SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  131
ติวสอบภาคปฏิบัติ-
ณ.สวนสิรีรุกชาติ-
มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา-
สอนโดย... -
อ.อำพล บุญเปล่ง-
และพี่เขียว-
คณะผู้จัดทำ-
q  ภาพโดย : คุณอานันย์ สุชิตกุล0
คุณสุเวชช์ อองละออ0
คุณภัทรินทร์ แฟงคล้าย0
q  สนับสนุนโดย : 0
คุณวีรปรัชญ์ เจริญศรี0
q  เรียบเรียงโดย : 0
คุณภัคจิรา บุญสา0
q ตรวจทานโดย :
คุณช่อลัดดา ผลเจริญศรี และกลุ่ม
0
0
ขอบพระคุณ-
คณะผู้จัดทำขอสงวนสิทธิ์ในการจัดทำ-
เพื่อเป็นวิทยาทาน ให้กับผู้ที่มีความสนใจในการศึกษา วิชาแพทย์แผนไทย-
ห้ามมิให้ผู้ใดนำไปจำหน่ายหรือแสวงหาผลกำไรโดยเด็ดขาด-
17 มิถุนายน 2551-
q  อาจารย์ อำพล บุญเปล่ง และพี่เขียว-
q  ครูบาอาจารย์ทุกท่าน-
q  รุ่นพี่ทุกคนที่เข้ามาดูแลช่วยเหลือ -
0
0
0
หากมีข้อบกพร่องประการใดคณะผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ.ที่นี้ด้วย-
กรรณิกา-
q ลักษณะ : ใบมีลักษณะสากเหมือน
กระดาษทรายเบอร์ 0 ก้านเป็นสี่เหลี่ยม
มีตุ่มสากมือ ทรงใบแหลม0
q ใบ : รสขม บำรุงน้ำดี 0
( น้องกรรณิการ์ผิวขาวเป็นคนดี = บำรุงน้ำดี )-
q ดอก : รสขมหวาน แก้ลมวิงเวียน0
q ต้น : รสขมเย็น แก้ปวดศรีษะ0
q ราก : รสขม บำรุงเส้นผมให้ดกดำ0
•  อีกชื่อเรียก สุพันนิกา0
0ก้านเป็นสี่เหลี่ยม-
ใบสาก หลังใบสีเข้ม -
ท้องใบขาว ปลายใบแหลม-
กระทิง-
q  ลักษณะ : เส้นใบชัดเจนคล้าย
ใบตอง ใบเป็นมัน0
q  ดอก : รสเย็น บำรุงหัวใจ0
q  น้ำมันจากเมล็ด : รสร้อน แก้
เคล็ดขัดยอก0
q  ใบ : ขยำแช่น้ำสะอาดล้างตา 0
แก้ตาแดง0
( แก๊ก : กระทิงแดง = แก้ตาแดง )0
0
มีเขากระทิงสีแดง-
ใบเป็นมัน เส้นลายใบชัดเจน-
สารภี-
q  ลักษณะ : .ใบคล้ายใบกระทิง
แต่หลังใบจะด้าน และเป็นจุดๆ0
q  รส : หอมเย็น ( ดอก )0
q  สรรพคุณ : บำรุงหัวใจ0
ใบมีจุดในร่างแหตลอดใบ-
ใบมีจุดในร่างแหตลอดใบ-
กระเบา
q  ลักษณะ : ก้านสีค่อนข้างแดง
และมีลักษณะเซไปเซมา0
q  รส : เมาเบื่อ 0
q  สรรพคุณ : น้ำมันจากเมล็ด 0
แก้โรคผิวหนัง0
q  ผลสุก รับประทานเนื้อในได้
คล้ายเผือก0
( กระเบา – เมาเบื่อ – แก้โรคผิวหนัง)0
0
ก้านเซไป เซมาสีค่อนข้างแดง-
ใบแก่พื้นสีเขียว เส้นใบสีเหลืองเขียว-
ก้านสีค่อนข้างแดงเซไปเซมา-
กระเพรา
q  ลักษณะ : หน้าใบสีแดงขาว
นวล ก้านใบมีขนอ่อนสีขาว0
q  รส : เผ็ดร้อน ( ใช้ทั้ง 5 )0
q  สรรพคุณ : แก้ปวดท้อง แก้
ท้องอืดเฟ้อ0
•  ใช้สะตุมหาหิงค์( น้ำกระเพราแดงต้ม )-
•  เป็นกระสายยา แก้ท้องขึ้น-
•  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( ขาว – แดง )-
•  อยู่ในยาประสะกระเพรา 47 ส่วน-
ก้านใบมีขนสีขาวอ่อน ใบและก้านมีสีแดงปน0
หน้าใบสีแดงขาวนวล 0
ก้านใบมีขนอ่อนสีขาว0
ลำต้นสี่เหลี่ยม ออกสีแดง 0
เมื่อแห้งตรงกลางจะเป็นร่อง0
กระแจะ
q  ลักษณะ : ใบมีลักษณะคล้ายจิ้งจก
ตัวอ้วน 0
q  รส : จืดเย็น ( เนื้อไม้ )0
q  สรรพคุณ : ดับพิษร้อน0
(แก๊ก: นึกถึงแป้งกระแจะทาหน้า ทาตัว ดับพิษร้อน)-
มีหนามแหลมใหญ่คู่ทุกข้อ-ใบหยักโค้งเล็กน้อย กลางใบอ้วน-
ใบมีลักษณะคล้ายจิ้งจก-
คนทา( สีฟัน, กะลันทา ) 0
q  ลักษณะ : คล้ายกระแจะ 0
แต่ใหญ่กว่า ( จิ้งจกตัวผอม )0
q  รส : ขมเฝื่อนฝาดเย็น ( ใช้ราก )0
q  สรรพคุณ : กระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้หัว
ลมทุกชนิด0
( คนทา คทา = กระทุ้งพิษไข้ )0
•  อยู่ในพิกัดเบญจโลกะวิเชียร0
หนามสีชมพู-
ก้านย่อยมีครีบใบ -
แต่ผอมกว่ากระแจะ-
ริมใบหยักฟันเลื่อย
ปีบ-
q  ลักษณะ : แตกกิ่งตรงกันข้าม
ขอบใบหยัก 2 ข้างไม่สมมาตร0
q  ดอก : รสเฝื่อนกลิ่นหอม0
ตากแห้งผสมบุหรี่สูบ 0
แก้ริดสีดวงจมูก 0
( ดมดอกปีบ ต้องบีบจมูก )0
q  ราก : รสเฝื่อน บำรุงปอด 0
( ปีบ รัก ปอด )0
•  อีกชื่อเรียกว่า ก้องกลางดง0
0
แตกกิ่งตรงกันข้ามเสมอ-
กระบือเจ็ดตัว-
q  ลักษณะ : ท้องใบมีสีแดง0
q  รส : รสร้อน ( ใช้ใบทำยา )0
q  สรรพคุณ : ขับน้ำคาวปลา แก้
สันนิบาตหน้าเพลิง ขับเลือด
หลังการคลอดบุตร0
•  อีกชื่อเรียก กระทู้เจ็ดแบก0
การบูร-
q  ลักษณะ : ใบบาง ขยี้ดมมีกลิ่นหอม มี
ตุ่มหมัดขึ้นระหว่างข้อใบ0
q  เปลือกต้น, ใบ และเนื้อไม้ กลั่นมา
เป็นการบูรเกล็ด รสร้อน แก้ปวดท้อง0
•  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( ขาว-ดำ )0
หน้าใบสี เขียว เหลือง-
ด้าน หลังสีขาว-
ก้านใบเดี่ยว -
ออกใบเวียนรอบก้าน-ขยี้ใบมีกลิ่นหอม-
กาหลง
q  ลักษณะ : ปลายใบแหลม แยก
เป็น 2 แฉก0
q  รส : จืด ( ดอก )0
q  สรรพคุณ : แก้ปวดศรีษะ ลด
ความดันโลหิตสูง0
•  สรรพคุณเสมอ จิก0
( แก๊ก : กาบินหลง จิกจนปวดหัว )0
ปลายใบแยกเป็นสอง แฉกเหมือนปากอีกา-
โคนใบคล้ายพระอาทิตย์-
ส้มเสี้ยว-
q  ลักษณะ : ปลายใบโค้งมน0
q  ใบ : รสเปรี้ยวจัด0
แก้ไอ ฟอกโลหิตประจำเดือน0
q  เปลือกต้น : รสฝาด แก้ท้องเสีย
แก้บิด0
•  ส้มเสี้ยว - เปรี้ยว - ฟอกโลหิต0
ปลายใบโค้งมนเหมือนก้นเด็ก0
โคนใบ ลายเหมือนพระอาทิตย์ขึ้น ใบแข็ง-
กุ่มน้ำ-
q  ลักษณะ : ใบแหลม มี 3 ใบ เส้นใบ
แบ่งเท่ากัน ก้านใบสีน้ำตาลมีจุดขาวๆ0
q  เปลือกต้น : รสร้อน ขับลมในลำไส้0
q  ราก : รสร้อน แก้ปวดท้อง0
•  ( แก๊ก : กุ่ม กุมท้อง = แก้ปวดท้อง )-
•  ( แหลมยื่นไปในน้ำ = กุ่มน้ำปลายใบแหลม )-
-
ก้านสีน้ำตาลมีจุดขาว-
กุ่มบก-
q  ลักษณะ : ใบมน 3 ใบ เส้นใบ
แบ่งไม่เท่ากัน0
q  เปลือกต้น : รสร้อน 0
ขับลมในลำไส้0
q  ใบ รสจืดเย็น บำรุงหัวใจ0
0
มีสามใบ ปลายโค้งมน-
สีน้ำตาลอ่อนคล้ายหนังจระเข้-
ใบ 2 ข้างไม่เท่ากัน-
แก้ว-
q  ลักษณะ : ใบออกสลับ0
q  ใบ : รสร้อนเผ็ดขมสุขุม
ขับโลหิตระดู
สตรี0
q  ราก : รสเผ็ดขมสุขุม 0
แก้ปวดสะเอว0
( แก้ว (อภิรดี ) – ผู้หญิง 0
= ขับโลหิตระดูสตรี )0
•  ใน สสม. แก้ปวดฟัน0หน้าใบสีเขียวเข้ม / มัน / หลังใบเขียวด้าน-
ใบรูปหอก / ปลายแหลม -
ขี้เหล็ก-
q  ลักษณะ : ใบประกอบ ปลายใบมีเสา
อากาศ0
q  รส : ขม 0
q  สรรพคุณ : ดอก - แก้นอนไม่หลับ0
แก่น /เปลือกต้น / ใบ - แก้กระษัย0
ราก รสขมเย็น แก้ไข้กลับซ้ำ0
•  สสม. ใช้ดอกตูมและใบอ่อน แก้อาการท้องผูก และ
อาการนอนไม่หลับ-
•  จุลพิกัดต่างกันที่ถิ่นเกิด ( บ้าน-ป่า )-
•  ขี้เหล็กทั้ง 5 อยู่ในยาถ่าย 1 ส่วน-
ลายใบถี่เป็นร่างแห -
ลายกลางเส้นใบสีแดงปนน้ำตาลอ่อน ออกใบคู่-
ปลายใบมีเสาอากาศ-
เขยตาย-
q  ลักษณะ : มีตุ่มคล้ายกำหมัดที่ยอด
คว่ำใบดูเส้นใบคล้ายบั้งนายสิบ ขยี้
ดมมีกลิ่นเฉพาะ0
q  รส : ขื่นปร่า ( ราก )0
( แก๊ก : เขยขื่นตัดฟืนในป่า ถูกงูกัด )0
q  สรรพคุณ : แก้พิษงู0
เส้นใบคล้ายบั้งนายสิบ-
มีตุ่มคล้ายกำหมัดที่ยอด-
เส้นใบคล้ายบั้งนายสิบ-
คนทีเขมา ( คนทีสอดำ )ไม้พุ่มขนาดใหญ่ 0
q  ลักษณะ : มี 5 ใบ ท้องใบขาว0
q  รส : ร้อน0
q  สรรพคุณ : 0
เปลือกต้น แก้เลือด แก้ลม0
รากและใบ แก้ปวดกล้ามเนื้อ0
( 5 ใบ = 5 นิ้ว นวดแก้ปวดกล้ามเนี้อ )0
•  จัดเป็นพืชประเภทต้น0
0
0
ใบนิ่มเป็นกำมะหยี่0
มี 5 ใบ -
หลังใบเข้ม ท้องใบขาว-
ก้านย่อยสีเขียว0
ก่านใหญ่สีน้ำตาลแดง0
คนทีสอขาว ( คนทีสอเครือ )-
q  ลักษณะ : มี 3 ใบ ท้องใบขาว0
0
q  รส : ขมเมา ( ใบและดอก )0
•  ( แก๊ก : คนขาวมักเป็นคนดี )0
q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำดี0
•  จัดเป็นพืชประเภท เถา-เครือ0
หลังใบเขียวแก่ ลายใบขาว0
แยกออกเป็น 3 ใบ-
หลังใบเขียวแก่ ลายใบขาว ขอบใบขาว0
คนสีสอทะเล( เป็นไม้เลื้อยตามพื้นทราย )-
q  ลักษณะ : ใบเดียว ท้องใบขาว รูป
ร่างใบคล้ายหัวแม่มือ0
q  รส : เผ็ดร้อน ( ใช้ต้น )0
q  สรรพคุณ : แก้ลม0
( แก๊ก : ไปทะเลคนเดียว ร้อน ลมแรง )0
•  จัดเป็นพืชประเภทเถา-เครือ0
ใบมีความนิ่ม สีอ่อน 1 ด้าน0
คูน ( ราชพฤกษ์ )-
q  ลักษณะ : มีปุ่มที่โคนใบ0
q  เนื้อในฝัก : รสหวานเอียน
ระบายท้อง 0
q  ราก : รสเมา แก้คุดทะราด0
•  สสม.ใช้เป็ยาระบายในคนที่ท้องผูก
เป็นประจำ และหญิงมีครรภ์ก็ใช้ได้0
รอยต่อก้านกับกิ่งใหญ่เป็นปุ่ม0
เหมือนดอกไม้ปลอมมาต่อ0
มีปุ่มใหญ่ที่โคนใบ-
เหงือกปลาหมอ-
q  ลักษณะ : ใบหยักฟันเลื่อย 0
ริมใบมีหนาม0
q  ใบ : รสร้อนเล็กน้อย 0
ตำพอกรักษาแผลอักเสบ0
q  ราก : รสเฝื่อนเค็ม 0
แก้โรคผิวหนัง0
q  ต้น เป็นยาตัดรากฝี0
q  ใช้ทั้ง 5 : รสร้อน แก้ไข้หัว0
แก้พิษกาฬได้ดีมาก0
0
0
• มี 2 ชนิด คือ ดอกขาว ,ดอกสีฟ้า0
• อีกชื่อเรียกว่า ต้นแก้มคอ0
เจตมูลเพลิงขาว-
q  ลักษณะ : ใบนิ่มกว่าเจตมูลเพลิง 0
แดง ที่ข้อใบมีสีชมพู 0
q  รส : ร้อน ( ใช้ราก )0
q  สรรพคุณ : บำรุงโลหิต0
•  อยู่ในพิกัดตรีสาร, ตรีปิตตะผล, เบญจกูล0
•  อยู่ในยาไฟห้ากอง0
โคนใบโอบรอบก้านใหญ่ 0
ข้อใบสีชมพู0
ใบอ่อนกว่าเจตมูลเพลิงแดง
ใบบางและพริ้วหยัก0
เจตมูลเพลิงแดง( ไฟใต้ดิน )0
q  ลักษณะ : ใบแข็งกว่าเจตมูล
เพลิงขาว ข้อใบมีสีแดงถึงเส้น
กลางใบ0
q  รส : ร้อน0
q  สรรพคุณ : บำรุงโลหิต0
•  อยู่ในพิกัดตรีสาร, ตรีปิตตะผล,
เบญจกูล0
•  อยู่ในยาไฟประลัยกัลป์0
•  สตรีมีครรภ์ทานมากอาจแท้งได้0
•  อีกชื่อหนึ่งเรียกว่า ลุกใต้ดิน0โคนใบโอบรอบก้านใหญ่-
สีแดงขึ้นก้านใบ-ใบแข็งชูช่อ-
q ลักษณะ : โคนใบเป็นรูปตัว U0
ใบมีกลิ่นเฉพาะตัว0
q ราก : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0
แก้คูถเสมหะ-
q ต้น : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0
แก้เสมหะในทรวงอก-
q ลูก(ดอก) : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0
แก้เสมหะในลำคอ-
q ใบ : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0
ทำให้เสมหะงวดและแห้งเข้า0
•  อีกชื่อเรียกว่า ผักอีไร0
0
ช้าพลู-
ช่อดอกสั้น ดอกออกเป็นกลุ่ม-
ออกใบเดี่ยวเวียนสลับรอบก้าน-
q  ลักษณะ : ออกรากรอบๆข้อ ใบ
แก่มีลักษณะยักไหล่ โคนก้านใบ
มีสีแดง0
q  รส : เผ็ดร้อน0
q  สรรพคุณ : ขับลมในลำไส้ แก้
ท้องร่วง0
•  ฤษีชื่อ ปัพพะตัง บริโภคผลดีปลี0
•  ผลแก่แห้ง หมอยาเรียก ดอกดีปลี0
•  อยู่ในพิกัด ตรีกฏุก, เบญจกูล0
ดีปลี-
ดอกยาว0
เป็นตุ่มขึ้นสูงจากผิวดอก0
ใบยาวหยักพริ้ว-
เส้นกลางใบสีแดงระเรื่อ-
พลูคาว-
q  ลักษณะ : ใบคล้ายพลู มีกลิ่นคาว0
q  รส : ร้อนเล็กน้อยกลิ่นคาวขื่น0
q  สรรพคุณ : แก้กามโรค แก้น้ำ
เหลืองเสีย0
•  ( พลูคาว-คาวโลกีย์ = กามโรค )0
มีหน่อทุกก้านใบ0
โคนข้อต่อมีสีแดงระเรื่อ-
ใบเดี่ยวออกสลับ-
ใบเล็กกว่าพลูโคนรูปหัวใจ-
ขอบสีแดง ขยี้ใบกลิ่นคาวมาก-
พลู-
q  ลักษณะ : ใบคล้ายใบโพธิ์ โคนใบ
เป็นรูปหัวใจ มีรากอากาศออกตาม
ข้อ0
q  รส : เผ็ด ( ใบ )0
q  สรรพคุณ : ขับลม แก้ผื่นคัน0
แก้ปากเหม็น0
( คนแก่เคี้ยวหมากพลู แก้ปากเหม็น )0
•  สสม. รสเผ็ด ขับลม ตามชนบทใช้ตำ
กับเหล้าทาบริเวณที่เป็นลมพิษ0มีรากอากาศออกตามข้อ-
โคนใบเป็นรูปหัวใจ-
มีรากอากาศออกตามข้อ-
พริกไทย-0
q ลักษณะ : มีเส้นใบ 5 เส้น0
q  เมล็ด : รสร้อนเผ็ด แก้ลมอัมพฤกษ์0
( พริก – พฤกษ์ )0
q  เถา : รสร้อน แก้เสมหะในทรวงอก0
( เถาพริกไทยเป็นญาติกับรากช้าพลู )0
q  ใบ : รสเผ็ดร้อน แก้ลมจุกเสียดแน่น0
•  รากพริกไทยอยู่ในพิกัดตรีวาตะผล0
•  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( ขาว-ดำ )0
ใบแข็งกว่าอบเชย-
เส้นกลางใบ 5 เส้นชัด-
ใบลายย่อยเป็นร่างแห-
อบเชย-
q  ลักษณะ : มีเส้นใบ 3 เส้น ใบมี
ลักษณะแข็งกรอบ 0
q  รส : หอมติดร้อน ( เปลือกต้น )0
q  สรรพคุณ : แก้อ่อนเพลีย 0
บำรุงดวงจิต0
( แก๊ก : อบ 3 ครั้งจนอ่อน )-
•  อยู่ในพิกัดทศกุลาผล-
-
โคนใบบิดเล็กน้อย-
ลายใบหลัก 3 เส้น ลายย่อยเส้นขนาน-
โคนใบบิดเล็กน้อย-
แสลงใจ-
( ลูกกระจี้ / โกฐกะกลิ้ง )0
q  ลักษณะ : มีลายเส้น 3 เส้นคล้ายอบเชย
แต่ใบนิ่มกว่า0
q  เปลือกต้น เนื้อไม้ : รสเบื่อเมาขมร้อน
เล็กน้อย ตัดไข้0
q ใบ : รสขมเมาเบื่อ แก้โรคไตพิการ 0
q  เมล็ด : รสเบื่อเมาขมเล็กน้อย บำรุง
ประสาท บำรุงหัวใจ0
q ราก : รสเบื่อเมาขมร้อน แก้ท้องขึ้น0
•  รับประทานมาก ชักกระตุก ถึงตายได้0
0
มีช่อดอกออกที่ยอดใบคู่-
มีลายเส้น 3 เส้นคล้ายพริกไทย
และอบเชย แต่อ่อนนิ่มกว่า-
เตยหอม -
q ลักษณะ : เหมือนในภาพ0
q ใบ : รสเย็นหอม บำรุงหัวใจ0
( แก๊ก : รักน้องเตย หอม จนสุดหัวใจ )0
q รากและต้น : รสจืดหอม 0
ขับปัสสาวะ0
•  ทำสีผสมอาหารได้ สีเขียว0
0
ทองพันชั่ง-
q  ลักษณะ : ข้อจะบวม หักก้านดูมีไส้
สีขาว0
q  ใบ : รสเบื่อเย็น แก้พยาธิผิวหนัง0
q  ราก : รสเมาเบื่อ แก้กลากเกลื้อน0
•  รากทองพันชั่งอยู่ใน พิกัดเบญจโลหะ,
สัตตะโลหะ และเนาวโลหะ0
ใกล้ข้อป่อง-
เนื้อในสีขาวเป็นโฟม- ลำต้นมี 6 เหลี่ยม-
ลิ้นงูเห่า ( ทองระอา )-
q  ลักษณะ : ใบสีเขียวเข้ม 0
เป็นคลื่น โป่งนูนขึ้น0
q  รส : เย็นเบื่อ0
q  สรรพคุณ :0
ใบ ตำกับสุราพอก แก้ปวดฝี0
ราก ฝนกับสุราทาแก้พิษพิษ
ตะขาบ แมลงป่อง แลแก้พิษงู0
•  อีกชื่อเรียก ทองระอา0
ออกใบคู่ ลำต้นกลม-
ใบแข็งมันคล้ายพลาสติก-
ผิวหน้าใบเป็นคลื่น โป่งนูนขึ้น-
เสลดพังพอนตัวเมีย ( พญายอ )-
q  ลักษณะ : ใบบางพลิ้ว และสีอ่อน
กว่าลิ้นงูเห่า0
q  รส : ขม0
q  สรรพคุณ : แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย0
ใบสีเขียวอ่อน ไม่
แข็งเหมือนลิ้นงูเห่า-
ธรณีสาร-
q  ลักษณะ : ใบประกอบคล้ายใบ
มะขาม ค่อนข้างกลม ปลายใบ
แหลมเล็ก ดอกสีชมพู0
q  รส : จืดเย็น (ใช้ราก )0
q  สรรพคุณ : แก้ไข้ตัวร้อน0
ดอกสีชมพู กลีบสีเขียวอมเหลือง0
เปลือกต้นสีน้ำตาล แตกเป็นลายทาง-
ใบเงิน-
q  ลักษณะ : ใบสีเขียวลายขาว0
0
q  รส : เย็น0
0
q  สรรพคุณ : ล้อมตับดับพิษ0
0
ใบทอง-
q  ลักษณะ : ใบสีเหลืองกลางใบเขียว0
0
q  รส : เย็น0
0
q  สรรพคุณ : ล้อมตับดับพิษ0
0
ใบนาค0
q  ลักษณะ : ใบสีแดงลายขาว0
0
q  รส : เย็น0
0
q  สรรพคุณ : ล้อมตับดับพิษ0
0
0
0
เปล้าน้อย-
q  ลักษณะ : ใบคล้ายมะละกอ ก้านกับเนื้อ
ใบเหมือนต่อปะกัน0
q  รส : ร้อน 0
q  ผล : ขับหนองให้กระจาย0
q  ใบ : แก้คันตามตัว0
q  เปลือกต้น : ช่วยย่อยอาหาร0
q  แก่น : แก้ช้ำใน0
q  ราก : แก้ลมขึ้นเบื้องบนให้เป็นปกติ0
ใบรูปมะละกอ ขอบหยักเล็กน้อย-
• เปล้า คันเป้า-
( แก้คันตามตัว )-
เปล้าใหญ่-
q  ลักษณะ : ใบหยักฟันเลื่อย มี0
กลิ่นหอม มีจุดที่โคนใบ0
q  รส : ร้อนเมาเอียน ( ใบ )0
q  สรรพคุณ : บำรุงธาตุ0
( ปลาปั๊กเป้าตัวใหญ่ ( สัตว์ ) = บำรุงธาตุ )-
•  จุดพิกัดต่างกันที่ขนาด ( น้อย-ใหญ่ )0
ใบใหญ่ ยาว ขอบหยักพลิ้ว-
มีจุดดำ 2 จุด ที่โคนหลังใบ-
ขยี้ใบดม มีกลิ่นหอม-
หนาด-
q  ลักษณะ : มีหนวดที่โคนใบ ใบ
นิ่มๆ เป็นขน0
q  รส : เมาฉุนเล็กน้อย ( ใบ )0
q  สรรพคุณ : แก้ริดสีดวงจมูก
ขับเหงื่อ0
มีหนวดที่โคนก้านใบ-
มีหนวดที่โคนใบ-
( แก๊ก : วิ่งหนีผีเข้าดง
หนาดจน เหงื่อแตก )-
ตีนเป็ดต้น( พญา
สัตตบรรณ )-
q  ลักษณะ : ใบเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 ใบ
ออกเป็นชั้น เส้นลายใบขนานกัน0
q  เปลือกต้น : รสขม แก้ไข้เพื่อดีพิการ0
q  ใบ : รสจืด แก้ไข้หวัด0
q  ดอก : รสขมเย็น แก้ไข้เหนือ0
q  ราก : รสร้อนเล็กน้อย ขับผายลม0
q  กระพี้ : รสร้อนเล็กน้อย ขับโลหิตให้ตก0
•  ตีนเป็ดต้น เรียกอีกชื่อว่า พระยาสัตบัน-
มี 5-6 ใบ-
กลุ่มใบ 1 ชั้น หน้าใบเขียว-หลังขาว-
ตีนเป็ดน้ำ -
q  ลักษณะ : ใบเป็นกลุ่ม ออกเวียน
2-3 ชั้น หน้าใบเขียว-หลังขาว
ปลายใบแหลม0
q  เปลือกต้น : รสจืดเฝื่อน แก้นิ่ว0
q  ใบ : รสเมาเบื่อ ฆ่าพยาธิผิวหนัง0
q  กระพี้ : รสเบื่อเมา แก้เกลื้อน0
•  เรียกอีกชื่อว่า พะเนียงน้ำ0
ใบเป็นกลุ่ม ออกเวียน-
พิลังกาสา0
q  ลักษณะ : ยอดโคนใบสีชมพู 0
ใบกรอบ0
q  ราก : รสเมา แก้กามโรค0
q  ต้น : รสเมา แก้โรคผิวหนัง0
q  ใบ : รสร้อน แก้ตับพิการ0
q  ลูก : รสฝาดสุขุม แก้ท้องเสีย0
q  ดอก : รสขมเมา ฆ่าเชื้อโรค0
•  ( แก๊ก : พิลังกาเสีย ใบเป็นตับ )0
โคนใบสีชมพู-
ไม่มีร่างแห-
พิกุล0
q  ลักษณะ : ขอบใบพลิ้วเป็นคลื่น0
q  ใบ : รสเมาเบื่อฝาด ฆ่าเชื้อกามโรค0
q  ดอก : รสฝาดกลิ่นหอม บำรุงโลหิต0
q  แก่น : รสขมเฝื่อน บำรุงโลหิต0
q  กระพี้ : รสเมาเบื่อ แก้เกลื้อน0
q  เปลือกต้น : รสฝาด แก้แมงกินฟัน0
•  แก่นที่ราลงเรียก ขอนดอก0
ใบห่อเล็กน้อย -
ขอบใบแก่ บิดพลิ้ววตลอดใบ 0
หลังใบไม่มีลายร่างแห0
ฝ้ายแดง0
q  ลักษณะ : ใบมี 5 แฉก เส้นก้านใบ
สีแดง ส่องแดดจะเห็นเป็นจุดๆ0
q  รส : เย็นเบื่อ0
q  สรรพคุณ : แก้ไข้ ขับเหงื่อ0
แก้พิษตานซางเด็ก0
( เด็กหญิงฝ้ายตัวแดงเพราะพิษไข้ )0
•  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง-ขาว )0
หลังใบมีหนาม 1 หนาม0
ก้านสีแดงมีร่อง0
ใบเป็น 5 แฉก-
กระเจี๊ยบแดง-
q  ลักษณะ : ใบมี 5 แฉก ลำต้นแดง ก้าน
ใบแดงถึงเส้นกลางใบ ชิมใบดูมีรส
เปรี้ยว0
q  ใบ : รสเปรี้ยว กัดเสลด0
q  เมล็ดใน : รสจืด บำรุงธาตุ0
q  ผล : รสจืดเมาเล็กน้อย ขับเหงื่อ0
q ใช้ทั้ง5 : แก้พยาธิตัวจี๊ด0
•  ในสสม. ใช้กลีบเลี้ยงและกลีบรองดอก ใช้รักษา
อาการขัดเบา โดยนำไปตากแห้ง และบดเป็นผง ใช้
ครั้งละ 1 ช้อนชา ชงน้ำเดือด 250 ซีซี ดื่มเฉพาะ
น้ำสีแดงใส วันละ 3 ครั้ง ติดต่อกันจนกว่าจะหาย-
•  ใช้กลีบเลี้ยงต้มกับน้ำ กรองเอากากออก ได้สีแดง-
เส้นหลังชัดเจน-
เส้นกลางสีแดง-
แดงบ้างเขียวบ้าง-
ลำต้นมีสีแดงเข้ม0
-
ฝาง0
q  ลักษณะ : ใบคล้ายมีดอีโต้ 0
ก้านใบมีหนาม0
q  รส : ขมขื่นฝาด ( แก่น )0
q  สรรพคุณ : แก้ท้องร่วง โลหิต
ออกทางทวารหนัก0
•  ( แก๊ก : ฝาง-ขวาง-ไม่ให้ร่วง )0
•  นำแก่นฝางแช่น้ำ ได้สีชมพูเข้ม ใช้
แต่งสีอาหารได้0
ก้านมีหนาม-
ใบคล้ายมีดอีโต้-
โคคลาน-
q  ลักษณะ : ใบคล้ายใบโพธิ์ หลังใบ
นิ่มคล้ายกำมะหยี่ หน้าใบสาก
ก้านมีตุ่มเล็กๆ ออกสลับรอบกิ่ง0
q ใช้เถาทำยา0
q  รส : ขมเบื่อเย็น 0
q  สรรพคุณ : แก้ปวดเมื่อยตาม
ร่างกาย บำรุงโลหิต0
•  ( โคคลาน จนเมื่อยขา )-
•  เป็นพืชจำพวก เถา - เครือ-
-
ก้านออกสลับรอบกิ่ง0
ใบเหมือนใบโพธิ์
ท้องใบเป็นกำมะหยี่-
ก้านออกสลับรอบกิ่ง-
โคกกระสุน0
q  ลักษณะ : ก้านออกตรงข้ามกัน ข้อก้าน
และข้อใบสีชมพูแดง ใบเล็กคล้ายผัก
กระเฉด ลูกเป็นระเบิดแฉก มีหนาม0
q  รส : รสเค็มขื่นเล็กน้อย ( ต้น / ใบ )0
q  สรรพคุณ : แก้ปัสสาวะพิการ0
•  อีกชื่อเรียกว่า กาบินหนี0
•  สรรพคุณเสมอกับ นมพิจิตร0
( แก๊ก : กาบินหนีไปพิจิตร เพราะกลัวกระสุน
จนปัสสาวะพิการ )0
•  เป็นพืชจำพวกหญ้า0
ข้อก้านและข้อใบ สีชมพูแดง-
ใบเล็กคล้ายผักกระเฉด-
ก้านออกตรงข้ามกัน0
โคกกระออม ( ตุ้มต้อก )-
q  ลักษณะ : ไม้เถา ผลมี 3 กลีบ0
q  ใช้ทั้ง 50
q  รส : ขมเย็น0
q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ 0
บำรุงน้ำนม0
( ตุ้มต้อก เต้า บำรุงน้ำนม )0
ผลมี 3 กลีบ
ภายในสีดำ มีรูปหัวใจสีขาว0
มะระขี้นก ( ผักไห )-
q  ลักษณะ : 0
ใบเป็นแฉก ผลขรุขระ0
q  ใบ / เถา : 0
รสขม บำรุงน้ำดี0
q  ผล : รสขม บำรุงระดูสตรี0
แก้บวม0
•  เรียกอีกชื่อว่า ผักไห0
0
บอระเพ็ดตัวเมีย0
q  ลักษณะ : เถามีตุ่มนูนสูง มือรูป
แล้วสะดุดโคนใบเป็นรูปตัว V0
q  รส : ขม0
q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำดี 0
•  สรรพคุณเสมอ ชิงช้าชาลี0
•  อยู่ในยาจันทลีลา ( 3 ทหารขม )0
ตุ่มนูนสูง มือลูบแล้วสะดุดมาก-
โคนใบรูปตัว V-
บอระเพ็ดตัวผู้ ( ชิงช้าชาลี )-
q ลักษณะ : โคนใบเป็นรูปตัว 0
U มีรูปใข่ 2 อันที่โคนใบ0
q  รส : ขม0
q  สรรพคุณ : แก้ไข้เหนือ 0
เจริญอาหาร0
•  0
โคนใบเป็นรูปตัวU (ยู)0
มีรูปไข่ 2 อันที่โคนใบ0 • สรรพคุณเสมอ-
โกฐก้านพร้าว-
โคนใบเป็นรูปตัว U-
หญ้านางแดง-
q  ลักษณะ : มีหนวด งอๆ ตามข้อ
ใบ คล้ายหนวดผีเสื้อ ใบบางกว่า
หญ้านางเล็กน้อย0
q  ใช้รากทำยา0
q  รส : เย็น 0
q  สรรพคุณ : แก้ผิดสำแดง 0
แก้เมาเห็ด เมาสุรา0
0
0
มีหนวดงอๆ ตามข้อใบ-
หญ้านาง(หญ้าภคินี )-
q ลักษณะ : ใบคล้ายรางจืด แต่
เถาแข็ง และเหนียวบีบไม่แตก 0
q  รส : เย็นขม0
q  สรรพคุณ : แก้ไข้ทุกชนิด0
•  อีกชื่อเรียก ปู่เจ้าเขาเขียว 0
•  มี 2 ชนิด คือ ชนิดขาว และเขียว0
เถาบีบไม่แตก ( เถารางจืดบีบ แตก)0
ไม่มีหนวดที่ก้าน0
โคนใบ มีสีเขียว ไม่แดง0
รางจืด ( รางเย็น )-
q  ลักษณะ : เถากลวง บีบดู0
q  รส : เย็น ( ใช้ราก )0
q  สรรพคุณ : ถอนพิษเบื่อเมา0
มีหน่อ 2 หน่อที่โคนก้านใบ0
ขอบใบหยักเหมือนหนามสีขาวเล็กๆ
ลูบจะสะดุดมือ0
เถากลาง-
ตานหม่อน ( ตาลขี้นก )-
q  ลักษณะ : หลังใบขาว ออกใบ 0
สลับ เถาขาว0
q  ใช้ทั้งต้น0
q  รส : เบื่อเย็น ( พืชวัตถุ )0
หวานเย็น ( ยา 9 รส )0
q  สรรพคุณ : แก้พิษตานซาง0
•  รากตานหม่อนอยู่ในพิกัดตานทั้ง 50
( โตนด-ดำ-ขโมย-เสี้ยน-หม่อน )0
เถาเอ็นอ่อน0
q  ลักษณะ : หลังใบขาว หน้าใบ
เขียว หักใบมียาง ( น้ำนม ) ออก
มา เส้นลายใบคล้ายกระทิงแต่ห่าง
กว่า0
q  ใบ : รสเบื่อเอียน 0
แก้ปวดเสียวตามร่างกาย0
q  เถา : รสขมเมา 0
แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย0
•  ตีนเป็ดเครืออีกชื่อเรียก เถาเอ็นอ่อน0
เถาวัลย์เปรียง-
q  ลักษณะ : ใบรูปมะละกอ ปลาย
ใบเหมือนจุกนม0
0
q  รส : เบื่อเอียน ( เถา )0
0
q  สรรพคุณ : แก้ปวดเมื่อย ทำให้
เส้นเอ็นหย่อน0
ปลายใบเหมือนจุกนม-
เพชรสังฆาต (ขันข้อ, สามร้อยต่อ )0
q  ลักษณะ : เถาเป็นสี่เหลี่ยม0
q  รส : ขื่นร้อนเล็กน้อย0
q  ใช้เถา 0
q  สรรพคุณ : แก้กระดูกแตก แก้
ริดสีดวงทวารหนัก0
0
เล็บมือนาง0
q  ลักษณะ : ก้านใบบิดเล็กน้อย0
q  ใช้ทั้ง 50
q  รส : เอียนเบื่อเล็กน้อย0
q  สรรพคุณ : ขับพยาธิ แก้พิษตาน
ซาง0
0
-
ก้านบิดเล็กน้อย ออกใบคู่-
ดอกแก่สีชมพู(แดง) -
ดอกยาวเหมือนคบเพลิง -
ใบบางมาก ขอบใบบิด ปลายหลุบลงท้องใบสากลายชัด-
มะลิ ( ไม้เถายืนต้น )-
q  ลักษณะ : ใบบางอ่อนสีเขียว
บิดพลิ้วเล็กน้อย0
q  เถา : รสขื่นเย็น แก้คุดทะราด0
q  ใบสด : รสเย็นฝาด แก้แผลพุพอง0
q  ดอก : รสหอมเย็น แก้ร้อนใน
กระหายน้ำ ทำให้จิตใจแช่มชื่น0
0
•  ดอกมะลิอยู่ในพิกัดเกสรทั้ง 5, 7 และ 90
•  ดอกมะลิอยู่ในยาหอมเทพวิจิตร 184 ส่วน0
มีเขา 4 เขา0
มะแว้งเครือ-
q  ลักษณะ : เถามีหนาม ผลลาย ก้าน
ผลยาว0
q  ผล : รสขม แก้ไอ ขับเสมหะ0
q  ราก : รสขื่นเปรี้ยวเล็กน้อย แก้ไอ
แก้น้ำลายเหนียว0
0
•  อยู่ในยาประสะมะแว้ง 8 ส่วน-
มะแว้งต้น-
q  ลักษณะ : ใบสีเขียวนวลๆ ลูก
ก้านสั้น และไม่ลาย0
q  ราก : รสเปรี้ยวเอียน 0
แก้น้ำลายเหนียว0
q  ผลสุก : รสขื่นขม 0
กัดเสมหะในลำคอ0
q  ผลดิบ : รสขื่นขม แก้เบาหวาน0
•  สสม. ใช้ผลแก่สด รสขม เป็นยากัด
เสมหะ0
•  อยู่ในยาประสะมะแว้ง 8 ส่วน0
มะกล่ำตาหนู ( มะกล่ำเครือ )-
q ลักษณะ : ใบเล็กๆคล้ายใบ
มะขาม แต่มีรสหวาน0
q ราก : รสเปรี้ยวขื่น 0
แก้เสมหะในลำคอ0
q เมล็ด : ขื่นเย็น0
แก้ริดสีดวงตา0
•  มะกล่ำเครือ เป็นพิษต่อร่างกาย
มาก ไม่ควรใช้0
0
มะขามไทย- q  ลักษณะ : ก้านสีน้ำตาลแดง ใบประกอบ0
q  เปลือกต้น : รสฝาด ต้มเอาน้ำชะล้างบาดแผล
ทำให้หายเร็ว0
q  ใบแก่ : รสเปรี้ยวฝาด ขับเสมหะในลำไส้0
q  เนื้อในฝัก : รสเปรี้ยวจัด กัดเสมหะ0
q  เปลือกเมล็ด : รสฝาด คั่วไฟเอาเปลือกแช่น้ำรับ
ประทาน แก้ท้องร่วง0
q  เมล็ดใน ( คั่วแล้ว ) : รสมันเบื่อ ขับพยาธิไส้เดือน
ตัวกลม0
q  รกมะขาม : รสฝาดเปรี้ยวเล็กน้อย แก้ท้องเสีย0
q  น้ำส้มมะขามเปียก : รสเปรี้ยว รับประทานกับน้ำ
ปูนใส ขับเลือด ขับลมสำหรับสตรี0
ก้านสีน้ำตาลแดง-
สีเสียด-
q ลักษณะ : มีปุ่มเหมือนเห็บ 3 ตัว
เกาะอยู่ ก้านไม่มีหนาม ใบเล็ก
ละเอียดกว่าใบส้มป่อย 0
q ใช้เปลือกต้น และยาง0
q รส : ฝาดจัด 0
q สรรพคุณ : แก้ท้องร่วง 0
แก้บิดมูกเลือด0
•  จุลพิกัดต่างกันที่ถิ่นเกิด ( ไทย-เทศ )0
•  อยู่ในยาเหลืองปิดสมุทร0
ใบเล็กละเอียดมาก สีเขียวขาว-
ส้มป่อย ( ไม้เถายืนต้น )-
q  ลักษณะ : หลังก้านใบมีหนาม
ก้านใบมีเห็บ 2 จุด ชิมดูรสเปรี้ยว0
q  รส : เปรี้ยวฝาดเล็กน้อย ( ใบ )0
q  สรรพคุณ : ฟอกล้างโลหิตระดู
ประคบให้เส้นเอ็นหย่อน0
•  ฝักส้มป่อยอยู่ในยาไฟห้ากอง0
มีปุ่มเหมือนเห็บ 2 ปุ่ม0
ที่โคนและปลายกิ่งใบ0
มีปุ่มเหมือนเห็บ-
สำมะงา-
q  ลักษณะ : ก้านสีน้ำตาล ซอก 0
ก้านมีเม็ดสีขาวคล้ายสิวอยู่ 0
ใบส่องแดดเห็นเส้นก้านใบ0
q  รส : เย็นเบื่อ ( ใช้ใบ )0
q  สรรพคุณ : ต้มเอาน้ำอาบ 0
แก้โรคผิวหนัง0
ออกใบเวียนคู่สลับรอบก้าน-
ก้านหลักสีแดงออกน้ำตาล-
มีเม็ดสีขาว 2 เม็ดขึ้นทีข้อก้านใบ-
หนุมานประสานกาย -
( ไม้เถายืนต้น )-
0
q  ลักษณะ : ใบออกเป็นกลุ่ม 7 ใบ0
q  รส : ฝาดเย็นเอียน ( ใบ )0
q  สรรพคุณ : แก้หืดหอบ ห้ามเลือด
และสมานแผลได้ดี0
•  จัดเป็นพืชประเภท เถา-เครือ0
•  ( แก๊ก : หนุมาน-ห-หืด หอบ 0
ประสาน = สมานแผล )0
อัญชัน-
q  ลักษณะ : ใต้ใบมีขนเล็กๆ
ละเอียด มีเขี้ยวเล็กๆ ยื่นยาว
ออกมาทุกข้อก้าน0
q  รส : รสจืด ( ใช้ราก )0
q  สรรพคุณ : แก้ปวดฟัน0
•  ทำสีผสมอาหารได้ สีน้ำเงิน โดยใช้
กลีบดอกสด ตำ เติมน้ำเล็กน้อย กรองด้วย
ผ้าขาวบาง0
มีเขี้ยวเล็กๆ ยื่นยาว-
ออกมาทุกข้อก้าน-
มหากาฬ ( ว่านมหากาฬ )-
q  ลักษณะ : ใบลายๆ สีม่วง0
0
q  หัว : รสเย็น ดับพิษกาฬ0
0
q  ใบ : รสเย็น ตำพอกถอนพิษฝี0
0
•  จัดอยู่ในประเภท หัว - เหง้า0
ดองดึง-
q  ลักษณะ : ปลายใบม้วนงอ0
q  ใช้หัวทำยา0
q  รส : ร้อนเมา0
q  สรรพคุณ : แก้ปวดข้อ 0
แก้กามโรค0
•  จัดเป็นพืชจำพวก หัว - เหง้า0
ปลายใบม้วนงอ-
q  ลักษณะ : เหมือนในภาพ0
q  ส่วนที่ใช้ตาไผ่ 0
q  รสจืด-
q  สรรพคุณ : เอา 7 ตาต้มรับประทาน
แก้สตรีตกโลหิตมากเกินไป0
0
ไผ่เหลือง-
หญ้าแห้วหมู-
q  ลักษณะ : ใบคล้ายใบเตย แต่เล็ก
ยาวพลิ้ววและ เรียบกว่า มีหัวที่โคน
รากคล้ายเผือกแต่เล็ก 0
q  ใช้หัวทำยา0
q  รส : ซ่าติดจะร้อนเผ็ด0
q  สรรพคุณ : บำรุงธาตุ เจริญอาหาร
บำรุงครรภ์รักษา0
•  อยู่ในพิกัดเบญจผลธาตุ0
•  ใน สสม. ใช้ขับลม แก้อาการท้องอืด
ท้องเฟ้อ และแน่นจุกเสียด0
•  มี 2 ชนิด คือ เล็ก และใหญ่0
q  ลักษณะ : ลำต้นเป็นปล้องกลม
แบ่งออกเป็นข้อๆ สีม่วง0
q  รส : จืดเย็น ( หัว )0
q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ0
•  อยู่ในพิกัดเบญจผลธาตุ0
หญ้าชันกาด-
ใบเดี่ยวออกจากลำต้น0
แบบสลับฐานใบมน 0
ปลายแหลม ด้านบนมีขน0
ลำต้นเป็นปล้องกลม 0
แบ่งออกเป็นข้อๆ สีม่วง0
ลำต้นเป็นปล้องกลม -
แบ่งออกเป็นข้อๆ สีม่วง-
หญ้าคา0
q  ลักษณะ : ใบเดี่ยวแข็งสาก เส้นกลาง
ใบสีขาว ใบยาวคล้ายตะไคร้ ใบเอามือ
ลูบดูคม0
q  รส : หวานเย็นเล็กน้อย ( ใช้ราก )0
q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ แก้ร้อนใน
กระหายน้ำ0
•  ใน สสม. รสจืด0
ใบเดี่ยวแข็งสาก-
เส้นกลางใบสีขาว -
รากเป็นปล้องๆ0
หญ้าปากควาย0
q  ลักษณะ : ดูที่ดอก มีลักษณะ
เหมือนแปรงสีฟัน0
q  ใช้ทั้งต้น0
q  รส : เย็น0
q  สรรพคุณ : ช่วยย่อยอาหาร0
•  ( แก๊ก : ควายชอบเคี้ยวเอื้องตอนเย็น0
ใบยาวไม่กว้างมาก-
พริ้วเล็กน้อย-
ดอกเหมือน0
แปลงสีฟันคว่ำ0
หญ้าตีนกา-
q  ลักษณะ : ยอดมี 5-6 ช่อเป็น
เส้นยาวๆ มีเดือย 1 เส้น0
q  รส : ขมเย็น ( ต้น )0
q  สรรพคุณ : ลดความร้อน แก้
พิษไข้กาฬ0
0
ยอดมี 5-6 ช่อ0
มีขนสีขาว0
ปกคลุมกาบใบ,ฐานใบ0
หญ้าตีนนก0
q  ลักษณะ : ยอดมี 2-3 ช่อ (ไม่เกิน )0
q  รส : ขม0
q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำดี แก้ไข้เพื่อดี0
•  ( แก๊ก : น้องนกผิวขาวเป็นคนดี๊ ดีเรียน
อยู่จุฬา ) 0
รสขม0
•  สรรพคุณเสมอโกฐจุฬาลัมพา0ยอดมี 2-3 ช่อ (ไม่เกิน )-
มีขนขึ้นบริเวณกาบใบ0
หญ้าแพรก-
q  ลักษณะ : เหมือนในภาพ0
q  ใช้ทั้งต้น0
q  รส : ขมเย็น0
q  สรรพคุณ : แก้ร้อนในกระหายน้ำ
แก้สตรีตกโลหิตมากเกินไป0
0
0
กกลังกา ( กกขนาก )-
q  ลักษณะ : ใบมีลักษณะคล้ายกางร่ม-
q  รส : ขมเอียน ( หัว )0
q  สรรพคุณ : บำรุงธาตุ ( กา)0
•  อยู่ในพิกัดเบญจผลธาตุ-
กะเม็ง0
q ลักษณะ : ออกใบคู่ตามข้อ ดูที่ดอกมี
ลักษณะเหมือนในภาพ0
q  รส : เอียน ( ต้น/ดอก/ราก )0
q  สรรพคุณ : 0
ต้น บำรุงโลหิต0
ดอก แก้ดีซ่าน0
ราก ขับลมในลำไส้และกระเพาะอาหาร0
•  เป็นพืชจำพวกหญ้า มี 2 ชนิด คือ ดอกขาว
กับ ดอกเหลือง0
•  สรรพคุณเสมอกับ ผักคราด0
•  กระเม็งมีธาตุเหล็กเจือปนอยู่ด้วย(เฮียเม็งขายเหล็ก)0
0
ใบเล็กมากยาว มีขนสีขวาอยู่ทั่วใบ0
ออกใบคู่ตามข้อ0
ดอกเล็ก
ขลู่ ( หนาดวัว )-
q  ลักษณะ : ขอบใบหยักคล้ายฟัน
กระต่ายขูดมะพร้าว0
q  ต้น รสเหม็นขื่น ขับปัสสาวะ0
q  ใบ คั่วให้เกรียม รสหอมเย็น0
ขับปัสสาวะ0
q  เปลือก รสเมาเบื่อเล็กน้อย 0
แก้ริดสีดวงจมูก แก้ริดสีดวง
ทวารหนัก0
•  เป็นพืชจำพวกหญ้า0
•  ใน สสม. ใช้ทั้ง 50
ลำต้นอวบน้ำ ใบเดี่ยว
เวียนรอบก้าน-
ขอบใบหยักไม่แข็ง 0
ลายใบบาง0
หญ้าขัดมอน0
q  ลักษณะ : ดอกสีเหลือง ฐานรอง
ดอกสีเขียว ออกดอกทุกข้อ0
ขอบใบหยักฟันเลื่อย0
q  รส : เผ็ด0
q  ใช้ราก เป็นเมือก0
q  สรรพคุณ : แก้ปวดมดลูก 0
แก้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ 0
ใบบางสีเขียวเข้ม 0
ขอบใบหยักฟันเลื่อย0
ออกดอกทุกข้อ0
ขอบชะนางขาว-
q  ลักษณะ : ลายใบชัดเจน ออกใบ
เดี่ยวเวียนรอบก้าน ออกดอกขนาด
เล็ก /กลม( สีน้ำตาลแดง )ทุกข้อใบ0
q  ใช้ทั้งต้น-
q  รส : เมาเบื่อร้อนเล็กน้อย0
q  สรรพคุณ : ขับระดูขาว0
ขับโลหิตประจำเดือน ขับปัสสาวะ0
•  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง – ขาว )0
•  อีกชื่อเรียก หนอนตายอยากขาว0
0
ออกดอกขนาดเล็ก /กลม-
( สีน้ำตาลแดง )ทุกข้อใบ-
ขอบชะนางแดง-
q ลักษณะ : ใบเล็กเรียวยาว มักพับห่อ
เข้าหากัน หน้าใบสีเขียว หลังใบสีแดง0
q  ใช้ทั้งต้น0
q  รส : เมาเบื่อร้อนเล็กน้อย0
q  สรรพคุณ : ขับระดูขาว0
ขับโลหิตประจำเดือน ขับปัสสาวะ0
•  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง – ขาว )0
•  อีกชื่อเรียก หนอนตายหยากแดง0
•  สรรพคุณเสมอกับ กะเพียด0
ลำต้นออกแดง 0
เป็นรอยข้อใบชัดเจน0
หญ้าใต้ใบ ( ลูกใต้ใบ )-
q  ลักษณะ : ใบเล็ก คล้ายมะขาม
ออกสลับ มีลูกเล็กๆ อยู่ใต้ก้านใบ0
q ใช้ทั้งต้น-
q  รส : ขมเย็น 0
q  สรรพคุณ : แก้ไข้มาลาเรีย0
0
0
0
ออกลูกเล็กๆ ใต้กานใบ-
ออกลูกเล็กๆ ใต้กานใบ-
หญ้าน้ำนมราชสีห์-
q  ลักษณะ : ขอบใบมีหยักฟันเลื่อย0
หักใบจะมียางสีขาว 0
q  รส : ขม ( ใช้ต้น )0
q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำนม0
ขอบใบมีหยักฟันเลื่อย0
ก้าน ขอบใบ เส้นใบ-
มีสีแดงม่วง
หญ้าพันงูขาว-
q  ลักษณะ : ใบค่อนข้างนิ่ม สีเขียว
อ่อน เส้นลายใบชัดเจน0
ลูกมักติดขาเวลาเดินผ่าน0
q  ใช้ทั้งต้น-
q  รส : จืดขื่น0
q  สรรพคุณ : แก้ไข้ตรีโทษ0
0
หญ้าพันงูเขียว0
q  ลักษณะ : .ใบสีเขียวเข้ม ขอบหยัก
ฟันเลื่อย เส้นลายใบสีขาวชัดเจน0
q  ใช้ทั้งต้น-
q  รส : จืด0
q  สรรพคุณ : ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ0
0
หญ้าหนวดแมว( พยับเมฆ )0
q  ลักษณะ :ใบหยักสวยสมมาตรช้าย-ขวา
ก้านสี่ เหลี่ยมสีแดง0
q  รส : รสจืด ( ใช้ต้น )0
q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ ขับนิ่ว0
•  ใช้มากเป็นอันตราย กดหัวใจทำให้หยุดเต้นได้
( เพราะมีสารโปรแตสเซียมมาก )0
0
0 ใบหยักสวย-
สมมาตรช้าย-ขวา -
จะมีดอกขึ้นทุกช่อ -
ก้านสี่ เหลี่ยมสีแดง0
แพงพวยบก-
q  ลักษณะ : ลำต้นสีแดง ใบมี
เส้นกลางใบสีขาวชัดเจนใช้
รากทำยา0
q  รส : เย็นเบื่อ0
q  สรรพคุณ : แก้มะเร็ง น้ำ
เหลืองเสีย0
(แก๊ก : มะเร็งค่ารักษาแพง )0
0
มะกรูด-
q  ลักษณะ : ใบคล้ายเลข 8 มีลายจุด กลิ่น
หอมเฉพาะตัว0
q  ผล : รสเปรี้ยว ฟอกโลหิตระดู0
q  ผิวลูก : รสปร่าหอมติดร้อน 0
ขับลมในลำไส้0
q  น้ำในลูก : รสเปรี้ยว0
แก้เลือดออกตามไรฟัน0
q  ราก : รสปร่า กระทุ้งพิษไข้0
•  ลูกมะกรูดสรรพคุณเสมอ ส้มซ่า-
•  น้ำมะกรูดสรรพคุณเสมอกับน้ำมะนาว-
•  ผิวมะกรูด อยู่ในยาประสะกระเพรา 20 ส่วน-
และอยู่ในยาประสะไพล 8 ส่วน-
ใบคล้ายเลข 8-
มะนาว-
q  ลักษณะ : มีหนามที่ข้อก้านใบ0
q  ใบ : รสปร่าซ่า กัดฟอกเสมหะและระดู ใช้ใน
พิกัด 108 ใบ0
q  ราก : รสขื่นจืด ถอนพิษไข้กลับซ้ำ0
q  น้ำในลูก : รสเปรี้ยว กัดเสมหะ 0
แก้ไอ0
q  เมล็ด ( คั่วไฟ ) : รสขมหอม 0
ขับเสมหะ แก้ซางเด็ก0
•  ผิวมะนาวอยู่ในยาหอมเทพวิจิตร 4 ส่วน-
•  น้ำมะนาว สรรพคุณเสมอ น้ำมะกรูด-
•  ใบมะนาว 108 ใบ เป้นน้ำกระสายยา แก้ไข้เพ้อคลั่ง0
มีหนามที่ข้อก้านใบ-
มะเกลือ-
q  ลักษณะ : กิ่งและก้านใบสีเหลืองสด เส้น
กลางใบสีเหลืองถ้าขูดหลังใบจะเป็นรอย
ช้ำ 0
q  ผล : รสเบื่อเมา ตำคั้นเอาน้ำประมาณ 2
ชต.ผสมหัวกะทิหรือนมสด รับประทาน
ขับพยาธิ0
q  ราก : รสเมาเบื่อ ฝนกับน้ำซาวข้าว แก้
อาเจียน 0
•  ใน สสม. ใช้ผลดิบสด ( ผลแก่ที่มีสีเขียว ผลสุกสี
เหลือง หรือผลสีดำห้ามใช้ ) โดยใช้จำนวนเท่าอายุ
ของคนไข้ แต่ไม่เกิน 25 ผล นำมาตำพอแหลก
ผสมกับหัวกระทิสด คั้นเอาแต่น้ำดื่มให้หมดก่อน
รับประทานอาหารเช้า0
0
ถ้าขูดหลังใบจะเป็นรอยช้ำ
กิ่ง , ก้านใบ -
และเส้นกลาง ใบสีเหลือง-
หน้าใบสีเขียวเข้ม -
หลังใบสีเขียวเหลือง-
มะกา-
q  ลักษณะ : ใบบางๆ หลังใบสีเข้ม
กว่าท้องใบ ท้องใบสีขาวนวล 0
q ใบ : รสขมขื่น 0
ถ่ายเสมหะและโลหิต0
q  เปลือกต้น : รสขมฝาด 0
สมานลำไส้0
•  อยู่ในยาถ่าย0
ลายใบย่อยขนานกัน-
ลายใบย่อยขนานกัน-
มะกอกน้ำ-
q  ลักษณะ : ก้านใบแดงๆ ขอบใบ
หยัก มีหนามอ่อนๆสีดำตรงรอย
หยักของใบ0
q  รส : เปรี้ยวฝาด ( เมล็ด )0
q  สรรพคุณ : แก้กระหายน้ำ0
•  รากมะกอกอยู่ในพิกัดตรีอมฤต0
•  เมล็ดมะกอกเผาไฟ เป็นกระสายยา
แก้กระหายน้ำ0
ก้านใบสีแดง-
ขอบใบมีหนามสีดำตรงรอยหยัก-
มะดัน0
q  ลักษณะ : ลำต้นสีแดงดำ 0
ใบกรอบ0
q  รส : รสเปรี้ยว ( ราก / ใบ )0
q  สรรพคุณ : แก้ระดูเสีย 0
กัดเสมหะ0
•  วัดโพธิ์ ใช้ทั้ง 5 รสเปรี้ยว0
ก้านสีแดงดำ-
มะเดื่อชุมพร-
q  ลักษณะ : ก้านเป็นสีส้มบิดนิดๆ0
q  ราก : รสฝาดเย็น กระทุ้งพิษไข้0
q  เปลือกต้น : รสฝาด แก้ท้องร่วง0
•  รากมะเดื่อชุมพรอยู่ในพิกัดเบญจโลกวิเชียร0
•  เปลือกต้นเป็นน้ำกระสายยา แก้ท้องเดิน0
ก้านใบ โคนก้านใบ-
มีสามเหลี่ยมสีส้ม-
เส้นกลางใบสีเหลือง-
ก้านใบ โคนก้านใบมีสีส้ม-
มะตูม-
-q  ลักษณะ : ใบสีเขียวอ่อน ใบบางขอบใบ
หยักมนโค้ง 1ใบใหญ่ 2 ใบเล็ก 0
q  ราก : รสปร่าซ่าขื่นเล็กน้อย แก้พิษไข้ แก้
สติเผลอ0
q  เปลือกราก / ลำต้น : รสปร่าซ่าขื่น ขับลม
ในลำไส้0
q  ใบสด : รสปร่าซ่าขื่น คั้นเอาน้ำรับ
ประทาน แก้หวัด 0
q  ผลอ่อน : ชนิดเปลือกลูกแข็ง หั่นตาก
แดดปรุงเป็นยาธาตุ แก้ธาตุพิการ0
q  ผลสุก ระบายท้อง ช่วยย่อยอาหาร0
•  มี 3 ชนิด คือ ลูกกลม ลูกยาว และลูกนิ่ม-
•  รากมะตูมอยู่ในพิกัด ตรีสินธุรส-
•  ลูกมะตูมอยู่ในพิกัด ตรีผลสมุฎฐาน-
-
ก้านหลักด้านหนึ่งสีแดง-
อีกด้านสีเขียว- เหมือนปากจู๋0
มีหนามแหลมคู่ตามข้อ0
ขอบใบหยักมนโค้ง 1ใบใหญ่ 2 ใบเล็ก-
มะเฟือง-
q  ลักษณะ : โคนก้านใบเป็นตุ่มสี
แดง ใบคล้ายใบมะยม0
q ลูก : รสเปรี้ยวหวาน กัดเสมหะ0
q  ใบ / ราก : รสเย็น ดับพิษร้อน
แก้ไข้ 0
•  จุลพิกัดต่างกันที่รส ( เปรี้ยว-หวาน )0
0
โคนก้านใบเป็นตุ่มสีแดง-
มะยม-
q  ลักษณะ : เหมือนในภาพ0
q  เปลือกต้น : รสเปรี้ยว แก้เม็ดผื่นคัน 0
q  ใบ : รสเปรี้ยว แก้ไข้ตัวร้อน 0
q  ราก : รสจืดเย็นติดเปรี้ยว0
แก้เม็ดประดง น้ำเหลืองเสีย 0
•  จุลพิกัดต่างกันที่ชนิด ( ผู้-เมีย ) หมอนิยมใช้
มะยมตัวผู้ ทำยา0
มะรุม-
q  ลักษณะ : ใบออกมนๆ อ่อนๆ
ใบห่อเล็กน้อย0
q  เปลือกต้น : รสร้อน ขับลมใน
ลำไส้ คุมธาตุอ่อนๆ0
q  ราก : เผ็ดหวานขม แก้บวม
บำรุงไฟธาตุ 0
•  เปลือกลูกมะรุม เป็นน้ำกระสายยา
แก้อาเจียนเป็นเลือด0
หม่อน0
q ลักษณะ : ใบคล้ายใบโพธิ์ แต่
ขอบใบหยัก เอามือลูบสากมือ
เล็กน้อย มีตาทุกดคนก้านใบ
หลังใบเส้นใบมีสีขาวชัดเจน0
q  รส : เมา ( ใช้ใบ )0
q  สรรพคุณ : ระงับประสาท0
( แก๊ก : หม่อน = หมอนรองหัว( ประสาท ) =
ระงับประสาท )-
-
มีตาทุกโคนก้านใบ-
ลำดวน-
-q  ลักษณะ : โคนก้านใบสีชมพูระ
เรื่อ โคนบิดเล็กน้อย ออกใบเดี่ยว
สลับ ใบสีเข้ม ท้องขาวนวล 0
q  รส : หอมเย็น ( ดอก )0
q  สรรพคุณ : บำรุงหัวใจ0
•  อยู่ในพิกัดเกสรทั้ง90
โคนก้านใบสีชมพูระเรื่อ-
ใบยาว เส้นกลางใบชัด ร่างแห
ปลายใบแหลมมาก-
หลังใบสีเข้ม ท้องขาวนวล-
สะเดา-
q  ลักษณะ : ออกใบสลับซ้าย-ขวาขอบ
หยักฟันเลื่อยเล็กน้อย0
q  เปลือกต้น : รสฝาดขม แก้ท้องร่วง0
q  ใบแก่ : รสขม ช่วยย่อยอาหาร0
q  ใบอ่อน : รสขม แก้โรคผิวหนัง0
q  ก้าน : รสขม แก้ไข้ บำรุงน้ำดี0
0ออกใบสลับซ้าย-ขวา0
ขอบหยักฟันเลื่อยเล็กน้อย0
เสนียด-
q  ลักษณะ : ใบและก้าน0
มีสีเขียวอ่อน ลำต้นแบนไปแบนมา
มีเม็ดผดขึ้น0
q  ใบ / ดอก : รสขม แก้ไข้ แก้หืด0
q  ราก : รสขมเย็น บำรุงโลหิต แก้ฝี
ในท้อง ( วัณโรค ) 0
0 มีช่อใบชูเป็นเอกลักษณ์0
รูปตัดลำต้นเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ามนๆ0
ลำต้นแบนไปแบนมา มีเม็ดผดขึ้น-
สมอไทย-
q  ลักษณะ : ใบใหญ่ สีเหมือนขึ้นสนิม
คว่ำใบดู เส้นใบ ก้านใบสีเหลือง
โคนก้านมีตุ่มอยู่ 2 คู่0
q ใช้ผลทำยา0
q  รส : ฝาดติดเปรี้ยว(พี่ไทยไฝติดปาก )0
q  สรรพคุณ : ระบายอ่อนๆ 0
รู้ระบายรู้ถ่ายอุจจาระ0
•  อยู่ในพิกัด ตรีผลา, ตรีสมอ, จตุผลาธิกะ0
0
มีจุดคล้ายนม 2-4 จุด-
คว่ำใบดู เส้นใบ ก้านใบสีเหลือง-
สมอภิเภก-
q  ลักษณะ : ใบออกเวียนเป็นกลุ่มๆ
ปลายยอดมีตุ่มกำมะหยี่ คล้ายกำปั้น0
q  ผลแก่ : รสเปรี้ยวฝาดหวาน0
แก้ริดสีดวง แก้โรคตา0
q  ผลอ่อน : รสเปรี้ยว แก้ไข้เพื่อเสมหะ0
•  อยู่ในพิกัด ตรีผลา, ตรีสมอ, จตุผลาธิกะ0
ปลายยอดมีตุ่มกำมะหยี่ คล้ายกำปั้น-
อินทนิน-
q  ลักษณะ : ใบใหญ่รองลงมาจากเปล้า
ก้านหลังใบ และหน้าใบ มีจุดดำๆอยู่
ปลายใบไหม้0
q  รส : ขมเย็นเล็กน้อย0
q  สรรพคุณ : แก้เบาหวาน0
( ขุนอินไข่ยานเล็กน้อย ชอบกินของหวาน )0
มีจุดดำที่โคนก้านใบทั้งหน้าและหลัง-
มีจุดดำที่โคนก้านใบ-
ทั้งหน้าและหลัง-
หูเสือ0
q  ลักษณะ : ใบนิ่มๆ เป็นกำมะหยี่ มี
ขนสีขาว ขอบใบหยัก0
q  ใช้ใบทำยา-
q  รส : จืด0
q  สรรพคุณ : คั้นเอาน้ำหยอดหู แก้
ปวดหู แก้ฝีในหู0
•  มี 2 ชนิด คือ หูเสือไทย และหูเสือจีน0
•  เป็นไม้ต้นเล็กๆ0
จักรนารายณ์-
q  ลักษณะ : ใบหนามีขนอ่อนสี
ขาวขึ้นปกคลุม(ทำให้นิ่มเหมือน
กำมะหยี่) นิ่ม ขอบใบมน0
q ใช้ใบสดทำยา 0
q  รส : เย็น0
q  สรรพคุณ : ตำผสมสุราพอกปิด
แก้พิษฝี แก้อักเสบทุกชนิด แก้
พิษสัตว์กัดต่อย0
มีขนอ่อนปกคลุมทั้งต้น -
ก้าน ท้องใบ หลังใบ-
มีขนอ่อนสีขาวขึ้นปกคลุม-
(ทำให้นิ่มเหมือนกำมะหยี่)-
ว่านน้ำ-
q  ลักษณะ : ใบยาวแบน มีเส้นกลางใบ
เหง้าจะหอมมาก0
q  เหง้า หรือ ราก : 0
รสร้อนกลิ่นหอมแรง แก้ปวด
ท้อง ท้องขึ้นอืดเฟ้อ0
q  ใบ : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย แก้ปวด
ศรีษะ0
q  น้ำมันที่ได้จากหัว ขับลมในท้อง0
•  หัวว่านน้ำอยู่ในพิกัดจตุกาลธาตุ0
แฝกหอม-
q  ลักษณะ : ใบยาวๆ คล้ายว่านน้ำ
แต่ใบห่อ ไม่มีแกนกลางเหมือน
ว่านน้ำ0
q  ใช้รากทำยา 0
q  รส : หวานเย็น0
q  สรรพคุณ : บำรุงหัวใจ0
0
ตองแตก หรือ ทนดี-
q  ลักษณะ : ใบค่อนข้างใหญ่ ส่องไฟ
จะเห็นลายใบทะลุหลัง บางใบเป็น
แฉก บางใบสมบูรณ์ ลูบขอบใบมี
ตุ่มตามรอยหยัก0
q ราก : รสจืดเฝื่อนขมน้อย 0
ระบายอ่อนๆ0
q  ใบและเมล็ด : รสเบื่อขมน้อย 0
ถ่ายพยาธิ แก้ดีซ่าน0
0
-
-
มือลูบขอบใบ
จะสะดุดตุ่มเป็นหยัก-
ผักคราดหัวแหวน0
q  ลักษณะ : ลำต้นมีปุ่ม คลำดูจะ
สะดุดเป็นจุดรากงอกออก0
ดอกเหมือนหัวแหวน0
q ใช้ทั้งต้น -
q  รส : เอียนเบื่อเล็กน้อย0
q  สรรพคุณ : แก้ริดสีดวง แก้ต่อม
ทอนซิลอักเสบ0
•  สสม. ใช้ดอก แก้ปวดฟัน0
0ลำต้นมีปุ่ม คลำดูจะสะดุด
เป็นจุดรากงอกออก0
ลำต้นมีปุ่ม-
คลำดูจะสะดุด-
ลำต้นอวบน้ำ-
สีเขียวอ่อน-
เหมือนขึ้นช่าย-
ผักหวานบ้าน-
q  ลักษณะ : ใบสีเขียวเข้มใบบางๆ
ช้ำและเฉาง่าย 0
q ใช้รากทำยา-
q  รส : เย็น0
q  สรรพคุณ : แก้ไข้กลับ0
( แก๊ก : น้องหวาน กลับบ้านตอนเย็น )0
0ก้านสีเขียว0
ทรงใบและก้านอ่อน-
นุ่มนิ่ม ช้ำและเฉาง่าย-
ใบสีเขียวเข้ม-
ผักชีล้อม-
q  ลักษณะ : ลำต้นอวบน้ำคล้ายขึ้น
ช่าย ลำต้นกลวง ขอบใบหยัก0
q ใช้เมล็ดทำยา0
q รส : หอมร้อนเล็กน้อย0
q  สรรพคุณ : ขับลมในลำไส้0
•  เมล็ดอยู่ในพิกัดตรีพิษจักร, 0
ทศกุลาผล0
ผักหนาม-
q  ลักษณะ : ใบหยักเป็นแฉกลึก ที่
ก้านมีหนาม0
q  ใช้ทั้งต้น-
q  สรรพคุณ : แก้ปัสสาวะพิการ0
0
0
0
ผักเสี้ยนผี-
q  ลักษณะ : ลำต้นมีขนสีขาวปกคลุมทั่ว
ใบเป็น 5 แฉก ดอกสีเหลือง ฝักยาว
แหลมมีขนสีขาว0
q  ใบ : รสขม แก้ปัสสาวะพิการ0
q  ดอก : รสขมขื่น ฆ่าพยาธิผิวหนัง0
q  ลูก : รสเมา ฆ่าพยาธิ0
q  ราก : รสขื่นเล็กน้อย แก้ฝีในท้อง0
q  ใช้ทั้ง 5 : แก้ฝีในตับ ปอด0
(เป็นฝีในตับ ปอด ตายเป็นผีไปนิพพานไม่รู้กลับ)-
•  เป็นน้ำกระสายยา แก้ทรางขึ้นทรวงอก-
•  เรียกอีกชื่อว่าไปนิพพานไม่รู้กลับ-
-
ดอกสีเหลือง มีฝักยาวขนสีขาว-
ใบมีห้าแฉก ท้องใบลายชัดเจน-
ลำต้นมีขนสีขาวปกคลุมลื่นเป็นเมือก0
เทียนต้น หรือ เทียนย้อมมือ 0
q  ลักษณะ : ลำต้นสี่เหลี่ยมแข็ง สี
น้ำตาล ใบสีเขียวเข้ม ลายใบห่าง ใส
ออกใบคู่ตรงข้ามกัน 0
q  รส : ฝาด ( ใบ/ยอดอ่อน )0
q  สรรพคุณ : 0
- ใบ แก้เล็บถอด0
- ยอดอ่อน แก้เด็กท้องร่วงได้
ผลดีทุกระยะ0
( เทียนต้น = เล็บถอด0
เทียนดอก = เล็บขบ )0
ลำตันสี่เหลี่ยมผืนผ้าแข็งมาก -
มีสีน้ำตาลปนเขียวเทา-
ออกใบคู่ตรงข้าม-
เทียนบ้าน ( เทียนดอก )-
q  ลักษณะ : เทียนที่มีดอกสีสวย
ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย
ละเอียดมาก 0
q  รส : เย็น ( ใช้ใบ )0
q สรรพคุณ : ตำพอกแก้ปวดนิ้วเท้า
( เกาท์ ) เล็บขบ0
•  สสม. ข้อควรระวัง - เปื้อนเสื้อผ้า0
• ( เทียนต้น = เล็บถอด-
เทียนดอก = เล็บขบ )-
ดอกอ่อนรูปนกอ้วน0
ขอบใบเป็นฟันเลื่อยละเอียดมมาก -
ติวสอบภาคปฏิบัติ เภสัช แพทย์แผนไทย
ติวสอบภาคปฏิบัติ เภสัช แพทย์แผนไทย

Contenu connexe

Tendances

เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรaromdjoy
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...Vorawut Wongumpornpinit
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัชPrasit Kongsup
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 

Tendances (20)

Herb
HerbHerb
Herb
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
Con3
Con3Con3
Con3
 
Con13
Con13Con13
Con13
 
Con21
Con21Con21
Con21
 
Con16
Con16Con16
Con16
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
 
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบIS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
Con2
Con2Con2
Con2
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัช
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
Con15
Con15Con15
Con15
 

En vedette

ส่วนต่างของพืช
ส่วนต่างของพืชส่วนต่างของพืช
ส่วนต่างของพืชApichai Jantarmas
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
What Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsWhat Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsSlideShare
 
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareSTOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareEmpowered Presentations
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...SlideShare
 
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingHow To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingContent Marketing Institute
 
Masters of SlideShare
Masters of SlideShareMasters of SlideShare
Masters of SlideShareKapost
 
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation OptimizationOneupweb
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

En vedette (13)

ส่วนต่างของพืช
ส่วนต่างของพืชส่วนต่างของพืช
ส่วนต่างของพืช
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
What Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsWhat Makes Great Infographics
What Makes Great Infographics
 
You Suck At PowerPoint!
You Suck At PowerPoint!You Suck At PowerPoint!
You Suck At PowerPoint!
 
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareSTOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
 
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingHow To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
 
Masters of SlideShare
Masters of SlideShareMasters of SlideShare
Masters of SlideShare
 
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

ติวสอบภาคปฏิบัติ เภสัช แพทย์แผนไทย

  • 3. คณะผู้จัดทำ- q  ภาพโดย : คุณอานันย์ สุชิตกุล0 คุณสุเวชช์ อองละออ0 คุณภัทรินทร์ แฟงคล้าย0 q  สนับสนุนโดย : 0 คุณวีรปรัชญ์ เจริญศรี0 q  เรียบเรียงโดย : 0 คุณภัคจิรา บุญสา0 q ตรวจทานโดย : คุณช่อลัดดา ผลเจริญศรี และกลุ่ม 0 0
  • 4. ขอบพระคุณ- คณะผู้จัดทำขอสงวนสิทธิ์ในการจัดทำ- เพื่อเป็นวิทยาทาน ให้กับผู้ที่มีความสนใจในการศึกษา วิชาแพทย์แผนไทย- ห้ามมิให้ผู้ใดนำไปจำหน่ายหรือแสวงหาผลกำไรโดยเด็ดขาด- 17 มิถุนายน 2551- q  อาจารย์ อำพล บุญเปล่ง และพี่เขียว- q  ครูบาอาจารย์ทุกท่าน- q  รุ่นพี่ทุกคนที่เข้ามาดูแลช่วยเหลือ - 0 0 0 หากมีข้อบกพร่องประการใดคณะผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ.ที่นี้ด้วย-
  • 5. กรรณิกา- q ลักษณะ : ใบมีลักษณะสากเหมือน กระดาษทรายเบอร์ 0 ก้านเป็นสี่เหลี่ยม มีตุ่มสากมือ ทรงใบแหลม0 q ใบ : รสขม บำรุงน้ำดี 0 ( น้องกรรณิการ์ผิวขาวเป็นคนดี = บำรุงน้ำดี )- q ดอก : รสขมหวาน แก้ลมวิงเวียน0 q ต้น : รสขมเย็น แก้ปวดศรีษะ0 q ราก : รสขม บำรุงเส้นผมให้ดกดำ0 •  อีกชื่อเรียก สุพันนิกา0 0ก้านเป็นสี่เหลี่ยม- ใบสาก หลังใบสีเข้ม - ท้องใบขาว ปลายใบแหลม-
  • 6. กระทิง- q  ลักษณะ : เส้นใบชัดเจนคล้าย ใบตอง ใบเป็นมัน0 q  ดอก : รสเย็น บำรุงหัวใจ0 q  น้ำมันจากเมล็ด : รสร้อน แก้ เคล็ดขัดยอก0 q  ใบ : ขยำแช่น้ำสะอาดล้างตา 0 แก้ตาแดง0 ( แก๊ก : กระทิงแดง = แก้ตาแดง )0 0 มีเขากระทิงสีแดง- ใบเป็นมัน เส้นลายใบชัดเจน-
  • 7. สารภี- q  ลักษณะ : .ใบคล้ายใบกระทิง แต่หลังใบจะด้าน และเป็นจุดๆ0 q  รส : หอมเย็น ( ดอก )0 q  สรรพคุณ : บำรุงหัวใจ0 ใบมีจุดในร่างแหตลอดใบ- ใบมีจุดในร่างแหตลอดใบ-
  • 8. กระเบา q  ลักษณะ : ก้านสีค่อนข้างแดง และมีลักษณะเซไปเซมา0 q  รส : เมาเบื่อ 0 q  สรรพคุณ : น้ำมันจากเมล็ด 0 แก้โรคผิวหนัง0 q  ผลสุก รับประทานเนื้อในได้ คล้ายเผือก0 ( กระเบา – เมาเบื่อ – แก้โรคผิวหนัง)0 0 ก้านเซไป เซมาสีค่อนข้างแดง- ใบแก่พื้นสีเขียว เส้นใบสีเหลืองเขียว- ก้านสีค่อนข้างแดงเซไปเซมา-
  • 9. กระเพรา q  ลักษณะ : หน้าใบสีแดงขาว นวล ก้านใบมีขนอ่อนสีขาว0 q  รส : เผ็ดร้อน ( ใช้ทั้ง 5 )0 q  สรรพคุณ : แก้ปวดท้อง แก้ ท้องอืดเฟ้อ0 •  ใช้สะตุมหาหิงค์( น้ำกระเพราแดงต้ม )- •  เป็นกระสายยา แก้ท้องขึ้น- •  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( ขาว – แดง )- •  อยู่ในยาประสะกระเพรา 47 ส่วน- ก้านใบมีขนสีขาวอ่อน ใบและก้านมีสีแดงปน0 หน้าใบสีแดงขาวนวล 0 ก้านใบมีขนอ่อนสีขาว0 ลำต้นสี่เหลี่ยม ออกสีแดง 0 เมื่อแห้งตรงกลางจะเป็นร่อง0
  • 10. กระแจะ q  ลักษณะ : ใบมีลักษณะคล้ายจิ้งจก ตัวอ้วน 0 q  รส : จืดเย็น ( เนื้อไม้ )0 q  สรรพคุณ : ดับพิษร้อน0 (แก๊ก: นึกถึงแป้งกระแจะทาหน้า ทาตัว ดับพิษร้อน)- มีหนามแหลมใหญ่คู่ทุกข้อ-ใบหยักโค้งเล็กน้อย กลางใบอ้วน- ใบมีลักษณะคล้ายจิ้งจก-
  • 11. คนทา( สีฟัน, กะลันทา ) 0 q  ลักษณะ : คล้ายกระแจะ 0 แต่ใหญ่กว่า ( จิ้งจกตัวผอม )0 q  รส : ขมเฝื่อนฝาดเย็น ( ใช้ราก )0 q  สรรพคุณ : กระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้หัว ลมทุกชนิด0 ( คนทา คทา = กระทุ้งพิษไข้ )0 •  อยู่ในพิกัดเบญจโลกะวิเชียร0 หนามสีชมพู- ก้านย่อยมีครีบใบ - แต่ผอมกว่ากระแจะ- ริมใบหยักฟันเลื่อย
  • 12. ปีบ- q  ลักษณะ : แตกกิ่งตรงกันข้าม ขอบใบหยัก 2 ข้างไม่สมมาตร0 q  ดอก : รสเฝื่อนกลิ่นหอม0 ตากแห้งผสมบุหรี่สูบ 0 แก้ริดสีดวงจมูก 0 ( ดมดอกปีบ ต้องบีบจมูก )0 q  ราก : รสเฝื่อน บำรุงปอด 0 ( ปีบ รัก ปอด )0 •  อีกชื่อเรียกว่า ก้องกลางดง0 0 แตกกิ่งตรงกันข้ามเสมอ-
  • 13. กระบือเจ็ดตัว- q  ลักษณะ : ท้องใบมีสีแดง0 q  รส : รสร้อน ( ใช้ใบทำยา )0 q  สรรพคุณ : ขับน้ำคาวปลา แก้ สันนิบาตหน้าเพลิง ขับเลือด หลังการคลอดบุตร0 •  อีกชื่อเรียก กระทู้เจ็ดแบก0
  • 14. การบูร- q  ลักษณะ : ใบบาง ขยี้ดมมีกลิ่นหอม มี ตุ่มหมัดขึ้นระหว่างข้อใบ0 q  เปลือกต้น, ใบ และเนื้อไม้ กลั่นมา เป็นการบูรเกล็ด รสร้อน แก้ปวดท้อง0 •  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( ขาว-ดำ )0 หน้าใบสี เขียว เหลือง- ด้าน หลังสีขาว- ก้านใบเดี่ยว - ออกใบเวียนรอบก้าน-ขยี้ใบมีกลิ่นหอม-
  • 15. กาหลง q  ลักษณะ : ปลายใบแหลม แยก เป็น 2 แฉก0 q  รส : จืด ( ดอก )0 q  สรรพคุณ : แก้ปวดศรีษะ ลด ความดันโลหิตสูง0 •  สรรพคุณเสมอ จิก0 ( แก๊ก : กาบินหลง จิกจนปวดหัว )0 ปลายใบแยกเป็นสอง แฉกเหมือนปากอีกา- โคนใบคล้ายพระอาทิตย์-
  • 16. ส้มเสี้ยว- q  ลักษณะ : ปลายใบโค้งมน0 q  ใบ : รสเปรี้ยวจัด0 แก้ไอ ฟอกโลหิตประจำเดือน0 q  เปลือกต้น : รสฝาด แก้ท้องเสีย แก้บิด0 •  ส้มเสี้ยว - เปรี้ยว - ฟอกโลหิต0 ปลายใบโค้งมนเหมือนก้นเด็ก0 โคนใบ ลายเหมือนพระอาทิตย์ขึ้น ใบแข็ง-
  • 17. กุ่มน้ำ- q  ลักษณะ : ใบแหลม มี 3 ใบ เส้นใบ แบ่งเท่ากัน ก้านใบสีน้ำตาลมีจุดขาวๆ0 q  เปลือกต้น : รสร้อน ขับลมในลำไส้0 q  ราก : รสร้อน แก้ปวดท้อง0 •  ( แก๊ก : กุ่ม กุมท้อง = แก้ปวดท้อง )- •  ( แหลมยื่นไปในน้ำ = กุ่มน้ำปลายใบแหลม )- - ก้านสีน้ำตาลมีจุดขาว-
  • 18. กุ่มบก- q  ลักษณะ : ใบมน 3 ใบ เส้นใบ แบ่งไม่เท่ากัน0 q  เปลือกต้น : รสร้อน 0 ขับลมในลำไส้0 q  ใบ รสจืดเย็น บำรุงหัวใจ0 0 มีสามใบ ปลายโค้งมน- สีน้ำตาลอ่อนคล้ายหนังจระเข้- ใบ 2 ข้างไม่เท่ากัน-
  • 19. แก้ว- q  ลักษณะ : ใบออกสลับ0 q  ใบ : รสร้อนเผ็ดขมสุขุม ขับโลหิตระดู สตรี0 q  ราก : รสเผ็ดขมสุขุม 0 แก้ปวดสะเอว0 ( แก้ว (อภิรดี ) – ผู้หญิง 0 = ขับโลหิตระดูสตรี )0 •  ใน สสม. แก้ปวดฟัน0หน้าใบสีเขียวเข้ม / มัน / หลังใบเขียวด้าน- ใบรูปหอก / ปลายแหลม -
  • 20. ขี้เหล็ก- q  ลักษณะ : ใบประกอบ ปลายใบมีเสา อากาศ0 q  รส : ขม 0 q  สรรพคุณ : ดอก - แก้นอนไม่หลับ0 แก่น /เปลือกต้น / ใบ - แก้กระษัย0 ราก รสขมเย็น แก้ไข้กลับซ้ำ0 •  สสม. ใช้ดอกตูมและใบอ่อน แก้อาการท้องผูก และ อาการนอนไม่หลับ- •  จุลพิกัดต่างกันที่ถิ่นเกิด ( บ้าน-ป่า )- •  ขี้เหล็กทั้ง 5 อยู่ในยาถ่าย 1 ส่วน- ลายใบถี่เป็นร่างแห - ลายกลางเส้นใบสีแดงปนน้ำตาลอ่อน ออกใบคู่- ปลายใบมีเสาอากาศ-
  • 21. เขยตาย- q  ลักษณะ : มีตุ่มคล้ายกำหมัดที่ยอด คว่ำใบดูเส้นใบคล้ายบั้งนายสิบ ขยี้ ดมมีกลิ่นเฉพาะ0 q  รส : ขื่นปร่า ( ราก )0 ( แก๊ก : เขยขื่นตัดฟืนในป่า ถูกงูกัด )0 q  สรรพคุณ : แก้พิษงู0 เส้นใบคล้ายบั้งนายสิบ- มีตุ่มคล้ายกำหมัดที่ยอด- เส้นใบคล้ายบั้งนายสิบ-
  • 22. คนทีเขมา ( คนทีสอดำ )ไม้พุ่มขนาดใหญ่ 0 q  ลักษณะ : มี 5 ใบ ท้องใบขาว0 q  รส : ร้อน0 q  สรรพคุณ : 0 เปลือกต้น แก้เลือด แก้ลม0 รากและใบ แก้ปวดกล้ามเนื้อ0 ( 5 ใบ = 5 นิ้ว นวดแก้ปวดกล้ามเนี้อ )0 •  จัดเป็นพืชประเภทต้น0 0 0 ใบนิ่มเป็นกำมะหยี่0 มี 5 ใบ - หลังใบเข้ม ท้องใบขาว- ก้านย่อยสีเขียว0 ก่านใหญ่สีน้ำตาลแดง0
  • 23. คนทีสอขาว ( คนทีสอเครือ )- q  ลักษณะ : มี 3 ใบ ท้องใบขาว0 0 q  รส : ขมเมา ( ใบและดอก )0 •  ( แก๊ก : คนขาวมักเป็นคนดี )0 q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำดี0 •  จัดเป็นพืชประเภท เถา-เครือ0 หลังใบเขียวแก่ ลายใบขาว0 แยกออกเป็น 3 ใบ- หลังใบเขียวแก่ ลายใบขาว ขอบใบขาว0
  • 24. คนสีสอทะเล( เป็นไม้เลื้อยตามพื้นทราย )- q  ลักษณะ : ใบเดียว ท้องใบขาว รูป ร่างใบคล้ายหัวแม่มือ0 q  รส : เผ็ดร้อน ( ใช้ต้น )0 q  สรรพคุณ : แก้ลม0 ( แก๊ก : ไปทะเลคนเดียว ร้อน ลมแรง )0 •  จัดเป็นพืชประเภทเถา-เครือ0 ใบมีความนิ่ม สีอ่อน 1 ด้าน0
  • 25. คูน ( ราชพฤกษ์ )- q  ลักษณะ : มีปุ่มที่โคนใบ0 q  เนื้อในฝัก : รสหวานเอียน ระบายท้อง 0 q  ราก : รสเมา แก้คุดทะราด0 •  สสม.ใช้เป็ยาระบายในคนที่ท้องผูก เป็นประจำ และหญิงมีครรภ์ก็ใช้ได้0 รอยต่อก้านกับกิ่งใหญ่เป็นปุ่ม0 เหมือนดอกไม้ปลอมมาต่อ0 มีปุ่มใหญ่ที่โคนใบ-
  • 26. เหงือกปลาหมอ- q  ลักษณะ : ใบหยักฟันเลื่อย 0 ริมใบมีหนาม0 q  ใบ : รสร้อนเล็กน้อย 0 ตำพอกรักษาแผลอักเสบ0 q  ราก : รสเฝื่อนเค็ม 0 แก้โรคผิวหนัง0 q  ต้น เป็นยาตัดรากฝี0 q  ใช้ทั้ง 5 : รสร้อน แก้ไข้หัว0 แก้พิษกาฬได้ดีมาก0 0 0 • มี 2 ชนิด คือ ดอกขาว ,ดอกสีฟ้า0 • อีกชื่อเรียกว่า ต้นแก้มคอ0
  • 27. เจตมูลเพลิงขาว- q  ลักษณะ : ใบนิ่มกว่าเจตมูลเพลิง 0 แดง ที่ข้อใบมีสีชมพู 0 q  รส : ร้อน ( ใช้ราก )0 q  สรรพคุณ : บำรุงโลหิต0 •  อยู่ในพิกัดตรีสาร, ตรีปิตตะผล, เบญจกูล0 •  อยู่ในยาไฟห้ากอง0 โคนใบโอบรอบก้านใหญ่ 0 ข้อใบสีชมพู0 ใบอ่อนกว่าเจตมูลเพลิงแดง ใบบางและพริ้วหยัก0
  • 28. เจตมูลเพลิงแดง( ไฟใต้ดิน )0 q  ลักษณะ : ใบแข็งกว่าเจตมูล เพลิงขาว ข้อใบมีสีแดงถึงเส้น กลางใบ0 q  รส : ร้อน0 q  สรรพคุณ : บำรุงโลหิต0 •  อยู่ในพิกัดตรีสาร, ตรีปิตตะผล, เบญจกูล0 •  อยู่ในยาไฟประลัยกัลป์0 •  สตรีมีครรภ์ทานมากอาจแท้งได้0 •  อีกชื่อหนึ่งเรียกว่า ลุกใต้ดิน0โคนใบโอบรอบก้านใหญ่- สีแดงขึ้นก้านใบ-ใบแข็งชูช่อ-
  • 29. q ลักษณะ : โคนใบเป็นรูปตัว U0 ใบมีกลิ่นเฉพาะตัว0 q ราก : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0 แก้คูถเสมหะ- q ต้น : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0 แก้เสมหะในทรวงอก- q ลูก(ดอก) : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0 แก้เสมหะในลำคอ- q ใบ : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย 0 ทำให้เสมหะงวดและแห้งเข้า0 •  อีกชื่อเรียกว่า ผักอีไร0 0 ช้าพลู- ช่อดอกสั้น ดอกออกเป็นกลุ่ม- ออกใบเดี่ยวเวียนสลับรอบก้าน-
  • 30. q  ลักษณะ : ออกรากรอบๆข้อ ใบ แก่มีลักษณะยักไหล่ โคนก้านใบ มีสีแดง0 q  รส : เผ็ดร้อน0 q  สรรพคุณ : ขับลมในลำไส้ แก้ ท้องร่วง0 •  ฤษีชื่อ ปัพพะตัง บริโภคผลดีปลี0 •  ผลแก่แห้ง หมอยาเรียก ดอกดีปลี0 •  อยู่ในพิกัด ตรีกฏุก, เบญจกูล0 ดีปลี- ดอกยาว0 เป็นตุ่มขึ้นสูงจากผิวดอก0 ใบยาวหยักพริ้ว- เส้นกลางใบสีแดงระเรื่อ-
  • 31. พลูคาว- q  ลักษณะ : ใบคล้ายพลู มีกลิ่นคาว0 q  รส : ร้อนเล็กน้อยกลิ่นคาวขื่น0 q  สรรพคุณ : แก้กามโรค แก้น้ำ เหลืองเสีย0 •  ( พลูคาว-คาวโลกีย์ = กามโรค )0 มีหน่อทุกก้านใบ0 โคนข้อต่อมีสีแดงระเรื่อ- ใบเดี่ยวออกสลับ- ใบเล็กกว่าพลูโคนรูปหัวใจ- ขอบสีแดง ขยี้ใบกลิ่นคาวมาก-
  • 32. พลู- q  ลักษณะ : ใบคล้ายใบโพธิ์ โคนใบ เป็นรูปหัวใจ มีรากอากาศออกตาม ข้อ0 q  รส : เผ็ด ( ใบ )0 q  สรรพคุณ : ขับลม แก้ผื่นคัน0 แก้ปากเหม็น0 ( คนแก่เคี้ยวหมากพลู แก้ปากเหม็น )0 •  สสม. รสเผ็ด ขับลม ตามชนบทใช้ตำ กับเหล้าทาบริเวณที่เป็นลมพิษ0มีรากอากาศออกตามข้อ- โคนใบเป็นรูปหัวใจ- มีรากอากาศออกตามข้อ-
  • 33. พริกไทย-0 q ลักษณะ : มีเส้นใบ 5 เส้น0 q  เมล็ด : รสร้อนเผ็ด แก้ลมอัมพฤกษ์0 ( พริก – พฤกษ์ )0 q  เถา : รสร้อน แก้เสมหะในทรวงอก0 ( เถาพริกไทยเป็นญาติกับรากช้าพลู )0 q  ใบ : รสเผ็ดร้อน แก้ลมจุกเสียดแน่น0 •  รากพริกไทยอยู่ในพิกัดตรีวาตะผล0 •  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( ขาว-ดำ )0 ใบแข็งกว่าอบเชย- เส้นกลางใบ 5 เส้นชัด- ใบลายย่อยเป็นร่างแห-
  • 34. อบเชย- q  ลักษณะ : มีเส้นใบ 3 เส้น ใบมี ลักษณะแข็งกรอบ 0 q  รส : หอมติดร้อน ( เปลือกต้น )0 q  สรรพคุณ : แก้อ่อนเพลีย 0 บำรุงดวงจิต0 ( แก๊ก : อบ 3 ครั้งจนอ่อน )- •  อยู่ในพิกัดทศกุลาผล- - โคนใบบิดเล็กน้อย- ลายใบหลัก 3 เส้น ลายย่อยเส้นขนาน- โคนใบบิดเล็กน้อย-
  • 35. แสลงใจ- ( ลูกกระจี้ / โกฐกะกลิ้ง )0 q  ลักษณะ : มีลายเส้น 3 เส้นคล้ายอบเชย แต่ใบนิ่มกว่า0 q  เปลือกต้น เนื้อไม้ : รสเบื่อเมาขมร้อน เล็กน้อย ตัดไข้0 q ใบ : รสขมเมาเบื่อ แก้โรคไตพิการ 0 q  เมล็ด : รสเบื่อเมาขมเล็กน้อย บำรุง ประสาท บำรุงหัวใจ0 q ราก : รสเบื่อเมาขมร้อน แก้ท้องขึ้น0 •  รับประทานมาก ชักกระตุก ถึงตายได้0 0 มีช่อดอกออกที่ยอดใบคู่- มีลายเส้น 3 เส้นคล้ายพริกไทย และอบเชย แต่อ่อนนิ่มกว่า-
  • 36. เตยหอม - q ลักษณะ : เหมือนในภาพ0 q ใบ : รสเย็นหอม บำรุงหัวใจ0 ( แก๊ก : รักน้องเตย หอม จนสุดหัวใจ )0 q รากและต้น : รสจืดหอม 0 ขับปัสสาวะ0 •  ทำสีผสมอาหารได้ สีเขียว0 0
  • 37. ทองพันชั่ง- q  ลักษณะ : ข้อจะบวม หักก้านดูมีไส้ สีขาว0 q  ใบ : รสเบื่อเย็น แก้พยาธิผิวหนัง0 q  ราก : รสเมาเบื่อ แก้กลากเกลื้อน0 •  รากทองพันชั่งอยู่ใน พิกัดเบญจโลหะ, สัตตะโลหะ และเนาวโลหะ0 ใกล้ข้อป่อง- เนื้อในสีขาวเป็นโฟม- ลำต้นมี 6 เหลี่ยม-
  • 38. ลิ้นงูเห่า ( ทองระอา )- q  ลักษณะ : ใบสีเขียวเข้ม 0 เป็นคลื่น โป่งนูนขึ้น0 q  รส : เย็นเบื่อ0 q  สรรพคุณ :0 ใบ ตำกับสุราพอก แก้ปวดฝี0 ราก ฝนกับสุราทาแก้พิษพิษ ตะขาบ แมลงป่อง แลแก้พิษงู0 •  อีกชื่อเรียก ทองระอา0 ออกใบคู่ ลำต้นกลม- ใบแข็งมันคล้ายพลาสติก- ผิวหน้าใบเป็นคลื่น โป่งนูนขึ้น-
  • 39. เสลดพังพอนตัวเมีย ( พญายอ )- q  ลักษณะ : ใบบางพลิ้ว และสีอ่อน กว่าลิ้นงูเห่า0 q  รส : ขม0 q  สรรพคุณ : แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย0 ใบสีเขียวอ่อน ไม่ แข็งเหมือนลิ้นงูเห่า-
  • 40. ธรณีสาร- q  ลักษณะ : ใบประกอบคล้ายใบ มะขาม ค่อนข้างกลม ปลายใบ แหลมเล็ก ดอกสีชมพู0 q  รส : จืดเย็น (ใช้ราก )0 q  สรรพคุณ : แก้ไข้ตัวร้อน0 ดอกสีชมพู กลีบสีเขียวอมเหลือง0 เปลือกต้นสีน้ำตาล แตกเป็นลายทาง-
  • 41. ใบเงิน- q  ลักษณะ : ใบสีเขียวลายขาว0 0 q  รส : เย็น0 0 q  สรรพคุณ : ล้อมตับดับพิษ0 0
  • 42. ใบทอง- q  ลักษณะ : ใบสีเหลืองกลางใบเขียว0 0 q  รส : เย็น0 0 q  สรรพคุณ : ล้อมตับดับพิษ0 0
  • 43. ใบนาค0 q  ลักษณะ : ใบสีแดงลายขาว0 0 q  รส : เย็น0 0 q  สรรพคุณ : ล้อมตับดับพิษ0 0 0 0
  • 44. เปล้าน้อย- q  ลักษณะ : ใบคล้ายมะละกอ ก้านกับเนื้อ ใบเหมือนต่อปะกัน0 q  รส : ร้อน 0 q  ผล : ขับหนองให้กระจาย0 q  ใบ : แก้คันตามตัว0 q  เปลือกต้น : ช่วยย่อยอาหาร0 q  แก่น : แก้ช้ำใน0 q  ราก : แก้ลมขึ้นเบื้องบนให้เป็นปกติ0 ใบรูปมะละกอ ขอบหยักเล็กน้อย- • เปล้า คันเป้า- ( แก้คันตามตัว )-
  • 45. เปล้าใหญ่- q  ลักษณะ : ใบหยักฟันเลื่อย มี0 กลิ่นหอม มีจุดที่โคนใบ0 q  รส : ร้อนเมาเอียน ( ใบ )0 q  สรรพคุณ : บำรุงธาตุ0 ( ปลาปั๊กเป้าตัวใหญ่ ( สัตว์ ) = บำรุงธาตุ )- •  จุดพิกัดต่างกันที่ขนาด ( น้อย-ใหญ่ )0 ใบใหญ่ ยาว ขอบหยักพลิ้ว- มีจุดดำ 2 จุด ที่โคนหลังใบ- ขยี้ใบดม มีกลิ่นหอม-
  • 46. หนาด- q  ลักษณะ : มีหนวดที่โคนใบ ใบ นิ่มๆ เป็นขน0 q  รส : เมาฉุนเล็กน้อย ( ใบ )0 q  สรรพคุณ : แก้ริดสีดวงจมูก ขับเหงื่อ0 มีหนวดที่โคนก้านใบ- มีหนวดที่โคนใบ- ( แก๊ก : วิ่งหนีผีเข้าดง หนาดจน เหงื่อแตก )-
  • 47. ตีนเป็ดต้น( พญา สัตตบรรณ )- q  ลักษณะ : ใบเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 ใบ ออกเป็นชั้น เส้นลายใบขนานกัน0 q  เปลือกต้น : รสขม แก้ไข้เพื่อดีพิการ0 q  ใบ : รสจืด แก้ไข้หวัด0 q  ดอก : รสขมเย็น แก้ไข้เหนือ0 q  ราก : รสร้อนเล็กน้อย ขับผายลม0 q  กระพี้ : รสร้อนเล็กน้อย ขับโลหิตให้ตก0 •  ตีนเป็ดต้น เรียกอีกชื่อว่า พระยาสัตบัน- มี 5-6 ใบ- กลุ่มใบ 1 ชั้น หน้าใบเขียว-หลังขาว-
  • 48. ตีนเป็ดน้ำ - q  ลักษณะ : ใบเป็นกลุ่ม ออกเวียน 2-3 ชั้น หน้าใบเขียว-หลังขาว ปลายใบแหลม0 q  เปลือกต้น : รสจืดเฝื่อน แก้นิ่ว0 q  ใบ : รสเมาเบื่อ ฆ่าพยาธิผิวหนัง0 q  กระพี้ : รสเบื่อเมา แก้เกลื้อน0 •  เรียกอีกชื่อว่า พะเนียงน้ำ0 ใบเป็นกลุ่ม ออกเวียน-
  • 49. พิลังกาสา0 q  ลักษณะ : ยอดโคนใบสีชมพู 0 ใบกรอบ0 q  ราก : รสเมา แก้กามโรค0 q  ต้น : รสเมา แก้โรคผิวหนัง0 q  ใบ : รสร้อน แก้ตับพิการ0 q  ลูก : รสฝาดสุขุม แก้ท้องเสีย0 q  ดอก : รสขมเมา ฆ่าเชื้อโรค0 •  ( แก๊ก : พิลังกาเสีย ใบเป็นตับ )0 โคนใบสีชมพู- ไม่มีร่างแห-
  • 50. พิกุล0 q  ลักษณะ : ขอบใบพลิ้วเป็นคลื่น0 q  ใบ : รสเมาเบื่อฝาด ฆ่าเชื้อกามโรค0 q  ดอก : รสฝาดกลิ่นหอม บำรุงโลหิต0 q  แก่น : รสขมเฝื่อน บำรุงโลหิต0 q  กระพี้ : รสเมาเบื่อ แก้เกลื้อน0 q  เปลือกต้น : รสฝาด แก้แมงกินฟัน0 •  แก่นที่ราลงเรียก ขอนดอก0 ใบห่อเล็กน้อย - ขอบใบแก่ บิดพลิ้ววตลอดใบ 0 หลังใบไม่มีลายร่างแห0
  • 51. ฝ้ายแดง0 q  ลักษณะ : ใบมี 5 แฉก เส้นก้านใบ สีแดง ส่องแดดจะเห็นเป็นจุดๆ0 q  รส : เย็นเบื่อ0 q  สรรพคุณ : แก้ไข้ ขับเหงื่อ0 แก้พิษตานซางเด็ก0 ( เด็กหญิงฝ้ายตัวแดงเพราะพิษไข้ )0 •  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง-ขาว )0 หลังใบมีหนาม 1 หนาม0 ก้านสีแดงมีร่อง0 ใบเป็น 5 แฉก-
  • 52. กระเจี๊ยบแดง- q  ลักษณะ : ใบมี 5 แฉก ลำต้นแดง ก้าน ใบแดงถึงเส้นกลางใบ ชิมใบดูมีรส เปรี้ยว0 q  ใบ : รสเปรี้ยว กัดเสลด0 q  เมล็ดใน : รสจืด บำรุงธาตุ0 q  ผล : รสจืดเมาเล็กน้อย ขับเหงื่อ0 q ใช้ทั้ง5 : แก้พยาธิตัวจี๊ด0 •  ในสสม. ใช้กลีบเลี้ยงและกลีบรองดอก ใช้รักษา อาการขัดเบา โดยนำไปตากแห้ง และบดเป็นผง ใช้ ครั้งละ 1 ช้อนชา ชงน้ำเดือด 250 ซีซี ดื่มเฉพาะ น้ำสีแดงใส วันละ 3 ครั้ง ติดต่อกันจนกว่าจะหาย- •  ใช้กลีบเลี้ยงต้มกับน้ำ กรองเอากากออก ได้สีแดง- เส้นหลังชัดเจน- เส้นกลางสีแดง- แดงบ้างเขียวบ้าง- ลำต้นมีสีแดงเข้ม0 -
  • 53. ฝาง0 q  ลักษณะ : ใบคล้ายมีดอีโต้ 0 ก้านใบมีหนาม0 q  รส : ขมขื่นฝาด ( แก่น )0 q  สรรพคุณ : แก้ท้องร่วง โลหิต ออกทางทวารหนัก0 •  ( แก๊ก : ฝาง-ขวาง-ไม่ให้ร่วง )0 •  นำแก่นฝางแช่น้ำ ได้สีชมพูเข้ม ใช้ แต่งสีอาหารได้0 ก้านมีหนาม- ใบคล้ายมีดอีโต้-
  • 54. โคคลาน- q  ลักษณะ : ใบคล้ายใบโพธิ์ หลังใบ นิ่มคล้ายกำมะหยี่ หน้าใบสาก ก้านมีตุ่มเล็กๆ ออกสลับรอบกิ่ง0 q ใช้เถาทำยา0 q  รส : ขมเบื่อเย็น 0 q  สรรพคุณ : แก้ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย บำรุงโลหิต0 •  ( โคคลาน จนเมื่อยขา )- •  เป็นพืชจำพวก เถา - เครือ- - ก้านออกสลับรอบกิ่ง0 ใบเหมือนใบโพธิ์ ท้องใบเป็นกำมะหยี่- ก้านออกสลับรอบกิ่ง-
  • 55. โคกกระสุน0 q  ลักษณะ : ก้านออกตรงข้ามกัน ข้อก้าน และข้อใบสีชมพูแดง ใบเล็กคล้ายผัก กระเฉด ลูกเป็นระเบิดแฉก มีหนาม0 q  รส : รสเค็มขื่นเล็กน้อย ( ต้น / ใบ )0 q  สรรพคุณ : แก้ปัสสาวะพิการ0 •  อีกชื่อเรียกว่า กาบินหนี0 •  สรรพคุณเสมอกับ นมพิจิตร0 ( แก๊ก : กาบินหนีไปพิจิตร เพราะกลัวกระสุน จนปัสสาวะพิการ )0 •  เป็นพืชจำพวกหญ้า0 ข้อก้านและข้อใบ สีชมพูแดง- ใบเล็กคล้ายผักกระเฉด- ก้านออกตรงข้ามกัน0
  • 56. โคกกระออม ( ตุ้มต้อก )- q  ลักษณะ : ไม้เถา ผลมี 3 กลีบ0 q  ใช้ทั้ง 50 q  รส : ขมเย็น0 q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ 0 บำรุงน้ำนม0 ( ตุ้มต้อก เต้า บำรุงน้ำนม )0 ผลมี 3 กลีบ ภายในสีดำ มีรูปหัวใจสีขาว0
  • 57. มะระขี้นก ( ผักไห )- q  ลักษณะ : 0 ใบเป็นแฉก ผลขรุขระ0 q  ใบ / เถา : 0 รสขม บำรุงน้ำดี0 q  ผล : รสขม บำรุงระดูสตรี0 แก้บวม0 •  เรียกอีกชื่อว่า ผักไห0 0
  • 58. บอระเพ็ดตัวเมีย0 q  ลักษณะ : เถามีตุ่มนูนสูง มือรูป แล้วสะดุดโคนใบเป็นรูปตัว V0 q  รส : ขม0 q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำดี 0 •  สรรพคุณเสมอ ชิงช้าชาลี0 •  อยู่ในยาจันทลีลา ( 3 ทหารขม )0 ตุ่มนูนสูง มือลูบแล้วสะดุดมาก- โคนใบรูปตัว V-
  • 59. บอระเพ็ดตัวผู้ ( ชิงช้าชาลี )- q ลักษณะ : โคนใบเป็นรูปตัว 0 U มีรูปใข่ 2 อันที่โคนใบ0 q  รส : ขม0 q  สรรพคุณ : แก้ไข้เหนือ 0 เจริญอาหาร0 •  0 โคนใบเป็นรูปตัวU (ยู)0 มีรูปไข่ 2 อันที่โคนใบ0 • สรรพคุณเสมอ- โกฐก้านพร้าว- โคนใบเป็นรูปตัว U-
  • 60. หญ้านางแดง- q  ลักษณะ : มีหนวด งอๆ ตามข้อ ใบ คล้ายหนวดผีเสื้อ ใบบางกว่า หญ้านางเล็กน้อย0 q  ใช้รากทำยา0 q  รส : เย็น 0 q  สรรพคุณ : แก้ผิดสำแดง 0 แก้เมาเห็ด เมาสุรา0 0 0 มีหนวดงอๆ ตามข้อใบ-
  • 61. หญ้านาง(หญ้าภคินี )- q ลักษณะ : ใบคล้ายรางจืด แต่ เถาแข็ง และเหนียวบีบไม่แตก 0 q  รส : เย็นขม0 q  สรรพคุณ : แก้ไข้ทุกชนิด0 •  อีกชื่อเรียก ปู่เจ้าเขาเขียว 0 •  มี 2 ชนิด คือ ชนิดขาว และเขียว0 เถาบีบไม่แตก ( เถารางจืดบีบ แตก)0 ไม่มีหนวดที่ก้าน0 โคนใบ มีสีเขียว ไม่แดง0
  • 62. รางจืด ( รางเย็น )- q  ลักษณะ : เถากลวง บีบดู0 q  รส : เย็น ( ใช้ราก )0 q  สรรพคุณ : ถอนพิษเบื่อเมา0 มีหน่อ 2 หน่อที่โคนก้านใบ0 ขอบใบหยักเหมือนหนามสีขาวเล็กๆ ลูบจะสะดุดมือ0 เถากลาง-
  • 63. ตานหม่อน ( ตาลขี้นก )- q  ลักษณะ : หลังใบขาว ออกใบ 0 สลับ เถาขาว0 q  ใช้ทั้งต้น0 q  รส : เบื่อเย็น ( พืชวัตถุ )0 หวานเย็น ( ยา 9 รส )0 q  สรรพคุณ : แก้พิษตานซาง0 •  รากตานหม่อนอยู่ในพิกัดตานทั้ง 50 ( โตนด-ดำ-ขโมย-เสี้ยน-หม่อน )0
  • 64. เถาเอ็นอ่อน0 q  ลักษณะ : หลังใบขาว หน้าใบ เขียว หักใบมียาง ( น้ำนม ) ออก มา เส้นลายใบคล้ายกระทิงแต่ห่าง กว่า0 q  ใบ : รสเบื่อเอียน 0 แก้ปวดเสียวตามร่างกาย0 q  เถา : รสขมเมา 0 แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย0 •  ตีนเป็ดเครืออีกชื่อเรียก เถาเอ็นอ่อน0
  • 65. เถาวัลย์เปรียง- q  ลักษณะ : ใบรูปมะละกอ ปลาย ใบเหมือนจุกนม0 0 q  รส : เบื่อเอียน ( เถา )0 0 q  สรรพคุณ : แก้ปวดเมื่อย ทำให้ เส้นเอ็นหย่อน0 ปลายใบเหมือนจุกนม-
  • 66. เพชรสังฆาต (ขันข้อ, สามร้อยต่อ )0 q  ลักษณะ : เถาเป็นสี่เหลี่ยม0 q  รส : ขื่นร้อนเล็กน้อย0 q  ใช้เถา 0 q  สรรพคุณ : แก้กระดูกแตก แก้ ริดสีดวงทวารหนัก0 0
  • 67. เล็บมือนาง0 q  ลักษณะ : ก้านใบบิดเล็กน้อย0 q  ใช้ทั้ง 50 q  รส : เอียนเบื่อเล็กน้อย0 q  สรรพคุณ : ขับพยาธิ แก้พิษตาน ซาง0 0 - ก้านบิดเล็กน้อย ออกใบคู่- ดอกแก่สีชมพู(แดง) - ดอกยาวเหมือนคบเพลิง - ใบบางมาก ขอบใบบิด ปลายหลุบลงท้องใบสากลายชัด-
  • 68. มะลิ ( ไม้เถายืนต้น )- q  ลักษณะ : ใบบางอ่อนสีเขียว บิดพลิ้วเล็กน้อย0 q  เถา : รสขื่นเย็น แก้คุดทะราด0 q  ใบสด : รสเย็นฝาด แก้แผลพุพอง0 q  ดอก : รสหอมเย็น แก้ร้อนใน กระหายน้ำ ทำให้จิตใจแช่มชื่น0 0 •  ดอกมะลิอยู่ในพิกัดเกสรทั้ง 5, 7 และ 90 •  ดอกมะลิอยู่ในยาหอมเทพวิจิตร 184 ส่วน0 มีเขา 4 เขา0
  • 69. มะแว้งเครือ- q  ลักษณะ : เถามีหนาม ผลลาย ก้าน ผลยาว0 q  ผล : รสขม แก้ไอ ขับเสมหะ0 q  ราก : รสขื่นเปรี้ยวเล็กน้อย แก้ไอ แก้น้ำลายเหนียว0 0 •  อยู่ในยาประสะมะแว้ง 8 ส่วน-
  • 70. มะแว้งต้น- q  ลักษณะ : ใบสีเขียวนวลๆ ลูก ก้านสั้น และไม่ลาย0 q  ราก : รสเปรี้ยวเอียน 0 แก้น้ำลายเหนียว0 q  ผลสุก : รสขื่นขม 0 กัดเสมหะในลำคอ0 q  ผลดิบ : รสขื่นขม แก้เบาหวาน0 •  สสม. ใช้ผลแก่สด รสขม เป็นยากัด เสมหะ0 •  อยู่ในยาประสะมะแว้ง 8 ส่วน0
  • 71. มะกล่ำตาหนู ( มะกล่ำเครือ )- q ลักษณะ : ใบเล็กๆคล้ายใบ มะขาม แต่มีรสหวาน0 q ราก : รสเปรี้ยวขื่น 0 แก้เสมหะในลำคอ0 q เมล็ด : ขื่นเย็น0 แก้ริดสีดวงตา0 •  มะกล่ำเครือ เป็นพิษต่อร่างกาย มาก ไม่ควรใช้0 0
  • 72. มะขามไทย- q  ลักษณะ : ก้านสีน้ำตาลแดง ใบประกอบ0 q  เปลือกต้น : รสฝาด ต้มเอาน้ำชะล้างบาดแผล ทำให้หายเร็ว0 q  ใบแก่ : รสเปรี้ยวฝาด ขับเสมหะในลำไส้0 q  เนื้อในฝัก : รสเปรี้ยวจัด กัดเสมหะ0 q  เปลือกเมล็ด : รสฝาด คั่วไฟเอาเปลือกแช่น้ำรับ ประทาน แก้ท้องร่วง0 q  เมล็ดใน ( คั่วแล้ว ) : รสมันเบื่อ ขับพยาธิไส้เดือน ตัวกลม0 q  รกมะขาม : รสฝาดเปรี้ยวเล็กน้อย แก้ท้องเสีย0 q  น้ำส้มมะขามเปียก : รสเปรี้ยว รับประทานกับน้ำ ปูนใส ขับเลือด ขับลมสำหรับสตรี0 ก้านสีน้ำตาลแดง-
  • 73. สีเสียด- q ลักษณะ : มีปุ่มเหมือนเห็บ 3 ตัว เกาะอยู่ ก้านไม่มีหนาม ใบเล็ก ละเอียดกว่าใบส้มป่อย 0 q ใช้เปลือกต้น และยาง0 q รส : ฝาดจัด 0 q สรรพคุณ : แก้ท้องร่วง 0 แก้บิดมูกเลือด0 •  จุลพิกัดต่างกันที่ถิ่นเกิด ( ไทย-เทศ )0 •  อยู่ในยาเหลืองปิดสมุทร0 ใบเล็กละเอียดมาก สีเขียวขาว-
  • 74. ส้มป่อย ( ไม้เถายืนต้น )- q  ลักษณะ : หลังก้านใบมีหนาม ก้านใบมีเห็บ 2 จุด ชิมดูรสเปรี้ยว0 q  รส : เปรี้ยวฝาดเล็กน้อย ( ใบ )0 q  สรรพคุณ : ฟอกล้างโลหิตระดู ประคบให้เส้นเอ็นหย่อน0 •  ฝักส้มป่อยอยู่ในยาไฟห้ากอง0 มีปุ่มเหมือนเห็บ 2 ปุ่ม0 ที่โคนและปลายกิ่งใบ0 มีปุ่มเหมือนเห็บ-
  • 75. สำมะงา- q  ลักษณะ : ก้านสีน้ำตาล ซอก 0 ก้านมีเม็ดสีขาวคล้ายสิวอยู่ 0 ใบส่องแดดเห็นเส้นก้านใบ0 q  รส : เย็นเบื่อ ( ใช้ใบ )0 q  สรรพคุณ : ต้มเอาน้ำอาบ 0 แก้โรคผิวหนัง0 ออกใบเวียนคู่สลับรอบก้าน- ก้านหลักสีแดงออกน้ำตาล- มีเม็ดสีขาว 2 เม็ดขึ้นทีข้อก้านใบ-
  • 76. หนุมานประสานกาย - ( ไม้เถายืนต้น )- 0 q  ลักษณะ : ใบออกเป็นกลุ่ม 7 ใบ0 q  รส : ฝาดเย็นเอียน ( ใบ )0 q  สรรพคุณ : แก้หืดหอบ ห้ามเลือด และสมานแผลได้ดี0 •  จัดเป็นพืชประเภท เถา-เครือ0 •  ( แก๊ก : หนุมาน-ห-หืด หอบ 0 ประสาน = สมานแผล )0
  • 77. อัญชัน- q  ลักษณะ : ใต้ใบมีขนเล็กๆ ละเอียด มีเขี้ยวเล็กๆ ยื่นยาว ออกมาทุกข้อก้าน0 q  รส : รสจืด ( ใช้ราก )0 q  สรรพคุณ : แก้ปวดฟัน0 •  ทำสีผสมอาหารได้ สีน้ำเงิน โดยใช้ กลีบดอกสด ตำ เติมน้ำเล็กน้อย กรองด้วย ผ้าขาวบาง0 มีเขี้ยวเล็กๆ ยื่นยาว- ออกมาทุกข้อก้าน-
  • 78. มหากาฬ ( ว่านมหากาฬ )- q  ลักษณะ : ใบลายๆ สีม่วง0 0 q  หัว : รสเย็น ดับพิษกาฬ0 0 q  ใบ : รสเย็น ตำพอกถอนพิษฝี0 0 •  จัดอยู่ในประเภท หัว - เหง้า0
  • 79. ดองดึง- q  ลักษณะ : ปลายใบม้วนงอ0 q  ใช้หัวทำยา0 q  รส : ร้อนเมา0 q  สรรพคุณ : แก้ปวดข้อ 0 แก้กามโรค0 •  จัดเป็นพืชจำพวก หัว - เหง้า0 ปลายใบม้วนงอ-
  • 80. q  ลักษณะ : เหมือนในภาพ0 q  ส่วนที่ใช้ตาไผ่ 0 q  รสจืด- q  สรรพคุณ : เอา 7 ตาต้มรับประทาน แก้สตรีตกโลหิตมากเกินไป0 0 ไผ่เหลือง-
  • 81. หญ้าแห้วหมู- q  ลักษณะ : ใบคล้ายใบเตย แต่เล็ก ยาวพลิ้ววและ เรียบกว่า มีหัวที่โคน รากคล้ายเผือกแต่เล็ก 0 q  ใช้หัวทำยา0 q  รส : ซ่าติดจะร้อนเผ็ด0 q  สรรพคุณ : บำรุงธาตุ เจริญอาหาร บำรุงครรภ์รักษา0 •  อยู่ในพิกัดเบญจผลธาตุ0 •  ใน สสม. ใช้ขับลม แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่นจุกเสียด0 •  มี 2 ชนิด คือ เล็ก และใหญ่0
  • 82. q  ลักษณะ : ลำต้นเป็นปล้องกลม แบ่งออกเป็นข้อๆ สีม่วง0 q  รส : จืดเย็น ( หัว )0 q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ0 •  อยู่ในพิกัดเบญจผลธาตุ0 หญ้าชันกาด- ใบเดี่ยวออกจากลำต้น0 แบบสลับฐานใบมน 0 ปลายแหลม ด้านบนมีขน0 ลำต้นเป็นปล้องกลม 0 แบ่งออกเป็นข้อๆ สีม่วง0 ลำต้นเป็นปล้องกลม - แบ่งออกเป็นข้อๆ สีม่วง-
  • 83. หญ้าคา0 q  ลักษณะ : ใบเดี่ยวแข็งสาก เส้นกลาง ใบสีขาว ใบยาวคล้ายตะไคร้ ใบเอามือ ลูบดูคม0 q  รส : หวานเย็นเล็กน้อย ( ใช้ราก )0 q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ0 •  ใน สสม. รสจืด0 ใบเดี่ยวแข็งสาก- เส้นกลางใบสีขาว - รากเป็นปล้องๆ0
  • 84. หญ้าปากควาย0 q  ลักษณะ : ดูที่ดอก มีลักษณะ เหมือนแปรงสีฟัน0 q  ใช้ทั้งต้น0 q  รส : เย็น0 q  สรรพคุณ : ช่วยย่อยอาหาร0 •  ( แก๊ก : ควายชอบเคี้ยวเอื้องตอนเย็น0 ใบยาวไม่กว้างมาก- พริ้วเล็กน้อย- ดอกเหมือน0 แปลงสีฟันคว่ำ0
  • 85. หญ้าตีนกา- q  ลักษณะ : ยอดมี 5-6 ช่อเป็น เส้นยาวๆ มีเดือย 1 เส้น0 q  รส : ขมเย็น ( ต้น )0 q  สรรพคุณ : ลดความร้อน แก้ พิษไข้กาฬ0 0 ยอดมี 5-6 ช่อ0 มีขนสีขาว0 ปกคลุมกาบใบ,ฐานใบ0
  • 86. หญ้าตีนนก0 q  ลักษณะ : ยอดมี 2-3 ช่อ (ไม่เกิน )0 q  รส : ขม0 q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำดี แก้ไข้เพื่อดี0 •  ( แก๊ก : น้องนกผิวขาวเป็นคนดี๊ ดีเรียน อยู่จุฬา ) 0 รสขม0 •  สรรพคุณเสมอโกฐจุฬาลัมพา0ยอดมี 2-3 ช่อ (ไม่เกิน )- มีขนขึ้นบริเวณกาบใบ0
  • 87. หญ้าแพรก- q  ลักษณะ : เหมือนในภาพ0 q  ใช้ทั้งต้น0 q  รส : ขมเย็น0 q  สรรพคุณ : แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้สตรีตกโลหิตมากเกินไป0 0 0
  • 88. กกลังกา ( กกขนาก )- q  ลักษณะ : ใบมีลักษณะคล้ายกางร่ม- q  รส : ขมเอียน ( หัว )0 q  สรรพคุณ : บำรุงธาตุ ( กา)0 •  อยู่ในพิกัดเบญจผลธาตุ-
  • 89. กะเม็ง0 q ลักษณะ : ออกใบคู่ตามข้อ ดูที่ดอกมี ลักษณะเหมือนในภาพ0 q  รส : เอียน ( ต้น/ดอก/ราก )0 q  สรรพคุณ : 0 ต้น บำรุงโลหิต0 ดอก แก้ดีซ่าน0 ราก ขับลมในลำไส้และกระเพาะอาหาร0 •  เป็นพืชจำพวกหญ้า มี 2 ชนิด คือ ดอกขาว กับ ดอกเหลือง0 •  สรรพคุณเสมอกับ ผักคราด0 •  กระเม็งมีธาตุเหล็กเจือปนอยู่ด้วย(เฮียเม็งขายเหล็ก)0 0 ใบเล็กมากยาว มีขนสีขวาอยู่ทั่วใบ0 ออกใบคู่ตามข้อ0 ดอกเล็ก
  • 90. ขลู่ ( หนาดวัว )- q  ลักษณะ : ขอบใบหยักคล้ายฟัน กระต่ายขูดมะพร้าว0 q  ต้น รสเหม็นขื่น ขับปัสสาวะ0 q  ใบ คั่วให้เกรียม รสหอมเย็น0 ขับปัสสาวะ0 q  เปลือก รสเมาเบื่อเล็กน้อย 0 แก้ริดสีดวงจมูก แก้ริดสีดวง ทวารหนัก0 •  เป็นพืชจำพวกหญ้า0 •  ใน สสม. ใช้ทั้ง 50 ลำต้นอวบน้ำ ใบเดี่ยว เวียนรอบก้าน- ขอบใบหยักไม่แข็ง 0 ลายใบบาง0
  • 91. หญ้าขัดมอน0 q  ลักษณะ : ดอกสีเหลือง ฐานรอง ดอกสีเขียว ออกดอกทุกข้อ0 ขอบใบหยักฟันเลื่อย0 q  รส : เผ็ด0 q  ใช้ราก เป็นเมือก0 q  สรรพคุณ : แก้ปวดมดลูก 0 แก้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ 0 ใบบางสีเขียวเข้ม 0 ขอบใบหยักฟันเลื่อย0 ออกดอกทุกข้อ0
  • 92. ขอบชะนางขาว- q  ลักษณะ : ลายใบชัดเจน ออกใบ เดี่ยวเวียนรอบก้าน ออกดอกขนาด เล็ก /กลม( สีน้ำตาลแดง )ทุกข้อใบ0 q  ใช้ทั้งต้น- q  รส : เมาเบื่อร้อนเล็กน้อย0 q  สรรพคุณ : ขับระดูขาว0 ขับโลหิตประจำเดือน ขับปัสสาวะ0 •  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง – ขาว )0 •  อีกชื่อเรียก หนอนตายอยากขาว0 0 ออกดอกขนาดเล็ก /กลม- ( สีน้ำตาลแดง )ทุกข้อใบ-
  • 93. ขอบชะนางแดง- q ลักษณะ : ใบเล็กเรียวยาว มักพับห่อ เข้าหากัน หน้าใบสีเขียว หลังใบสีแดง0 q  ใช้ทั้งต้น0 q  รส : เมาเบื่อร้อนเล็กน้อย0 q  สรรพคุณ : ขับระดูขาว0 ขับโลหิตประจำเดือน ขับปัสสาวะ0 •  จุลพิกัดต่างกันที่สี ( แดง – ขาว )0 •  อีกชื่อเรียก หนอนตายหยากแดง0 •  สรรพคุณเสมอกับ กะเพียด0 ลำต้นออกแดง 0 เป็นรอยข้อใบชัดเจน0
  • 94. หญ้าใต้ใบ ( ลูกใต้ใบ )- q  ลักษณะ : ใบเล็ก คล้ายมะขาม ออกสลับ มีลูกเล็กๆ อยู่ใต้ก้านใบ0 q ใช้ทั้งต้น- q  รส : ขมเย็น 0 q  สรรพคุณ : แก้ไข้มาลาเรีย0 0 0 0 ออกลูกเล็กๆ ใต้กานใบ- ออกลูกเล็กๆ ใต้กานใบ-
  • 95. หญ้าน้ำนมราชสีห์- q  ลักษณะ : ขอบใบมีหยักฟันเลื่อย0 หักใบจะมียางสีขาว 0 q  รส : ขม ( ใช้ต้น )0 q  สรรพคุณ : บำรุงน้ำนม0 ขอบใบมีหยักฟันเลื่อย0 ก้าน ขอบใบ เส้นใบ- มีสีแดงม่วง
  • 96. หญ้าพันงูขาว- q  ลักษณะ : ใบค่อนข้างนิ่ม สีเขียว อ่อน เส้นลายใบชัดเจน0 ลูกมักติดขาเวลาเดินผ่าน0 q  ใช้ทั้งต้น- q  รส : จืดขื่น0 q  สรรพคุณ : แก้ไข้ตรีโทษ0 0
  • 97. หญ้าพันงูเขียว0 q  ลักษณะ : .ใบสีเขียวเข้ม ขอบหยัก ฟันเลื่อย เส้นลายใบสีขาวชัดเจน0 q  ใช้ทั้งต้น- q  รส : จืด0 q  สรรพคุณ : ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ0 0
  • 98. หญ้าหนวดแมว( พยับเมฆ )0 q  ลักษณะ :ใบหยักสวยสมมาตรช้าย-ขวา ก้านสี่ เหลี่ยมสีแดง0 q  รส : รสจืด ( ใช้ต้น )0 q  สรรพคุณ : ขับปัสสาวะ ขับนิ่ว0 •  ใช้มากเป็นอันตราย กดหัวใจทำให้หยุดเต้นได้ ( เพราะมีสารโปรแตสเซียมมาก )0 0 0 ใบหยักสวย- สมมาตรช้าย-ขวา - จะมีดอกขึ้นทุกช่อ - ก้านสี่ เหลี่ยมสีแดง0
  • 99. แพงพวยบก- q  ลักษณะ : ลำต้นสีแดง ใบมี เส้นกลางใบสีขาวชัดเจนใช้ รากทำยา0 q  รส : เย็นเบื่อ0 q  สรรพคุณ : แก้มะเร็ง น้ำ เหลืองเสีย0 (แก๊ก : มะเร็งค่ารักษาแพง )0 0
  • 100. มะกรูด- q  ลักษณะ : ใบคล้ายเลข 8 มีลายจุด กลิ่น หอมเฉพาะตัว0 q  ผล : รสเปรี้ยว ฟอกโลหิตระดู0 q  ผิวลูก : รสปร่าหอมติดร้อน 0 ขับลมในลำไส้0 q  น้ำในลูก : รสเปรี้ยว0 แก้เลือดออกตามไรฟัน0 q  ราก : รสปร่า กระทุ้งพิษไข้0 •  ลูกมะกรูดสรรพคุณเสมอ ส้มซ่า- •  น้ำมะกรูดสรรพคุณเสมอกับน้ำมะนาว- •  ผิวมะกรูด อยู่ในยาประสะกระเพรา 20 ส่วน- และอยู่ในยาประสะไพล 8 ส่วน- ใบคล้ายเลข 8-
  • 101. มะนาว- q  ลักษณะ : มีหนามที่ข้อก้านใบ0 q  ใบ : รสปร่าซ่า กัดฟอกเสมหะและระดู ใช้ใน พิกัด 108 ใบ0 q  ราก : รสขื่นจืด ถอนพิษไข้กลับซ้ำ0 q  น้ำในลูก : รสเปรี้ยว กัดเสมหะ 0 แก้ไอ0 q  เมล็ด ( คั่วไฟ ) : รสขมหอม 0 ขับเสมหะ แก้ซางเด็ก0 •  ผิวมะนาวอยู่ในยาหอมเทพวิจิตร 4 ส่วน- •  น้ำมะนาว สรรพคุณเสมอ น้ำมะกรูด- •  ใบมะนาว 108 ใบ เป้นน้ำกระสายยา แก้ไข้เพ้อคลั่ง0 มีหนามที่ข้อก้านใบ-
  • 102. มะเกลือ- q  ลักษณะ : กิ่งและก้านใบสีเหลืองสด เส้น กลางใบสีเหลืองถ้าขูดหลังใบจะเป็นรอย ช้ำ 0 q  ผล : รสเบื่อเมา ตำคั้นเอาน้ำประมาณ 2 ชต.ผสมหัวกะทิหรือนมสด รับประทาน ขับพยาธิ0 q  ราก : รสเมาเบื่อ ฝนกับน้ำซาวข้าว แก้ อาเจียน 0 •  ใน สสม. ใช้ผลดิบสด ( ผลแก่ที่มีสีเขียว ผลสุกสี เหลือง หรือผลสีดำห้ามใช้ ) โดยใช้จำนวนเท่าอายุ ของคนไข้ แต่ไม่เกิน 25 ผล นำมาตำพอแหลก ผสมกับหัวกระทิสด คั้นเอาแต่น้ำดื่มให้หมดก่อน รับประทานอาหารเช้า0 0 ถ้าขูดหลังใบจะเป็นรอยช้ำ กิ่ง , ก้านใบ - และเส้นกลาง ใบสีเหลือง- หน้าใบสีเขียวเข้ม - หลังใบสีเขียวเหลือง-
  • 103. มะกา- q  ลักษณะ : ใบบางๆ หลังใบสีเข้ม กว่าท้องใบ ท้องใบสีขาวนวล 0 q ใบ : รสขมขื่น 0 ถ่ายเสมหะและโลหิต0 q  เปลือกต้น : รสขมฝาด 0 สมานลำไส้0 •  อยู่ในยาถ่าย0 ลายใบย่อยขนานกัน- ลายใบย่อยขนานกัน-
  • 104. มะกอกน้ำ- q  ลักษณะ : ก้านใบแดงๆ ขอบใบ หยัก มีหนามอ่อนๆสีดำตรงรอย หยักของใบ0 q  รส : เปรี้ยวฝาด ( เมล็ด )0 q  สรรพคุณ : แก้กระหายน้ำ0 •  รากมะกอกอยู่ในพิกัดตรีอมฤต0 •  เมล็ดมะกอกเผาไฟ เป็นกระสายยา แก้กระหายน้ำ0 ก้านใบสีแดง- ขอบใบมีหนามสีดำตรงรอยหยัก-
  • 105. มะดัน0 q  ลักษณะ : ลำต้นสีแดงดำ 0 ใบกรอบ0 q  รส : รสเปรี้ยว ( ราก / ใบ )0 q  สรรพคุณ : แก้ระดูเสีย 0 กัดเสมหะ0 •  วัดโพธิ์ ใช้ทั้ง 5 รสเปรี้ยว0 ก้านสีแดงดำ-
  • 106. มะเดื่อชุมพร- q  ลักษณะ : ก้านเป็นสีส้มบิดนิดๆ0 q  ราก : รสฝาดเย็น กระทุ้งพิษไข้0 q  เปลือกต้น : รสฝาด แก้ท้องร่วง0 •  รากมะเดื่อชุมพรอยู่ในพิกัดเบญจโลกวิเชียร0 •  เปลือกต้นเป็นน้ำกระสายยา แก้ท้องเดิน0 ก้านใบ โคนก้านใบ- มีสามเหลี่ยมสีส้ม- เส้นกลางใบสีเหลือง- ก้านใบ โคนก้านใบมีสีส้ม-
  • 107. มะตูม- -q  ลักษณะ : ใบสีเขียวอ่อน ใบบางขอบใบ หยักมนโค้ง 1ใบใหญ่ 2 ใบเล็ก 0 q  ราก : รสปร่าซ่าขื่นเล็กน้อย แก้พิษไข้ แก้ สติเผลอ0 q  เปลือกราก / ลำต้น : รสปร่าซ่าขื่น ขับลม ในลำไส้0 q  ใบสด : รสปร่าซ่าขื่น คั้นเอาน้ำรับ ประทาน แก้หวัด 0 q  ผลอ่อน : ชนิดเปลือกลูกแข็ง หั่นตาก แดดปรุงเป็นยาธาตุ แก้ธาตุพิการ0 q  ผลสุก ระบายท้อง ช่วยย่อยอาหาร0 •  มี 3 ชนิด คือ ลูกกลม ลูกยาว และลูกนิ่ม- •  รากมะตูมอยู่ในพิกัด ตรีสินธุรส- •  ลูกมะตูมอยู่ในพิกัด ตรีผลสมุฎฐาน- - ก้านหลักด้านหนึ่งสีแดง- อีกด้านสีเขียว- เหมือนปากจู๋0 มีหนามแหลมคู่ตามข้อ0 ขอบใบหยักมนโค้ง 1ใบใหญ่ 2 ใบเล็ก-
  • 108. มะเฟือง- q  ลักษณะ : โคนก้านใบเป็นตุ่มสี แดง ใบคล้ายใบมะยม0 q ลูก : รสเปรี้ยวหวาน กัดเสมหะ0 q  ใบ / ราก : รสเย็น ดับพิษร้อน แก้ไข้ 0 •  จุลพิกัดต่างกันที่รส ( เปรี้ยว-หวาน )0 0 โคนก้านใบเป็นตุ่มสีแดง-
  • 109. มะยม- q  ลักษณะ : เหมือนในภาพ0 q  เปลือกต้น : รสเปรี้ยว แก้เม็ดผื่นคัน 0 q  ใบ : รสเปรี้ยว แก้ไข้ตัวร้อน 0 q  ราก : รสจืดเย็นติดเปรี้ยว0 แก้เม็ดประดง น้ำเหลืองเสีย 0 •  จุลพิกัดต่างกันที่ชนิด ( ผู้-เมีย ) หมอนิยมใช้ มะยมตัวผู้ ทำยา0
  • 110. มะรุม- q  ลักษณะ : ใบออกมนๆ อ่อนๆ ใบห่อเล็กน้อย0 q  เปลือกต้น : รสร้อน ขับลมใน ลำไส้ คุมธาตุอ่อนๆ0 q  ราก : เผ็ดหวานขม แก้บวม บำรุงไฟธาตุ 0 •  เปลือกลูกมะรุม เป็นน้ำกระสายยา แก้อาเจียนเป็นเลือด0
  • 111. หม่อน0 q ลักษณะ : ใบคล้ายใบโพธิ์ แต่ ขอบใบหยัก เอามือลูบสากมือ เล็กน้อย มีตาทุกดคนก้านใบ หลังใบเส้นใบมีสีขาวชัดเจน0 q  รส : เมา ( ใช้ใบ )0 q  สรรพคุณ : ระงับประสาท0 ( แก๊ก : หม่อน = หมอนรองหัว( ประสาท ) = ระงับประสาท )- - มีตาทุกโคนก้านใบ-
  • 112. ลำดวน- -q  ลักษณะ : โคนก้านใบสีชมพูระ เรื่อ โคนบิดเล็กน้อย ออกใบเดี่ยว สลับ ใบสีเข้ม ท้องขาวนวล 0 q  รส : หอมเย็น ( ดอก )0 q  สรรพคุณ : บำรุงหัวใจ0 •  อยู่ในพิกัดเกสรทั้ง90 โคนก้านใบสีชมพูระเรื่อ- ใบยาว เส้นกลางใบชัด ร่างแห ปลายใบแหลมมาก- หลังใบสีเข้ม ท้องขาวนวล-
  • 113. สะเดา- q  ลักษณะ : ออกใบสลับซ้าย-ขวาขอบ หยักฟันเลื่อยเล็กน้อย0 q  เปลือกต้น : รสฝาดขม แก้ท้องร่วง0 q  ใบแก่ : รสขม ช่วยย่อยอาหาร0 q  ใบอ่อน : รสขม แก้โรคผิวหนัง0 q  ก้าน : รสขม แก้ไข้ บำรุงน้ำดี0 0ออกใบสลับซ้าย-ขวา0 ขอบหยักฟันเลื่อยเล็กน้อย0
  • 114. เสนียด- q  ลักษณะ : ใบและก้าน0 มีสีเขียวอ่อน ลำต้นแบนไปแบนมา มีเม็ดผดขึ้น0 q  ใบ / ดอก : รสขม แก้ไข้ แก้หืด0 q  ราก : รสขมเย็น บำรุงโลหิต แก้ฝี ในท้อง ( วัณโรค ) 0 0 มีช่อใบชูเป็นเอกลักษณ์0 รูปตัดลำต้นเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ามนๆ0 ลำต้นแบนไปแบนมา มีเม็ดผดขึ้น-
  • 115. สมอไทย- q  ลักษณะ : ใบใหญ่ สีเหมือนขึ้นสนิม คว่ำใบดู เส้นใบ ก้านใบสีเหลือง โคนก้านมีตุ่มอยู่ 2 คู่0 q ใช้ผลทำยา0 q  รส : ฝาดติดเปรี้ยว(พี่ไทยไฝติดปาก )0 q  สรรพคุณ : ระบายอ่อนๆ 0 รู้ระบายรู้ถ่ายอุจจาระ0 •  อยู่ในพิกัด ตรีผลา, ตรีสมอ, จตุผลาธิกะ0 0 มีจุดคล้ายนม 2-4 จุด- คว่ำใบดู เส้นใบ ก้านใบสีเหลือง-
  • 116. สมอภิเภก- q  ลักษณะ : ใบออกเวียนเป็นกลุ่มๆ ปลายยอดมีตุ่มกำมะหยี่ คล้ายกำปั้น0 q  ผลแก่ : รสเปรี้ยวฝาดหวาน0 แก้ริดสีดวง แก้โรคตา0 q  ผลอ่อน : รสเปรี้ยว แก้ไข้เพื่อเสมหะ0 •  อยู่ในพิกัด ตรีผลา, ตรีสมอ, จตุผลาธิกะ0 ปลายยอดมีตุ่มกำมะหยี่ คล้ายกำปั้น-
  • 117. อินทนิน- q  ลักษณะ : ใบใหญ่รองลงมาจากเปล้า ก้านหลังใบ และหน้าใบ มีจุดดำๆอยู่ ปลายใบไหม้0 q  รส : ขมเย็นเล็กน้อย0 q  สรรพคุณ : แก้เบาหวาน0 ( ขุนอินไข่ยานเล็กน้อย ชอบกินของหวาน )0 มีจุดดำที่โคนก้านใบทั้งหน้าและหลัง- มีจุดดำที่โคนก้านใบ- ทั้งหน้าและหลัง-
  • 118. หูเสือ0 q  ลักษณะ : ใบนิ่มๆ เป็นกำมะหยี่ มี ขนสีขาว ขอบใบหยัก0 q  ใช้ใบทำยา- q  รส : จืด0 q  สรรพคุณ : คั้นเอาน้ำหยอดหู แก้ ปวดหู แก้ฝีในหู0 •  มี 2 ชนิด คือ หูเสือไทย และหูเสือจีน0 •  เป็นไม้ต้นเล็กๆ0
  • 119. จักรนารายณ์- q  ลักษณะ : ใบหนามีขนอ่อนสี ขาวขึ้นปกคลุม(ทำให้นิ่มเหมือน กำมะหยี่) นิ่ม ขอบใบมน0 q ใช้ใบสดทำยา 0 q  รส : เย็น0 q  สรรพคุณ : ตำผสมสุราพอกปิด แก้พิษฝี แก้อักเสบทุกชนิด แก้ พิษสัตว์กัดต่อย0 มีขนอ่อนปกคลุมทั้งต้น - ก้าน ท้องใบ หลังใบ- มีขนอ่อนสีขาวขึ้นปกคลุม- (ทำให้นิ่มเหมือนกำมะหยี่)-
  • 120. ว่านน้ำ- q  ลักษณะ : ใบยาวแบน มีเส้นกลางใบ เหง้าจะหอมมาก0 q  เหง้า หรือ ราก : 0 รสร้อนกลิ่นหอมแรง แก้ปวด ท้อง ท้องขึ้นอืดเฟ้อ0 q  ใบ : รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย แก้ปวด ศรีษะ0 q  น้ำมันที่ได้จากหัว ขับลมในท้อง0 •  หัวว่านน้ำอยู่ในพิกัดจตุกาลธาตุ0
  • 121. แฝกหอม- q  ลักษณะ : ใบยาวๆ คล้ายว่านน้ำ แต่ใบห่อ ไม่มีแกนกลางเหมือน ว่านน้ำ0 q  ใช้รากทำยา 0 q  รส : หวานเย็น0 q  สรรพคุณ : บำรุงหัวใจ0 0
  • 122. ตองแตก หรือ ทนดี- q  ลักษณะ : ใบค่อนข้างใหญ่ ส่องไฟ จะเห็นลายใบทะลุหลัง บางใบเป็น แฉก บางใบสมบูรณ์ ลูบขอบใบมี ตุ่มตามรอยหยัก0 q ราก : รสจืดเฝื่อนขมน้อย 0 ระบายอ่อนๆ0 q  ใบและเมล็ด : รสเบื่อขมน้อย 0 ถ่ายพยาธิ แก้ดีซ่าน0 0 - - มือลูบขอบใบ จะสะดุดตุ่มเป็นหยัก-
  • 123. ผักคราดหัวแหวน0 q  ลักษณะ : ลำต้นมีปุ่ม คลำดูจะ สะดุดเป็นจุดรากงอกออก0 ดอกเหมือนหัวแหวน0 q ใช้ทั้งต้น - q  รส : เอียนเบื่อเล็กน้อย0 q  สรรพคุณ : แก้ริดสีดวง แก้ต่อม ทอนซิลอักเสบ0 •  สสม. ใช้ดอก แก้ปวดฟัน0 0ลำต้นมีปุ่ม คลำดูจะสะดุด เป็นจุดรากงอกออก0 ลำต้นมีปุ่ม- คลำดูจะสะดุด- ลำต้นอวบน้ำ- สีเขียวอ่อน- เหมือนขึ้นช่าย-
  • 124. ผักหวานบ้าน- q  ลักษณะ : ใบสีเขียวเข้มใบบางๆ ช้ำและเฉาง่าย 0 q ใช้รากทำยา- q  รส : เย็น0 q  สรรพคุณ : แก้ไข้กลับ0 ( แก๊ก : น้องหวาน กลับบ้านตอนเย็น )0 0ก้านสีเขียว0 ทรงใบและก้านอ่อน- นุ่มนิ่ม ช้ำและเฉาง่าย- ใบสีเขียวเข้ม-
  • 125. ผักชีล้อม- q  ลักษณะ : ลำต้นอวบน้ำคล้ายขึ้น ช่าย ลำต้นกลวง ขอบใบหยัก0 q ใช้เมล็ดทำยา0 q รส : หอมร้อนเล็กน้อย0 q  สรรพคุณ : ขับลมในลำไส้0 •  เมล็ดอยู่ในพิกัดตรีพิษจักร, 0 ทศกุลาผล0
  • 126. ผักหนาม- q  ลักษณะ : ใบหยักเป็นแฉกลึก ที่ ก้านมีหนาม0 q  ใช้ทั้งต้น- q  สรรพคุณ : แก้ปัสสาวะพิการ0 0 0 0
  • 127. ผักเสี้ยนผี- q  ลักษณะ : ลำต้นมีขนสีขาวปกคลุมทั่ว ใบเป็น 5 แฉก ดอกสีเหลือง ฝักยาว แหลมมีขนสีขาว0 q  ใบ : รสขม แก้ปัสสาวะพิการ0 q  ดอก : รสขมขื่น ฆ่าพยาธิผิวหนัง0 q  ลูก : รสเมา ฆ่าพยาธิ0 q  ราก : รสขื่นเล็กน้อย แก้ฝีในท้อง0 q  ใช้ทั้ง 5 : แก้ฝีในตับ ปอด0 (เป็นฝีในตับ ปอด ตายเป็นผีไปนิพพานไม่รู้กลับ)- •  เป็นน้ำกระสายยา แก้ทรางขึ้นทรวงอก- •  เรียกอีกชื่อว่าไปนิพพานไม่รู้กลับ- - ดอกสีเหลือง มีฝักยาวขนสีขาว- ใบมีห้าแฉก ท้องใบลายชัดเจน- ลำต้นมีขนสีขาวปกคลุมลื่นเป็นเมือก0
  • 128. เทียนต้น หรือ เทียนย้อมมือ 0 q  ลักษณะ : ลำต้นสี่เหลี่ยมแข็ง สี น้ำตาล ใบสีเขียวเข้ม ลายใบห่าง ใส ออกใบคู่ตรงข้ามกัน 0 q  รส : ฝาด ( ใบ/ยอดอ่อน )0 q  สรรพคุณ : 0 - ใบ แก้เล็บถอด0 - ยอดอ่อน แก้เด็กท้องร่วงได้ ผลดีทุกระยะ0 ( เทียนต้น = เล็บถอด0 เทียนดอก = เล็บขบ )0 ลำตันสี่เหลี่ยมผืนผ้าแข็งมาก - มีสีน้ำตาลปนเขียวเทา- ออกใบคู่ตรงข้าม-
  • 129. เทียนบ้าน ( เทียนดอก )- q  ลักษณะ : เทียนที่มีดอกสีสวย ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ละเอียดมาก 0 q  รส : เย็น ( ใช้ใบ )0 q สรรพคุณ : ตำพอกแก้ปวดนิ้วเท้า ( เกาท์ ) เล็บขบ0 •  สสม. ข้อควรระวัง - เปื้อนเสื้อผ้า0 • ( เทียนต้น = เล็บถอด- เทียนดอก = เล็บขบ )- ดอกอ่อนรูปนกอ้วน0 ขอบใบเป็นฟันเลื่อยละเอียดมมาก -