ้
           เหลือ
         • รายงานการเปรียบเทียบการใช้พนที่ (comparison
                                            ื้
             report)
                                                                                          52
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
แผนภาพสินค้า planogram
           การจัดเรียงสินค้าของพวก hardware store




                                                              การจัดเรียงสินค้าของโชห่ว


      53
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การจัดเรียงสินค้า
        • การจัดเรียงสินค้าควรทำาในทิศทางเดียวกับ
          ภาพลักษณ์ของร้าน (store image)
        • การจัดเรียงต้องคำานึงถึงลักษณะธรรมชาติ
          ของสินค้าที่ทำาให้ลูกค้าหยิบจับได้ง่าย
        • ทั้งนี้การจัดเรียงสินค้ามีหลากหลายวิธีการ
             – Style/item presentation วิธีการที่พบบ่อยทีสุดโดย
                                                         ่
               การจัดสินค้าประเภทเดียวกันไว้ด้วยกัน
             – Color presentation โดยโทนสีเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน
             – Pricing lining โดยการกลุมสินค้าตามราคาใกล้กันเอาไว้
                                       ่
               ด้วยกัน
                                                                                          54
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การจัดเรียงสินค้า
        • ทั้งนี้การจัดเรียงสินค้ามีหลากหลายวิธีการ
          – Vertical merchandising โดยการจัดเรียง
              สินค้าตามธรรมชาติของการเคลื่อนไหว
              ของสายตามนุษย์ เช่นเอาสินค้ากำาไรดีไว้
              ในระดับสายตา กำาไรน้อยลงไปไกล
              สายตามากขึ้นเช่นจัดไว้ข้างล่างจากไล่
              จากบนลงล่าง
          – Tonnage merchandising การจัดเรียงโดย
              สินค้าตัวเดียวจำานวนมากๆจัดไว้ด้วยกัน
              ซึ่งลูกค้าจะรู้สึกดีว่าร้านขายดี                                            55
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
การวางกลยุทธ์ของร้านยา




                                                                                          56

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ความคิด ของผูบ ริห ารในการ
                                ้
                            แข่ง ขัน




      • The worst error in strategy is to compete with rivals on the same dimensions
    ความผิดพลาด ร้ายแรงที่สุดในกลยุทธ์ คือการแข่งขันกับคู่แข่งในมิติ
                                เดียวกัน
   ชัยชนะของการแข่งขันที่แท้จริง คือ การที่มีผลประกอบการที่เป็นเลิศใน

                             องค์กรของเราคือ        กำาไร
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
กำาไรของบริษัทในเชิงกลยุทธ์

     • กำาไรของบริษัทในเชิงกลยุทธ์ขึ้นอยู่กับ
          – โครงสร้างอุตสาหกรรม ที่บริษทอยู่ โดย ทำาให้ทราบ
                                         ั
            ผู้ทได้รับประโยชน์จาก มูลค่า ทีอุตสาหกรรม สร้าง
                ี่                         ่
            และ การแบ่งมูลค่าระหว่างผู้เล่นในอุตสาหกรรม
          – ตำาแหน่งทีตั้งในอุตสาหกรรม ที่ส่งผลต่อ ต้นทุน และ
                       ่
            ราคา ของสินค้าหรือบริการของบริษัท-กำาไรของ
            บริษัท



                                                                                          58
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
โครงสร้างอุตสาหกรรม                         (Industry structure)
         โครงสร้างอุตสาหกรรมเป็นตัวบอกถึงผลการ
         ดำาเนินการโดยเฉลี่ย ของบริษัทที่อยู่ใน
         อุตสาหกรรมนั้น อุปสรรค
                                    ของผู้มาราย
                                       ใหม่


             อำานาจต่อ                  การ                   อำานาจต่อ
             รองของผู้               แข่งขันใน                รองของผู้
                ผลิต                   ตลาด                    บริโภค


                                        สินค้า
                                       ทดแทน
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ผู้เล่นในอุตสาหกรรมแข่งขันเพือ
                                           ่
                       กำาไรเชิงกลยุทธ์
     • การแข่งขันเพื่อหวังผลกำาไรมีความซับซ้อนมาก
       ขึ้น
     • เป็นการต่อสูที่เกี่ยวข้องกับผู้เล่นหลายราย
                     ้
     • Firm แข่งขันกับคูแข่ง เพื่อหวังผลกำาไร
                            ่
     • Firm ยังมีสวนร่วมในการแข่งขันกับลูกค้าเพื่อ
                   ่
       หวังผลกำาไร โดยลูกค้าจะยินดีมากขึ้นเมื่อจ่าย
       น้อยและได้มากขึ้น
     • Firm แข่งขันกับ Suppliers โดยSuppliersจะ
       ยินดีมากขึ้น เมื่อได้เงินเพิ่มและส่งมอบลดลง
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ผู้เล่นในอุตสาหกรรมแข่งขันเพื่อกำาไร
                       เชิงกลยุทธ์
     • Firm แข่งขันกับผูผลิต ผู้ซึ่งผลิตสินค้ามากมายที่
                          ้
       อาจกลายเป็นสินค้าทดแทนของผลิตภัณฑ์
       Firmได้
     • Firm แข่งขันกับคูแข่งที่มีศักยภาพ ผูซึ่งจะเข้ามา
                        ่                   ้
       ในอุตสาหกรรม อันเนื่องมาจากความน่าดึงดูดใจ




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ตำาแหน่งในอุตสาหกรรม                           (Relative Position)


      • การเลือกตำาแหน่งที่ถกต้องจะเป็นผลทำาให้เป็นผู้ที่เหนือ
                            ู
        กว่าค่าเฉลี่ยในอุตสาหกรรมนันๆ
                                    ้
      • ถ้าตำาแหน่งทีถกต้องนำามาซึง ผลกำาไรที่เหนือจากค่า
                      ่ ู         ่
        เฉลี่ย ย่อมหมายถึงมีความได้เปรียบในการแข่งขัน
         (competitive advantage)




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
of Competitive Advantage
 (ปัจ จัย ที่ส ่ง ผลต่อ ผลประกอบการเชิง เปรีย บเทีย บ )                      (รูป แบบ
 ของความได้เ ปรีย บในการแข่ง ขัน )



           Differentiation                                  ความได้
     เปรีย บด้า นราคา                                Value Proposition
        (ราคาสูง ขึ้น )


            ความได้เ ปรีย บ                                            ความได้
      เปรีย บ                                 Superior Performance
                 ในการแข่ง ขัน                                            ในการ
      แข่ง ขัน                                                      (กำา ไร)
                                                                     (ความได้เ ปรีย บ
    ุ
      ด้า นกำา ไร)
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
                                  ©    Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Value Proposition, Value Chain,
                Strategy
           • Value Proposition (ข้อเสนอคุณค่า) เป็น
               องค์ประกอบของกลยุทธ์ที่มองฝังอุปสงค์ของ             ่
               ธุรกิจ (Demand side)
           • Value chain (สายโซ่คณค่า) เป็นการมุ่ง      ุ
               เน้นด้านการปฏิบติการ (operations) โดย
                                            ั
               มองฝั่งอุปทานของธุรกิจ (Supply side)
           • Strategy (กลยุทธ์) เป็นตัวเชือมรวมเข้าด้วย          ่
               กัน โดยเชื่อมระหว่างอุปสงค์และอุปทานเข้า
               ด้วยกัน
           • กลยุทธ์ ในการแข่งขัน หมายถึง การเลือก
วิพ ธ อ่อ งสกุลกิจกรรมที่ทำาให้ เกิOngsakul,ห ารศาสตร์ างเพื่อที่จะส่ง Adminis
    ุ           คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิดความแตกต่
                                ©      Viput ต พัฒ นบริ Ph.D. Graduate School of Business
กลยุทธ์ในการแข่งขัน (Competitive
                                        Strategy)



                                                      Competitive
                                                        Strategy
                                                       กลยุทธ์               Value
                                                       ในการ               Proposition
                                                       แข่งขัน




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Value Proposition
 • MK Suki: Family and healthy self made food
 • MK Suki : การทำาอาหารร่วมกันในครอบครัวและสุขภาพ


 • Starbucks: Experience around the consumption of coffee
 • Starbucks :                  เปิดประสบการณ์ในการดืมกาแฟ
                                                     ่



 • Major Cineplex: Luxury entertaining at sensible price
 • Major Cineplex : ความบันเทิงทีหรูหราในราคาทีสม
                                 ่             ่
    ุ
     เหตุผล
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
                                     © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Value Proposition
 • Air Asia: Low fares and convenience (competing with the bus service)
 • Air Asia :      สายการบินราคาถูกและสะดวกสบายในการ
     เดินทาง (แข่งขันกับ รถไฟ รถบขส)




 • IKEA: Great functional design at rock bottom price
 • IKEA : เฟอร์นิเจอร์ที่มีแบบการใช้งานที่ดีเยี่ยมใน
   ราคาตำ่าสุด

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ห่วงโซ่คณค่าโดยทั่วไป
                   ุ
      • การได้เปรียบในการแข่งขันขึ้นอยูกับห่วงโซ่คุณค่า
                                       ่




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
กลยุทธ์ในการแข่งขัน (Competitive
                                         Strategy)
                                                                      ข้อ
                                                                    เสนอ
                                                                    คุณค่า




                                                                      ข้อ
                                                                    เสนอ
                                                                    คุณค่า


    • การแข่งขันในธุรกิจเกี่ยวข้องกับการดำาเนินกิจกรรมที่แตกต่างกันและส่งผลต่อ
    การได้เปรียบในการแข่งขัน
    • ห่วงโซ่คุณค่าในแต่ละธุรกิควรจมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่เหมือนใคร
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Competing Regionally and Globally
      • Selling in many nations


   • Locating activities in different nations

• Coordinating a regional or global network




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ระบบกิจกรรม (Activity System)
     ไม่มการเสริฟ
         ี                                                                ไมมีการส่งต่อ
        อาหาร                                                               กระเป๋า       ไม่เชื่อมบริการกับ
                       ไม่มีทนั่ง
                             ี่            การจำากัดการ                                    สายการบินอืน  ่
                                              บริการ


      ตารางการบิน                                                                          เส้นทางสั้น
                                                  ไม่ใช่บริการ
       ที่ถีและตรง                               ผู้แทนจำาหน่าย                           และบินแบบจุด
            เวลา                    30 นาทีใน                     เครื่องบินมาตรฐาน
                                                                                              ต่อจุด
                                การเปลี่ยนเทียว
                                             ่                          แบบเดียว

                                                การออกตัวผ่าน
                                                        ๋
                                                ระบบอัตโนมัต

   จ้างแรงงาน
                การดำาเนินการ                                          ราคาตั๋วที่
       แพง       ภาคพืนดินที่
                       ้                                                ถูกมาก             สายการบิน
                   รวดเร็ว    การใช้เครื่องบิน                                            ใครๆก็บินได้
                                 ให้คุ้มค่า
วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
งานคิดกลุม
                                             ่
        • ให้ลองออกแบบข้อ เสนอคุณ ค่า (value
          proposition) ของสมาคม
        • กิจกรรมในการตอบสนอง ข้อเสนอคุณค่า
          และความเชือมโยงของกิจกรรมเหล่านัน มีได้
                     ่                     ้
          อย่างไร ให้เขียนใน ระบบกิจกรรม (Activity
          System)




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
ระบบกิจกรรม (Activity System)




วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
Thanks!

     Questions?




                                                                                          74

วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์
    ุ                                © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคUsableLabs
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่Utai Sukviwatsirikul
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อเรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อsupatra39
 
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าการออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าBoohsapun Thopkuntho
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการSomyot Ongkhluap
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 

Tendances (20)

Ch8 Sales Promotion
Ch8 Sales Promotion Ch8 Sales Promotion
Ch8 Sales Promotion
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภคการส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
การส่งเสริมการขายที่มุ่งสู่ผู้บริโภค
 
Brand equity 2
Brand equity 2Brand equity 2
Brand equity 2
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
 
Ch7-personal selling
Ch7-personal sellingCh7-personal selling
Ch7-personal selling
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อเรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้าการออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
การออกแบบ และ ตกแต่งร้านค้า
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
swot
swotswot
swot
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการพื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
พื้นฐานของการบริการที่ดี และมาตรฐานการให้บริการ
 
Purchasing merchandise
Purchasing merchandisePurchasing merchandise
Purchasing merchandise
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 

Similaire à การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล

Business concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsBusiness concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsUtai Sukviwatsirikul
 
Strategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viputStrategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viputUtai Sukviwatsirikul
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Love Plukkie Zaa
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityDenpong Soodphakdee
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]kvlovelove
 
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...ssuseracfe91
 

Similaire à การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล (20)

Business concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperationsBusiness concept competition and cooperations
Business concept competition and cooperations
 
Strategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viputStrategic management drugstore by dr. viput
Strategic management drugstore by dr. viput
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
Mr.APISIT UPAKIT
Mr.APISIT UPAKITMr.APISIT UPAKIT
Mr.APISIT UPAKIT
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
Unicharm (Thailand)
Unicharm (Thailand) Unicharm (Thailand)
Unicharm (Thailand)
 
Uni-Charm
Uni-CharmUni-Charm
Uni-Charm
 
Organization intelligence2
Organization intelligence2Organization intelligence2
Organization intelligence2
 
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
รายงาน บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
Library Branding with ICT
Library Branding with ICTLibrary Branding with ICT
Library Branding with ICT
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base University
 
03 tele sales process
03 tele sales process03 tele sales process
03 tele sales process
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
marketing for non marketeer
marketing for non marketeermarketing for non marketeer
marketing for non marketeer
 
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การจัดการพื้นที่ร้านและMerchandise Management by ผศ.ดร.วิพุธ อ่องสกุล

  • 1. การจัดการพื้นที่ร้านและ การทำา Merchandise Management ผศ.ดร.วิพธ อ่องสกุล ุ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 1 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 2. ผศ.ดร.วิพ ธ อ่อ ง ุ สกุล งปัจจุบัน ตำาแหน่ - ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายประกันคุณภาพ - ผู้อำานวยการหลักสูตร Ph.D. in Finance - ผู้ประสานงานภาควิชาการบริหารการปฏิบัติการ -ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำาคณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ การศึก ษา: December 2001 ปริญญาเอก Industrial Engineering จาก Texas Tech University, Lubbock, TX, USA August 1998 ปริญญาโท Industrial Engineering จาก Texas Tech University, Lubbock, TX, USA อาจารย์ร ับ เชิญ March 1996 ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหการ จากจุฬาลงกรณ์ ยธรรมศาสตร์ สถาบันทยาลัย มหาวิทยาลั มหาวิ พระปกเกล้า วิทยาลัยมหาดไทย กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร มหาวิทยาลัย นเรศวร มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยบูรพา วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง นบริห ารศาสตร์ ุ ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ มหาวิทยาลัยนานาชาStampford © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 3. ประวัติการศึกษาและการเข้าอบรม การเข้า อบรม: Instructor (วิทยากร) December 2011 Microeconomics of Competitiveness Affiliate Faculty Workshop, Harvard Business School, Harvard University, Boston, Massachusetts, USA October 2010 Executive Leadership Program, Wharton School of Business, University of Pennsylvania, Philadelphia, Pennsylvania, USA August 2009 Thailand Spectrum Auctions Masterclass by Policy Tracker and Holios organized by Thailand’s National Communication Commissions. October 2008 Case Research and Writing Workshop by Prof. Dr. Clifford E. Darden, The Graziadio School of Business and Management, Pepperdine University January 2008 Toyota Talent: The Secret of Toyota’s amazing success and how you can make it a reality in your company seminar by วิพ ธ อ่อ งสกุP.คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ David ล Meier, the coauthor of © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business : Toyota Talent Adminis
  • 4. ประสบการณ์ก ารเป็น วิท ยากร •Yum!, General Motor, Bayer, Acer, Auto Alliance, Citi Bank Group, ธนาคารกสิกร, Hitachi Global Storage Technologies, BSH Home Appliances, Office Mate, บางจาก, PTT , NEC, MFC, CPN, เมืองไทยประกันชีวิต, สหยูเนี่ยน, Panasonic, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Premier Marketing, Star Micro, ปูนซิเมนต์ไทย, กรุงเทพประกันชีวิต, Alan Dick, EEI, ไทยศรีประกันภัย, กรุงเทพโทรทัศน์ (ช่อง 7), สถาบันเพิ่ม ประสบการในการให้ค ำา ปรึก ษา ผลผลิต, การไฟฟ้านครหลวง, การไฟฟ้าฝ่ายผลิต, กรุงศรีออโต้, ปตท, •สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, รางวัลคุณภาพการให้ โรงงานยาสูบ, Team Consulting, ธอส, แพนด้าจิวเวอร์รี่, กทช, นำ้า บริการประชาชน, Doing Business (world bank), UN Public ประปาไทย, ขนส่งนำ้ามันทางท่อ, บางจาก, GreenSpot service award ตั้งแต่ปี 2003-Present •คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช), 3G Evaluation Project ปี 2010 •Thai Storage Batteries (3K Batt) in TQM Project ปี 2009 •ปตท, Business Plan for Lubrication Business Project, 2008 •โรงงานยาสูบ, Customer Survey Project, 2007-2008 วิพ ธ •ไปรษณีย์ไทย, Organizationพัฒ นบริห ารศาสตร์ Project, of Business Adminis ุ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต Restructure © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School 2006
  • 5. ระบบการขาย • ระบบการขายแบบผลัก (Push sale system) • ระบบการขายแบบดึง (Pull sale system) 5 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 6. Pull Sale System หรือ Push Sale System สำาหรับร้านขายยา 6 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 7. Category 3,000-5,000 SKU (Stock Keeping Unit) วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 8. 7-11 เลือกสินค้า • เลือ กขายสิน ค้า ทีข ายดีเ ป็น ่ ทีน ย มของตลาด ่ ิ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ปีที่ 34 ฉบับที่ • ขนาดของสิน ค้า ทีข ายต้อ ง ่ 4239 ประชาชาติธุรกิจ เหมาะสมกับ ประเภทของ ร้า นค้า • 7-11 เลือ ก top 3 brands  top 3 มี Market share รวมกัน เกิน วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 9. การวัดพื้นที่การจัดเรียงสินค้า Share of Shelf (SOS) คือ สัดส่วนพื้นที่ในร้านค้าของสินค้าบนชันวางสินค้า ้ ในกลุ่มผลิตภัณฑ์เดียวกัน Share of Market (SOM) คือ สัดส่วนการขายในตลาด การบริหารพื้นที่สินค้าที่เหมาะสมจะต้องมี SOS = SOM SOS SOM วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 10. จัดเรียงดี จัดเรียงแบบ แบรนด์บล็อก วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 11. Plan – O - Gram Product Name Price Size Printed Date PMA Product Ranking Face Product Life Core Product Shelf No. Detail วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 12. การจัด เรีย งตาม Plan-o- 1.ชื่อ 11. ราคา และ gram สิน ค้า หน่ว ยราคา 2. ขนาด 10. วัน ที่ บรรจุ พิม พ์ 9. สัญ ลัก ษณ์ 3. รหัส สิน ค้า สิน ค้า TOP 4. อายุ T1 คือ สิน ค้า TOP 1-300 T2 คือ สิน ค้า TOP 301-550 สิน ค้า 5. สถานะ 8. จำา นวน สิน ค้า แถวสิน ค้า C คือ บัง คับ ขาย 7. ชั้น วาง ที่/สิน ค้า ตัว 6. เลขที่ N คือ New products ที่/จำา นวน Shelf/รูป แบบ SKU ที่ว าง Shelf วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 13. รหัส สิน ค้า PMA ( Product Movement Analysis ) 4100151 Product Number Product Categories (PMA) วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 14. PMA ( Product Movement Analysis ) คือ การกำา หนดหมวดหมู่ ของสิน ค้า วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 15. PMA ( Product Movement Analysis ) ประเภทของสิน ค้า ที่ข ายในร้า น 7-eleven ประเภทของสิน ค้า ที่ข ายในร้า น 7-eleven Food ServiceBeverage Process Food Non Food Non Food Non Food SI Drink Alcohol Confectionary Personal Care Cigarette Premium 05 SI Drink 10 Alcoholic 40 Confectionary 50 Personal Care 12 Import Cigarette National Seasonal 37 SI Food 11 Liquor Snacks Variety 72 Thai Cigarette License 04 Sweet Service Dairy 41 Snacks 09 Value Card 67 Go Game 22 Fresh Food 29 UHT Milk Grocery 13 Phone Card 90 Promotion Premium 23 SI Food 30 Pasteurized Milk Staple 32 26 Service Fast Food Soft Drink 33 Noodle 27 7 Top up 20 Frozen Lunch Box 38 Non CSD 34 Instant Power Drink House Ware 51 21 Chilled 42 CSD 56 Battery & Film 24 Warmed Food 45 Ice 68 Toys 28 หนังสือ 25 Bakery Service 49 Power Drink 69 Service Card 86 นิตยสาร 78 Basket 71 ERS 52 เครื่องเขียน Bakery & ICE Cream 74 Charity 39 Entertainment cat 01 หนัง 44 Ice Cream Novelties 89 Catalog on shelf 60 Package Bakery Household cat 02 เพลง 61 Sandwich Bread 54 Sanitary cat 03 สือสารเรียน ่ การสอน วิ63 ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริHouse Hold พ ุ Thai Snack 55 © Viput Ongsakul,ห ารศาสตร์ Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 16. Shelf Inventory • Days of Supply (DOS) จำานวนวันที่สินค้าบนชั้นวางจะหมดลง DOS = จำานวนสินค้าบนชั้นวาง จำานวนที่ขายต่อวัน วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 17. ตัวอย่างการใช้: Days of Supply Gatorade Orange 2L. การจัด เรีย งในชัน วางอยู่ไ ด้ก ี่ว ัน ้ (DOS)? ค่าเฉลี่ยการขายต่อสัปดาห์ (Average weekly movement) = 4.6 ขาแนวนอน (Horizontal Facings) = 3, ลึก (Depth Facing) =6 จำานวนบนชั้นวาง= 3*6 = 18 ขวด วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 18. ตัวอย่างการใช้: Days of Supply Space allocation การเปรียบเทียบสินค้าคงคลังโดยการใช้DOS สิน ค้า Capacity Movement DOS (จำานวน) (จำานวน/วัน) Brand A 10 10 1 Brand B 10 5 2 Brand C 10 1 10 Brand D 10 2 5 Brand E 10 2 5 Retailer Brand 10 7 1.4 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 19. ตัวอย่างการใช้: Days of Supply Space allocation การใช้นโยบายการบริหารสินค้าคงคลังด้วย 5 DOS สินค้า Capacity Movement DOS (จำานวน) (จำานวน/วัน) Brand A 50 10 5 Brand B 25 5 5 Brand C 10 1 10 Brand D 10 2 5 Brand E 10 2 5 Retailer Brand 35 7 5 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 20. ปัญหาของค่าเฉลีย ่ SD 50% 20 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 21. ระดับการให้บริการ service level SD=50 =100 Stock=100, SL= Stock=150, SL= Stock=200,SL= Stock=250,SL= Service level=1-stock out 21 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 22. การแก้ปญหาด้วย Inventory Position ั • Critical ratio = กำาไร สมมุติ กำาไร 24 บาท ขาดทุน 8 = 24 =75% ขาดทุน+กำาไร 8+24 Average Recommend order 75% = (0.6745xSD)+Average จาก Z = X-Average 0.6745 SD Ex. 300+(0.6745x227) = 453.11 กล่อง วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 23. Critical Ratio Average Service Level = 75% Stock out level=25% Service Level Agreement=SLA 75% ข้อตกลงระดับการให้บริการ หรือ S คำานวนมาจาก Critical Ratioของลูก 0.6745 โดยแนวโน้ม ลุกค้าจะทำาระบบ VM ส่งผลให้ MC~0 ทำาให้ Ratio~1 หรือ SLA~100% 23 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 24. ระดับการให้บริการ service level SD=25 SD=50 =100 ที่ Stock=150 SL ของรูปใหญ่= SL ของรูปเล็ก = ที่ SL= 99.85%, Stock ของรูปใหญ่ = Stock ของรูปเล็ก = 24 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 25. การวัดความสันไหวความต้องการ ่ SD CV= 25 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 26. การวัดความสันไหวความต้องการ ่ • ปัญหาการสันไหวของความต้องการกับการแก้ ่ ปัญหาด้วย สินค้าคงคลัง Mean = 300 กล่อง Standard Dev. = 227 กล่อง CV = STD/Mean = 0.75 avg. ถ้า CV มากกว่า 0.5 เกิด Demand Fluctuation 26 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 27. การวัดความสันไหวความต้องการ ่ SD=25 SD=50 =100 CV= CV=? ลด SD โดย คงที่เป็นไปได้ยาก ลด จะเกิดอะไรขึ้นกับ SD เพิ่ม จะเกิดอะไรขึ้นกับ SD 27 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 28. การแตกตัวของตลาด (Market Fragmentation) • ตลาดแตกตัว  • สินค้าใหม่ในแต่ละกลุ่ม  • รายการสินค้า SKUมากขึ้น • ปริมาณความต้องการแต่ละกลุ่มน้อยลง แต่ภาพ รวมเพิ่มขึ้น • CV สูงขี้นในแต่ละ fragment 28 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 29. รายการสินค้า (SKU) กับความสันไหวของ ่ ความต้องการ • การสันไหวของความต้องการ ที่เกิดจากความหลาก ่ หลายของรายการสินค้า สินค้า 5 ดั่งเดิม ปูอด ั พริกเผา พริกไทยดำา รสชาติ สาหร่าย x ขนาด 50g 100g 150g 200g 4 x แบบซอง 4 x ของแถม 5 = 300SKU 29 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 30. การแตกตัวของตลาด (Market Fragmentation) รายการสินค้า SKUมากขึ้น ปริมาณความต้องการแต่ละกลุ่ม น้อยลง แต่ภาพรวมเพิ่มขึ้นCV สูงขี้นในแต่ละ fragment 26 28 30 32 34 6 8 10 12 14 6 8 10 12 14 6 8 10 12 14 30 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 31. รายการสินค้า (SKU-Stock Keeping Unit) การจัดการรายการสินค้า: Category Management รายการ ยอดขาย 20 80 Category ขายดี: Fast Moving 80 20 ขายปานกลางและตำ่า: Slow Moving วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 32. ความสั่นไหวของ ความต้องการกับวงจร ชีวิตผลิตภัณฑ์ 32 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 33. คำาตอบ • ร้านจะได้ประโยชน์สงสุด เมื่อใช้ระบบ Push/Pull ู พร้อมกัน • กลยุทธ์ที่จะใช้ Push/Pull คือ การเพิ่ม Turn Over หรือยอดขายให้สูงขึ้น • การเพิ่มยอดขายคือการเพิ่ม SKU ในร้านให้สูง ขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสการทำา Cross sales 33 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 34. การออกแบบร้าน 34 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 35. กลยุทธ์ในการออกแบบร้าน • การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere) – จับจ่ายด้วยความสุข (shopping enjoyment) – ใช้เวลาในการดูและเลือกสินค้า (time spending) – เต็มใจทีจะพูดคุยกับพนักงานขาย (willingly ่ talking) – จับจ่ายมากกว่าทีวางแผนไว้ (unplanned spending) ่ – กลับมาใช้บริการอีก (return to store) • ทั้งนี้การสร้างบรรยากาศเกี่ยวเนื่องไปกับการ รับรู้สื่อสัมผัสของลูกค้าไม่ว่า แสง เสียง กลิ่น การสัมผัส 35 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 36. การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere) • การมองเห็น (sight appeal) เป็นสื่อในการสร้าง บรรยากาศที่ส ำา คัญ ที่สุดเกี่ยวข้องอยู่กับ ขนาด (size) รูปร่าง (shape) สี (color) – ขนาด (size)-ลูกค้าจำานวนมากมันใจในขนาดของ ่ ร้านทีใหญ่กว่า เพราะร้านใหญ่นาจะมี บริการทีมา ่ ่ ่ กกว่า สินค้าให้เลือกมากกว่า สินค้าที่มคุณภาพดี ี กว่า ราคาทีถูกกว่า แต่ร้านค้าขนาดเล็กกว่าลูกค้า ่ จะมองว่า ให้บริการทีเป็นกันเองมากกว่า ราคาต่อ ่ รองได้ – รูปร่าง/รูปทรง (shape)-ทรงสูง (vertical )ให้ความ รู้สึกแข็งกร่างมันคงเป็นการเน้นยำ่า ฉะนั้นจะใช้ ่ ทรงสูงเพือเป็นการเน้นยำ่าสินค้าลูกค้าจะเลือก ่ 36 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 37. การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere) • การมองเห็น (sight appeal) เป็นสื่อในการสร้าง บรรยากาศที่ส ำา คัญ ที่สุดเกี่ยวข้องอยู่กับ ขนาด (size) รูปร่าง (shape) สี (color) – สี (color) เป็นสิ่งทีสะดุดสายตามากทีสุด คุณสมบัติ ่ ่ ของสีในทางจิตวิทยาแบ่งเป็น hue, value, intensity – Hue-แบ่งเป็นโทนอบอุ่น (warm) ประกอบด้วย แดง เหลือง ส้ม จะให้ความรู้สึกอบอุ่นสบาย กันเอง ส่วนโทนเย็น (cool) ประกอบด้วย ฟ้า เขียว ม่วง จะ ให้ความรู้สึก เป็นทางการ ห่างไกล เย็น – Value-แบ่งเป็นเข้ม (darkness) อ่อน (lightness) สีอ่อน ทำาให้ห้องหรือสินค้าดูใหญ่ขึ้น – Intensity-แบ่งเป็นสว่าง (brightness) หม่น (dullness) สีหม่นดูอ่อนนุ่ม 37 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 38. การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere) • เสียง (sound appeal) เสียงอาจจะส่งเสริมหรือ ทำาลายบรรยากาศภายในร้านซึ่งแบ่งได้เป็น เสียงสองประเภท – เสียงทีควรหลีกเลี่ยง (sound avoidance) เสียงที่ ่ รบกวนหรือทำาลายบรรยากาศอาจเกิดจากภายใน หรือภายนอกร้าน ซึงเสียงเหล่านีต้องถูกควบคุม ่ ้ หรือขจัดให้หมดไป เช่นเสียงส้นสูงกระทบพืนแข็ง ้ เสียงหึงของแอร์ เจาะหรือซ่อมถนน เสียงก่อสร้าง ่ ต่างๆ หรือเสียงดนตรีจากร้านข้าง ทังนี้การซื้อ ้ สินค้าบางประเภทจะต้องใช้การนึกคิดหรือการ อ่านรายละเอียดสินค้า – เสียงพึงมี (sound creation) -การสร้างบรรยากาศเช่น การเปิดเพลงเบาๆ ตัวอย่าง การบินไทยเปิดเพลง 38 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต–ฒ นบริห ารศาสตร์ มูล School การ ุ ก่อนเครื่องร่อViput Ongsakul, Ph.D. Graduate เช่น of Business Adminis © นลง พัเสียงทีให้ข้อ่
  • 39. การสร้างบรรยากาศ (store atmosphere) • กลิ่น (scent appeal) ก็เป็นรูปแบบเดียวกับเสียง – กลิ่นที่ควรหลีกเลี่ยง (scent avoidance) เช่นกลิ่นอับ ชื้น กลิ่นนำ้ามันเครื่อง กลิ่นพลาสติก กลิ่นสารเคมี กลิ่นอาหาร ทังนีขึ้นอยู่กับระบบปรับอากาศ ระบาย ้ ้ อากาศของร้าน – กลิ่นพึงมี (scent creation) –กลิ่นสร้างบรรยากาศ เช่น-ซูเปอร์มาร์เกต มีกลิ่นหอมของกาแฟ เบเกอรี่ ทำาให้บรรยากาศดีตั้งแต่เริ่มเข้าร้าน -ร้านขายยา โรงพยาบาล กลิ่นสะอาดหรือยาฆ่าเชื้อ • สัมผัส (touch) โดยมากจะหลีกเลี่ยงการให้ ลูกค้าสัมผัสสินค้าเนื่องจากอาจเกิดความเสีย หายต่อความใหม่ของสินค้า อาจมีทางเลือก โดยการตั้งสินค้าตัวอย่างให้ลูกค้าสัมผัส เช่น 39 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 40. กลยุทธ์ในการออกแบบร้าน • รูปแบบร้าน – รูปแบบภายนอก-เป็นการสื่อสารระหว่าง ร้านกับลูกค้าเป้าหมาย ทำาให้ทราบถึง ลักษณะและคุณภาพของร้าน และยังเป็น จุดสร้างความประทับใจแรก (first impression) และสะท้อนภาพลักษณ์ (image) ของร้าน – รูปแบบภายในร้าน-ต้องเน้นยำ่าถึงความ ประทับใจแรกที่ลูกค้าได้รับจากรูปแบบ ภายนอก 40 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 41. การออกแบบภายนอกร้าน • การมองเห็นตัวร้าน (Store visibility) ทำาให้ ลูกค้าเห็นตัวร้านและทำาให้รับรู้ถึงภาพลักษณ์ (image) หรือเกิดการประทับใจแรก (first impression) – Setback-เป็นการวางตัวร้านให้ลึกจากถนนหรือ ทางเข้าออกเพื่อให้ลูกค้าเห็นตัวร้านโดยรวมได้ ชัดเจนและยังทำาให้เห็นป้ายต่างๆรวมถึงของโชว์ ตามหน้าต่าง (window display) – Angle-มุมของร้านควรจะหันให้ร้านทำามุมกับถนน ให้สามารถเห็นร้านได้มากทีสุดเพือทีทำาให้ ่ ่ ่ attract ลูกค้า – Elevation-การวางร้านให้สูงหรือตำ่ากว่าถนน ควร 41 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 42. การออกแบบภายนอกร้าน • หน้าร้าน (Store front) เป็นสิ่งที่ลูกค้าเห็น ก่อนเข้าร้านจำาให้เกิด impression ต่างๆ – การวางหน้าร้าน (Storefront configurations) • แบบตรง (straight front) โดยมากจะวางขนาน กับทางเดิน ทีจอดรถ หรือ ถนน จะไม่เน้นทาง ่ เข้าทำาให้พื้นทีภายในจะไม่สูญเสียไปมาก แต่ ่ อาจไม่ดงดูดในเข้าไปในร้าน ึ • แบบมุม (angled front) เป็นการวางมุมของ ผนังทำาให้รู้สึกว่าทางเข้าใหญ่ขึ้น รูปแบบนี้จะ เน้นทางเข้าทำาให้ดงดูดลูกค้าได้ดี ึ • แบบอาเขต (Arcade front)เป็นการแบ่ง 42 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 43. รูปแบบต่างของหน้าร้าน Angled-front Straight-front Arcade-front 43 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 44. การออกแบบภายนอกร้าน • หน้าร้าน (Store front) เป็นสิ่งที่ลูกค้าเห็น ก่อนเข้าร้านทำาให้เกิด impression ต่างๆ – การจัดแสดงหน้าต่าง (Window display) • หน้าต่างเรียบพืน (wall window) หน้าต่างทีมี ้ ่ ความสูงเท่าหนังหรือทำาหน้าทีเป็นผนัง ่ • หน้าต่างยก (elevated window) โดยมากจะสูง จากพื้น ความสูงขึ้นกับลักษณะสินค้า • กล่องหน้าต่าง (shadow box window) ขนาด เล็ก คล้ายกล่องในระดับสายตาเช่น jewelry นาฬิกา • เกาะหน้าต่าง (island window) เป็นเกาะคือ สามารถเห็นได้ทง 4 ด้าน ั้ 44 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 45. การออกแบบภายในร้าน • พื้นที่ไม่เกี่ยวกับการขาย (nonselling area) – แบบตรงกลาง (core approach) – แบบรอบตัว (peripheral approach) – แบบพ่วงติด (Annex approach) • พื้นที่ขาย (selling area) – แบบ grid – แบบทาง-วน (loop or racetrack) – แบบไร้รูปแบบ (Free form or boutique) 45 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 46. พืนทีไม่เกียวกับการขาย (nonselling ้ ่ ่ area) Nonselling area Selling area Selling area Nonselling area Selling area Nonselling Selling area area The core approach The peripheral approach The annex approach 46 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 47. การออกแบบภายในร้าน • พื้นที่ขาย (selling area) – แบบ grid คือรูปแบบการจัดวางชั้นวาง (shelves) ทางเดิน (aisles) ขนานกัน และโดยมากแคชเชียร์ คิดเงินจะรวมกันในทางออก รูปแบบนี้จะเป็น พวก ซูเปอร์มาร์เกต 7-11 homemart – ข้อดี การใช้และบริหารพืนทีมีประสิทธิภาพ, ้ ่ สะดวกและง่ายในการเดินของลูกค้า, การจัด วางแผนการวางสินค้าทำาได้มีประสิทธิภาพ, ประหยัดค่าใช้จ่ายในเรื่องอุปกรณ์ตลอดจนง่าย ต่อการเปลี่ยนรูปแบบ – หัวท้ายแถว โดยมากจะเป็นพืนทีทจัดวางสินค้าที่ ้ ่ ี่ ต้องการส่สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริหPh.D.อสินค้าโฆณา Business Adminis วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ ุ © งเสริมการขาย หรื Graduate School of Viput Ongsakul, ารศาสตร์ 47
  • 48. พื้นทีขายและการจัดวางแบบ grid ่ เนื้อสัตว์ ผักสด : ยน มน ง ่อลกม น ฟแา ก เ ี่ ร ดเ ะ รำา ชษา ดะ ร ก ้ง หแรา หา อ ว ี่ยค บคม นข ง ๋อ ปะ ร กง ื่อร ค เ กอร ้กสไ ดา อะ สมาว คำา ทา ยำ้า น เหล้า เ เบียร์ แคสเชียร์ หัวแถว ทางเข้าออก ทางเข้าออก รูปแบบของซูเปอร์มาร์เกต 48 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 49. การออกแบบภายในร้าน • พื้นที่ขาย (selling area) – แบบทางวน (loop or racetrack) ทางเข้าออก อาจมีหลายทาง ลูกค้าสามารถเดินวนเพื่อ เลือกซื้อสินค้า รูปแบบนี้ใช้กันมากในพวก ห้างสรรพสินค้า ร้านเครื่องกีฬา – แบบไร้รูปแบบ (Free form or boutique) การ จัดแบบไม่สมดุล ตามลักษณะแฟชัน ความ่ สวยงาม สะดุดสายตา เช่นร้านเสื้อผ้า เครื่องประดับ 49 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 50. พืนทีขายและการจัดวางแบบทาง-วนและ ้ ่ แบบไร้รูปแบบ กระเป๋าเดินทาง เครื่องกีฬา ที่เก็บสินค้า ห้องลองเสื้อ เครื่อง กระเป๋า รองเท้า -หนังเสื้อผ้าชาย ถุงเท้า แคชเชียร์ สูท ง ก งา ก นใ นช ั้ เ เสื้อผ้า หมวก clearance ่องประดับ เครื ขนม Jewelry เด็กเสื้อผ้าหญิง ์ ส นย เข็มขัด เนคไท เ เ ิ้ต ช ื้อส เครื่องสำาอาง ี หน้าต่างโชว์สินค้า หน้าต่างโชว์สินค้า รูปแบบของห้างสรรพสินค้า รูปแบบของร้านเสื้อผ้าชาย 50 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 51. แผนภาพสินค้า planogram • แผนภาพสินค้า (planogram) แสดงรายละเอียด ของการจัดแบ่งพื้นที่และจัดวางสินค้าในชั้น วาง – กำาไรต่อชิ้นของสินค้า – อัตราการหมุนเวียนสินค้า – ความใหม่หรือฤดูกาลของสินค้า – ความนิยมของสินค้า – ขนาดของสินค้า-ความสูง, และการกินพืนที่ ้ – สีสันและรูปทรงของสินค้า 51 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 52. แผนภาพสินค้า planogram • ทั้งนี้การจัดทำาแผนภาพสินค้า (planogram) ประกอบด้วยรายงานต่อไปนี้ • รายงาน productivity ในแต่ละ SKU เทียบกับ sales history โดยดูจาก sales per square foot • รายงาน ABC analysis โดยกฎของ 80/20 • รายงานการใช้พนที่ (utilization report) ถึงพืนที่ที่ ื้ ้ เหลือ • รายงานการเปรียบเทียบการใช้พนที่ (comparison ื้ report) 52 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 53. แผนภาพสินค้า planogram การจัดเรียงสินค้าของพวก hardware store การจัดเรียงสินค้าของโชห่ว 53 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 54. การจัดเรียงสินค้า • การจัดเรียงสินค้าควรทำาในทิศทางเดียวกับ ภาพลักษณ์ของร้าน (store image) • การจัดเรียงต้องคำานึงถึงลักษณะธรรมชาติ ของสินค้าที่ทำาให้ลูกค้าหยิบจับได้ง่าย • ทั้งนี้การจัดเรียงสินค้ามีหลากหลายวิธีการ – Style/item presentation วิธีการที่พบบ่อยทีสุดโดย ่ การจัดสินค้าประเภทเดียวกันไว้ด้วยกัน – Color presentation โดยโทนสีเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน – Pricing lining โดยการกลุมสินค้าตามราคาใกล้กันเอาไว้ ่ ด้วยกัน 54 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 55. การจัดเรียงสินค้า • ทั้งนี้การจัดเรียงสินค้ามีหลากหลายวิธีการ – Vertical merchandising โดยการจัดเรียง สินค้าตามธรรมชาติของการเคลื่อนไหว ของสายตามนุษย์ เช่นเอาสินค้ากำาไรดีไว้ ในระดับสายตา กำาไรน้อยลงไปไกล สายตามากขึ้นเช่นจัดไว้ข้างล่างจากไล่ จากบนลงล่าง – Tonnage merchandising การจัดเรียงโดย สินค้าตัวเดียวจำานวนมากๆจัดไว้ด้วยกัน ซึ่งลูกค้าจะรู้สึกดีว่าร้านขายดี 55 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 56. การวางกลยุทธ์ของร้านยา 56 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 57. ความคิด ของผูบ ริห ารในการ ้ แข่ง ขัน • The worst error in strategy is to compete with rivals on the same dimensions ความผิดพลาด ร้ายแรงที่สุดในกลยุทธ์ คือการแข่งขันกับคู่แข่งในมิติ เดียวกัน ชัยชนะของการแข่งขันที่แท้จริง คือ การที่มีผลประกอบการที่เป็นเลิศใน องค์กรของเราคือ กำาไร วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 58. กำาไรของบริษัทในเชิงกลยุทธ์ • กำาไรของบริษัทในเชิงกลยุทธ์ขึ้นอยู่กับ – โครงสร้างอุตสาหกรรม ที่บริษทอยู่ โดย ทำาให้ทราบ ั ผู้ทได้รับประโยชน์จาก มูลค่า ทีอุตสาหกรรม สร้าง ี่ ่ และ การแบ่งมูลค่าระหว่างผู้เล่นในอุตสาหกรรม – ตำาแหน่งทีตั้งในอุตสาหกรรม ที่ส่งผลต่อ ต้นทุน และ ่ ราคา ของสินค้าหรือบริการของบริษัท-กำาไรของ บริษัท 58 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 59. โครงสร้างอุตสาหกรรม (Industry structure) โครงสร้างอุตสาหกรรมเป็นตัวบอกถึงผลการ ดำาเนินการโดยเฉลี่ย ของบริษัทที่อยู่ใน อุตสาหกรรมนั้น อุปสรรค ของผู้มาราย ใหม่ อำานาจต่อ การ อำานาจต่อ รองของผู้ แข่งขันใน รองของผู้ ผลิต ตลาด บริโภค สินค้า ทดแทน วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 60. ผู้เล่นในอุตสาหกรรมแข่งขันเพือ ่ กำาไรเชิงกลยุทธ์ • การแข่งขันเพื่อหวังผลกำาไรมีความซับซ้อนมาก ขึ้น • เป็นการต่อสูที่เกี่ยวข้องกับผู้เล่นหลายราย ้ • Firm แข่งขันกับคูแข่ง เพื่อหวังผลกำาไร ่ • Firm ยังมีสวนร่วมในการแข่งขันกับลูกค้าเพื่อ ่ หวังผลกำาไร โดยลูกค้าจะยินดีมากขึ้นเมื่อจ่าย น้อยและได้มากขึ้น • Firm แข่งขันกับ Suppliers โดยSuppliersจะ ยินดีมากขึ้น เมื่อได้เงินเพิ่มและส่งมอบลดลง วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 61. ผู้เล่นในอุตสาหกรรมแข่งขันเพื่อกำาไร เชิงกลยุทธ์ • Firm แข่งขันกับผูผลิต ผู้ซึ่งผลิตสินค้ามากมายที่ ้ อาจกลายเป็นสินค้าทดแทนของผลิตภัณฑ์ Firmได้ • Firm แข่งขันกับคูแข่งที่มีศักยภาพ ผูซึ่งจะเข้ามา ่ ้ ในอุตสาหกรรม อันเนื่องมาจากความน่าดึงดูดใจ วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 62. ตำาแหน่งในอุตสาหกรรม (Relative Position) • การเลือกตำาแหน่งที่ถกต้องจะเป็นผลทำาให้เป็นผู้ที่เหนือ ู กว่าค่าเฉลี่ยในอุตสาหกรรมนันๆ ้ • ถ้าตำาแหน่งทีถกต้องนำามาซึง ผลกำาไรที่เหนือจากค่า ่ ู ่ เฉลี่ย ย่อมหมายถึงมีความได้เปรียบในการแข่งขัน (competitive advantage) วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 63. of Competitive Advantage (ปัจ จัย ที่ส ่ง ผลต่อ ผลประกอบการเชิง เปรีย บเทีย บ ) (รูป แบบ ของความได้เ ปรีย บในการแข่ง ขัน ) Differentiation ความได้ เปรีย บด้า นราคา Value Proposition (ราคาสูง ขึ้น ) ความได้เ ปรีย บ ความได้ เปรีย บ Superior Performance ในการแข่ง ขัน ในการ แข่ง ขัน (กำา ไร) (ความได้เ ปรีย บ ุ ด้า นกำา ไร) วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 64. Value Proposition, Value Chain, Strategy • Value Proposition (ข้อเสนอคุณค่า) เป็น องค์ประกอบของกลยุทธ์ที่มองฝังอุปสงค์ของ ่ ธุรกิจ (Demand side) • Value chain (สายโซ่คณค่า) เป็นการมุ่ง ุ เน้นด้านการปฏิบติการ (operations) โดย ั มองฝั่งอุปทานของธุรกิจ (Supply side) • Strategy (กลยุทธ์) เป็นตัวเชือมรวมเข้าด้วย ่ กัน โดยเชื่อมระหว่างอุปสงค์และอุปทานเข้า ด้วยกัน • กลยุทธ์ ในการแข่งขัน หมายถึง การเลือก วิพ ธ อ่อ งสกุลกิจกรรมที่ทำาให้ เกิOngsakul,ห ารศาสตร์ างเพื่อที่จะส่ง Adminis ุ คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิดความแตกต่ © Viput ต พัฒ นบริ Ph.D. Graduate School of Business
  • 65. กลยุทธ์ในการแข่งขัน (Competitive Strategy) Competitive Strategy กลยุทธ์ Value ในการ Proposition แข่งขัน วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 66. Value Proposition • MK Suki: Family and healthy self made food • MK Suki : การทำาอาหารร่วมกันในครอบครัวและสุขภาพ • Starbucks: Experience around the consumption of coffee • Starbucks : เปิดประสบการณ์ในการดืมกาแฟ ่ • Major Cineplex: Luxury entertaining at sensible price • Major Cineplex : ความบันเทิงทีหรูหราในราคาทีสม ่ ่ ุ เหตุผล วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 67. Value Proposition • Air Asia: Low fares and convenience (competing with the bus service) • Air Asia : สายการบินราคาถูกและสะดวกสบายในการ เดินทาง (แข่งขันกับ รถไฟ รถบขส) • IKEA: Great functional design at rock bottom price • IKEA : เฟอร์นิเจอร์ที่มีแบบการใช้งานที่ดีเยี่ยมใน ราคาตำ่าสุด วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 68. ห่วงโซ่คณค่าโดยทั่วไป ุ • การได้เปรียบในการแข่งขันขึ้นอยูกับห่วงโซ่คุณค่า ่ วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 69. กลยุทธ์ในการแข่งขัน (Competitive Strategy) ข้อ เสนอ คุณค่า ข้อ เสนอ คุณค่า • การแข่งขันในธุรกิจเกี่ยวข้องกับการดำาเนินกิจกรรมที่แตกต่างกันและส่งผลต่อ การได้เปรียบในการแข่งขัน • ห่วงโซ่คุณค่าในแต่ละธุรกิควรจมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่ไม่เหมือนใคร วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 70. Competing Regionally and Globally • Selling in many nations • Locating activities in different nations • Coordinating a regional or global network วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 71. ระบบกิจกรรม (Activity System) ไม่มการเสริฟ ี ไมมีการส่งต่อ อาหาร กระเป๋า ไม่เชื่อมบริการกับ ไม่มีทนั่ง ี่ การจำากัดการ สายการบินอืน ่ บริการ ตารางการบิน เส้นทางสั้น ไม่ใช่บริการ ที่ถีและตรง ผู้แทนจำาหน่าย และบินแบบจุด เวลา 30 นาทีใน เครื่องบินมาตรฐาน ต่อจุด การเปลี่ยนเทียว ่ แบบเดียว การออกตัวผ่าน ๋ ระบบอัตโนมัต จ้างแรงงาน การดำาเนินการ ราคาตั๋วที่ แพง ภาคพืนดินที่ ้ ถูกมาก สายการบิน รวดเร็ว การใช้เครื่องบิน ใครๆก็บินได้ ให้คุ้มค่า วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 72. งานคิดกลุม ่ • ให้ลองออกแบบข้อ เสนอคุณ ค่า (value proposition) ของสมาคม • กิจกรรมในการตอบสนอง ข้อเสนอคุณค่า และความเชือมโยงของกิจกรรมเหล่านัน มีได้ ่ ้ อย่างไร ให้เขียนใน ระบบกิจกรรม (Activity System) วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 73. ระบบกิจกรรม (Activity System) วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis
  • 74. Thanks! Questions? 74 วิพ ธ อ่อ งสกุล คณะบริห ารธุร กิจ สถาบัน บัณ ฑิต พัฒ นบริห ารศาสตร์ ุ © Viput Ongsakul, Ph.D. Graduate School of Business Adminis

Notes de l'éditeur

  1. สินค้าที่ขายใน 7-11 ต่อ 1 สาขา โดยเฉลี่ยจะมีประมาณ 5,000 SKU ทั้งนี้ยังต้องขึ้นอยุ่กับว่า ร้านไหนสั่งได้หรือไม่ได้ ซึ่งบางสาขาอาจมีแค่ 3,000-4,000 SKU ก็ได้ โดยภายในร้านแบ่งสินค้าเป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ ประเภท food 65% และ non-food and service 35%
  2. มาดูตัวอย่างของป้าย plan-o-gram .....( อธิบายแต่ละจุด )