SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  129
อาหารบาบัดผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 
ระยะก่อนฟอกเลือด 
( Pre - dialysis) 
นางสาวนิตยา นาประจักษ์ 
นักโภชนาการ 
กลุ่มงานโภชนศาสตร์ 
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
วัตถุประสงค์ของโภชนบาบัดในผู้ป่วยโรคไต 
ลดภาระการทางานของไตในการขับถ่ายของเสีย 
ลดการคั่งของของเสียที่เกิดจากอาหารที่รับประทาน 
ชะลอการเสื่อมของไต 
ยืดเวลาที่ต้องล้างไตให้ช้าลง 
ควบคุมระดับเกลือแร่ให้อยู่ในระดับปกติ 
การควบคุมระดับกลูโคสให้อยู่ในระดับที่ ต้องการ
วัตถุประสงค์ของโภชนบาบัดในผู้ป่วยโรคไต 
ควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 
ควบคุมระดับไขมันในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ 
ป้องกันความผิดปกติของกระดูก 
ให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารครบถ้วน และเหมาะสมกับ 
สภาวะของโรค 
ช่วยให้มีสุขภาพดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
โรคไต 
ไตอักเสบ โรคไตเรื้อรัง 
หน่วยไตอักเสบเฉียบพลัน 
รักษาให้หายได้ 
หน่วยไตถูกทาลายไปแล้ว 
ไม่สามารถรักษาให้กลับคืนดีได้ 
สาเหตุเกิดจากโรคบางอย่าง เช่น 
เบาหวาน ความดันโลหิตสูง 
โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง ไตขาด 
เลือดมาเลี้ยง ได้รับสารพิษ 
เกิดการติดเชื้อ โรคพันธุกรรม ฯลฯ
สาเหตุส่วนใหญ่ที่ทาให้เป็นโรคไต 
 โรคเบาหวานที่ไม่ได้ควบคุม 
 โรคความดันโลหิตที่ไม่ได้ควบคุม
โรคไตจากเบาหวาน 
โรคเบาหวานเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิด 
โรคไต ถ้าไม่ควบคุมระดับน้าตาลใน 
เลือด 
 หน่วยกรองของเสียในไตจะถูกทาลาย 
ทาให้มีโปรตีนหลุดออกมาในปัสสาวะ
ปัญหาสาคัญของโรคไต 
- โรคไตมีทั้งชนิดเฉียบพลัน และชนิดเรื้อรัง บางชนิดสามารถ 
รักษา ให้หายขาดได้ แต่บางชนิดไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ 
- โรคไตเป็นปัญหาสาคัญ เพราะนับวันจะมีคนป่วยเพิ่มมากขึ้นทุก 
ที ต้องใช้อุปกรณ์และงบประมาณจานวนมาก ตลอดจนต้องการ 
บุคลากรที่มีความชานาญเป็นพิเศษในการบาบัดรักษาผู้ป่วย 
- เป็นโรคที่กระทบเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย 
และ ครอบครัวเป็นอย่างมาก
ตารางที่ 1 ค่าต่าสุด สูงสุดและค่าเฉลี่ยของค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของ 
ผู้สูงอายุทปี่่วยด้วยโรคเรื้อรังตลอดปี (หน่วยเป็นบาท) 
โรค ต่าสุด สูงสุด ค่าเฉลี่ย 
1. ความดันโลหิตสูง 
2. เบาหวาน 
3. หัวใจ 
4. ไตวายเรื้อรัง 
5. ไขมันในเลือดสูง 
6. กระดูกและข้อเสื่อม 
7. แผลในกระเพาะอาหาร 
8. หลอดเลือดในสมอง 
216 
1,500 
540 
12,000 
200 
1,500 
200 
360 
69,000 
13,320 
45,960 
585,984 
43,200 
13,320 
7,644 
74,040 
5,372.78 
5,605.00 
7,947.00 
278,137.00 
10,508.50 
4,992.80 
4,992.80 
19,678.00 
ที่มา สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2543
ระยะ 
ของโรค 
1 
2 
3 
4 
5 
ระยะต่างๆ ของโรคไตเรื้อรัง 
ไตเริ่มเสื่อมแต่ยังมีแรงม้าปกติ 
ไตผิดปกติและมีการทางาน (แรงม้า) ลดบ้าง 
การทางาน (แรงม้า) ของไตลดบ้าง ประมาณครึ่ง 
การทางาน (แรงม้า) ของไตลดอย่างมาก 
เหลือต่ากว่าร้อยละ 30 
ไตเรื้อรังระยะสุดท้าย 
เตรียมตัวฟอกเลือด 
อัตราการขจัดของเสียที่ไต 
ซึ่งในที่นี้ให้ใช้ค่า CCr แทน 
มิลลิลิตร/นาที 
> 90 
60 – 89 
30 – 59 
15 – 29 
< 15 
< 10 
ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม หรือ 
ด้วยวิธีล้างไตทางช่องท้อง 
โรคไตเรื้อรัง 
(0.1%) 
Stage 3 – 5 CKD = 4.5% x 40 M. = 2 ล้านคน
โรคไตเรื้อรัง(Chronic kidney disease,CKD) 
 หน่วยไตถูกทาลายอย่างถาวร 
 การทางานของไตเสื่อมลง ค่า creatinine ในเลือดเริ่มสูงขึ้น 
creatinine 1.5 – 2.0 mg/dl 
 ธรรมชาติของโรคจะทาให้ไตเสื่อมลงเรื่อยๆ 
 อัตราการกรองของเสียโดยไตจะลดลง ประมาณ 10%ต่อปี 
(ต่างกันไปในแต่ละคน) ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ 
เช่น โรคที่เป็น เหตุให้เกิดโรคไตเรื้อรัง (DM,HT)
หน้าที่ของไต 
 กรองของเสีย ที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารโปรตีน (ซึ่งส่วน 
ใหญ่ คือ ยูเรีย) 
 ควบคุมการเป็นกรด – ด่างในเลือด และปรับสมดุลของน้า 
และ 
เกลือแร่ภายในร่างกาย โดยเฉพาะโซเดียม โปแตสเซียม 
 สร้างฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเม็ดเลือดแดง และสร้าง 
วิตามินดี ที่เกี่ยวข้องกับกระดูก 
 ไตทาหน้าที่คล้ายกับตัวกรองน้า ไตที่กาลังเสื่อมก็เหมือนกับ 
รูกรองน้าที่ค่อยๆ ตัน 
รูปหน่วยไต (Nephron)
ทาอย่างไรที่จะป้องกันไม่ให้คนไข้ต้องฟอกเลือด 
กินให้ถูกต้องนะคะ 
ไตจะได้เสื่อมช้าลง
กินอย่างไรเมื่อเป็นโรคไต? 
 กินอะไร ? 
 กินเท่าไร ? 
 กินอย่างไร ?
กินอาหารอะไร ? 
กินอาหาร 
ให้ครบ 5 หมู่
สารอาหาร (Nutrients) 
ส่วนประกอบที่มีอยู่ในอาหาร 
 สารอาหารแต่ละชนิดมีหน้าที่เฉพาะของมัน 
 สารอาหารที่ให้พลังงาน 
คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน 
 สารอาหารที่ควบคุมระบบชีวเคมีต่างๆ 
แร่ธาตุ และวิตามินต่างๆ
สารอาหารที่สาคัญสาหรับผู้ป่วยโรคไต 
 โปรตีน (เนื้อสัตว์ ไข่ นม) 
 โซเดียม 
 โปแทสเซียม 
 ฟอสฟอรัส 
 พลังงาน (ไขมัน ข้าว แป้ง) 
 น้า 
 พิวรีน ต้นกาเนิดของกรดยูริค
โปรตีน 
อย่ใูนร่างกาย 15 – 25 % ซึ่งเป็นปริมาณที่มากเป็นทสี่อง 
รองจากน้า 
เป็นสารอาหารหลักที่ร่างกายต้องการ 
 โปรตีนเป็นส่วนประกอบของกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อทั่วร่างกาย 
 ถ้าไตเสื่อม ของเสียที่เกิดจากอาหารที่ให้โปรตีน จะคั่งและไป 
สะสมตามอวัยวะต่างๆ ทาให้อวัยวะต่างๆทางานผิดไป 
 โปรตีน ย่อย กรดอะมิโนและยูเรีย(ของเสีย)
ปริมาณโปรตีนในอาหาร 
การรับประทานอาหารที่มีปริมาณโปรตีนสูง 
ในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีผลเสียต่อการทา หน้าทขี่อง 
ไต 
การให้อาหารจากัดโปรตีนทา ให้ผู้ป่วยเข้าสู่ระยะ 
ท้ายของโรคไตวายเรื้อรัง (end–stage renal failure ) 
ช้าลงหรือลดลง 
โปรตีนสูงจะทาให้เกิดสาร urea ที่ต้องขับ 
ออกทางไตเพิ่มขึ้น
อาหารสาหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะก่อนฟอกเลือด 
โปรตีน 
ต้องได้รับ ต่า กว่าคนปกติ 
คนปกติ0.8 กรัม / 1 กิโลกรัม / Ideal body weight / วัน 
ผู้ป่วยCreatinine clearance (CCr) ระหว่าง 30 - 60 ml/min ; 
Cr  1.5 mg/dl ให้โปรตีน 0.6 กรัม/IBW/วัน 
 Ccr < 30 ml/min ; Cr  2.5 mg/dl ให้โปรตีน 0.4 กรัม/IBW/วัน 
 ถ้าจะโปรตีน < 0.4 กรัม/IBW/วัน จะต้องให้กรดอะมิโน 
(Amino acid mixture) เสริม
ปริมาณโปรตีนในอาหาร 
ผู้ป่วยCreatinine clearance (CCr) ระหว่าง 30 - 
60 มิลลิลิตร/นาที ให้โปรตีน 0.6 กรัม/IBW/วัน 
Creatinine clearance (CCr) < 30 มิลลิลิตร/ 
นาที ให้โปรตีน 0.4 กรัม/IBW/วัน
โปรตีน 
เราพบโปรตีนใน 
เนื้อสัตว์ 
ข้าว แป้ง 
ผัก 
ผลไม้
โปรตีน 
• โปรตีนที่มีคุณภาพดี(High biological value :HBV 
protein) 
• โปรตีนที่มีคุณภาพต่า (Low biological value 
:LBV protein)
คุณภาพของโปรตีน 
 โปรตีนที่มีคุณภาพดี (พบได้ในเนื้อสัตว์ 
และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ นม ไข่) 
 โปรตีนที่มีคุณภาพต่า (พบใน ข้าว แป้ง ผัก 
ผลไม้)
โปรตีนที่มีคุณภาพดี 
• ประกอบด้วย กรดอะมิโนจาเป็น (Essential amino acids) 
ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสม 
• ร่างกายจะนาเอาโปรตีนไปใช้ได้อย่างเต็มที่ทาให้มีของเสีย 
เกิดขึ้นน้อย ไตจึงไม่ต้องทางานหนัก 
• โปรตีน ชนิดนี้จะช่วยให้มีการนากรด อะมิโนไม่จาเป็น 
กลับมาใช้อีก และลดการผลิตยูเรียน้อยลง 
(ไตทางานน้อยลง)
โปรตีนที่มีคุณภาพดี 
• ควรรับประทานโปรตีนที่มี HBV อย่างน้อยที่สุด 
50% ของปริมาณโปรตีนทั้งหมดที่ได้รับต่อวันและ 
ตามที่แพทย์กาหนด 
• โปรตีนที่มีคุณภาพดีพบได้ในอาหารประเภท 
เนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น นม ไข่
อาหารโปรตีนที่มีโปรตีนคุณภาพดี
อาหารที่มีโปรตีนคุณภาพดี 
 เนื้อสัตว์ 
- ควรเลือกเนื้อสัตว์ที่มีไขมันน้อย 
- เนื้อปลาเหมาะสมที่สุด 
- ปลาทะเลน้าลึกจะได้รับไขมันไม่อิ่มตัว (PUFA) 
ชนิด Omega 3 ช่วยลดไตรกลีเซอไรด์ในเลือดได้ 
- ได้แก่ ปลาทู ปลาซาบะ ปลาโอ ปลาทูน่า ปลา 
หลังแข็ง
อาหารที่มีโปรตีนคุณภาพดี 
ไข่ 
- เลือกรับประทานไข่ขาวให้บ่อยขึ้น 
- ในไข่แดงมีทั้งไขมันและ 
โคเลสเตอรอล และยังมีฟอสเฟตมาก 
ประมาณ 25 เท่าของที่มีในไข่ขาว
ไข่ขาว 
 เป็นโปรตีนคุณภาพดี 
 ปราศจากไขมัน และโคเลสเตอรอล 
 มีของเสียขับถ่ายออกมาทางไตน้อย 
 ควรรับประทานทุกวัน 
 แต่ต้องนับอยู่ในปริมาณโปรตีน 
ที่กาหนด
อาหารที่มีโปรตีนคุณภาพดี 
 นม 
- เป็นอาหารที่มีโปรตีนคุณภาพดี มีแคลเซียมสูง 
- แต่นมก็มีฟอสเฟตมากที่สุด ในบรรดาอาหารเนื้อสัตว์ 
- ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง เมื่อเกิดขึ้นแล้วมักจะแก้ไข 
ได้ยาก 
- มีผลเสียต่อกระดูก อาจทา ให้เกิดโรคกระดูกเปราะ 
และการทา งานของต่อมพาราไธรอยด์ 
- หากจะดื่มนม จึงควรเลือกนมไขมันต่า หรือนมขาด 
ไขมัน
หมวดเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ 
ให้โปรตีน 7 กรัม โซเดียม 25 
– 60 มิลลิกรัม โปแทสเซียม 120 
มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 70 มิลลิกรัม 
พลังงานเฉลี่ย 65 – 75 กิโลแคลอรี
ตาราง แสดงปริมาณเนื้อสัตว์ 1 ส่วน (30 กรัม) มีโปรตีน 7 กรัม 
ให้พลังงาน 70 กิโลแคลอรี 
เนื้อสัตว์ ปริมาณอาหาร 
เนื้อหมู / เนื้อไก่ 
(ไม่ติดมันและไม่ติดหนัง) 
เนื้อหมู / เนื้อไก่สับ 
กุ้งนาง 
กุ้งกุลาดา ลาย (ขนาด 2 นิ้ว) 
ปลาทู (เฉพาะเนื้อ) 
ปลาทู (เฉพาะเนื้อ) 
ปลาแดง (เฉพาะเนื้อ) 
2 ช้อนโต๊ะ 
2 ช้อนโต๊ะ 
1 ตัวขนาดกลาง 
4 ตัว 
1 ตัวเล็ก 
½ ตัวขนาดกลาง 
1 ตัวเล็ก
ตาราง แสดงปริมาณเนื้อสัตว์ 1 ส่วน (30 กรัม) มีโปรตีน 7 กรัม 
ให้พลังงาน 70 กิโลแคลอรี 
เนื้อสัตว์ ปริมาณอาหาร 
ปลาดุก / ปลาช่อน (หนา ½ นิ้ว) 
ซี่โครงหมูทอด (1.5x1.5นิ้ว) 
ลูกชิ้น (ขนาดกลาง) 
เนื้อปลานึ่ง (2x2x1/3 นิ้ว) 
ไข่ทั้งฟอง 
ไข่ขาว 
น่องไก่ 
ปลาทูน่า 
เลือดหมู 
เลือดไก่ 
3 แว่น 
4 ชิ้น 
4 – 5 ลูก 
1 ชิ้น 
1 ฟอง 
2 ฟอง 
½ น่องใหญ่ 
2 ช้อนโต๊ะ 
6 ช้อนโต๊ะ 
3 ช้อนโต๊ะ 
แหล่งที่มา ดัดแปลงจากADA .National Renal Diet.1992
หมวดเนื้อสัตว์ 
ให้โปรตีน 7 กรัมพลังงาน 65- 75 กิโลแคลอรี 
2 = ช้อนโต๊ะ 4-5 ตัว 1 ตัวเล็ก 
ไข่ทั้งฟอง 1 ฟอง ไข่ขาว 2 ฟอง 4-5 ลูก
2 ช้อนกินข้าว (30 กรัม) มีโปรตีน 7 
กรัม 
ให้พลังงาน 70 กิโลแคลอรี
เนื้อสัตว์ที่ควรหลีกเลี่ยง 
เนื้อสัตว์ที่มีไขมันสูง 
- ไข่แดง เครื่องในสัตว์ หนังหมู หนังเป็ด หนังไก่ ไข่ปลา 
- เนื้อหมู / เนื้อวัวติดมัน ซี่โครงหมูติดมันมาก 
- หมูหัน เป็ดปักกิ่ง หมูสามชั้น หมูกรอบ เป็ดย่าง ห่านพะโล้ 
เนื้อสัตว์ที่มีกรดอมิโนจาเป็นไม่ครบ 
- ทาให้ไตต้องทางานหนักขึ้นในการขับถ่ายของเสีย 
- เอ็นสัตว์ต่างๆ ได้แก่ เอ็นหมู เอ็นไก่ เอ็นวัว หูฉลาม ตีนเป็ด ตีนไก่ 
หนังสัตว์ กระดูกอ่อน
โปรตีนที่มีคุณภาพต่า 
 มีกรดอะมิโนจาเป็นหรือกรดอะมิโนที่ร่างกายสร้างไม่ได้ไม่ 
ครบตามที่ร่างกายต้องการ (กรดอะมิโนไม่จาเป็น) 
 มีความจาเป็นในการเสริมสร้างร่างกาย 
 โปรตีนที่มีคุณภาพต่าพบได้ในอาหารประเภท พืช ผัก ผลไม้ 
ถั่วเมล็ดแห้ง ธัญพืชต่างๆ ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด 
 ในเนื้อสัตว์ประเภทเอ็น หนัง กระดูกอ่อน 
 เป็นโปรตีนที่ต้องการ แต่น้อยกว่าโปรตีนที่ได้จาก 
สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
การควบคุมปริมาณโปรตีนในอาหาร 
 โปรตีนเมื่อผ่านการย่อยและดูดซึม นาไปใช้ในการ 
เสริมสร้างร่างกายแล้ว จะขับถ่ายของเสียออกมาทางไต 
 โปรตีนคุณภาพดี จะมีของเสียขับถ่ายออกมาทางไตน้อย 
กว่าโปรตีนจากพืช ลดการทางานของไต 
 เพื่อชะลอความเสื่อมของไต จาเป็นต้องจากัดโปรตีน 
 การควบคุมปริมาณโปรตีนในอาหาร ควรเริ่มตั้งแต่มีภาวะ 
ไตเรื้อรังในระยะเริ่มต้น
การควบคุมปริมาณโปรตีนในอาหาร 
ถ้าจา กัดโปรตีนตงั้แต่มีระดับครีเอทินีนในเลือด 1.5 มก./ดล. 
จะสามารถชะลอความเสื่อมของไตได้ดี 
จา กัดโปรตีนวันละ 0.4-0.6 กรัม/น้าหนัก 1 ก.ก./วัน 
รวมทงั้โปรตีนในพืช และสัตว์ 
 โปรตีน 50 % ควรมาจากเนื้อสัตว์ 
ควรมาจากเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน และหนัง 
โดยมากจะจา กัดให้ได้รับโปรตีนในอาหารวันละ 
30 – 50 กรัม
การกาหนดโปรตีน 
ผู้ที่เป็นโรคไต และยังไม่ได้ฟอกเลือด 
ควร 
กินโปรตีนวันละ 0.4 – 0.6 กรัมต่อน้าหนักตัว 
ที่ควรเป็น 1 กิโลกรัม
อาหารที่มีโซเดียมสูง
โซเดียม 
 อาหารที่มีเกลือมากมักมีโซเดียมมาก 
อาหารรสเค็มจัด ทา ให้กระหายน้า ดื่มน้ามากขึ้น 
ผู้ป่วยไตเรื้อรัง ไตไม่สามารถขับโซเดียมส่วนเกินออก 
ทางปัสสาวะได้ โซเดียมส่วนเกินคั่งอยู่ในร่างกาย เกิดอาการ 
บวมน้าตามส่วนต่างๆของร่างกาย 
ถ้ามีการคัง่ของโซเดียมและน้ามาก จะทาให้น้าท่วม 
ปอด และความดันโลหิตสูงขึ้น เกิดภาวะหัวใจวายได้
โซเดียม 
 การควบคุมโซเดียมในอาหารจะช่วยรักษาสภาวะของน้าในร่างกาย 
ให้อยู่ในระดับปกติ หลีกเลี่ยงการคั่งของน้าในร่างกาย 
ควบคุมและป้องกันความดันโลหิตสูง รวมทั้งป้องกันการเกิดภาวะ 
หัวใจล้มเหลว 
ผู้ป่วยที่ได้รับยาขับปัสสาวะ มีปัสสาวะออกมาก ไม่ต้องจากัด 
โซเดียม 
ถ้ามีอาการบวม จาเป็นต้องจา กัดโซเดียมในอาหาร 
โดยรับประทานอาหารรสอ่อนเค็ม และหลีกเลี่ยงอาหารที่มี 
โซเดียมมาก
โซเดียม 
• การกา หนดรายการอาหารที่จา กัดโซเดียม 
– หลีกเลี่ยงอาหารสาเร็จรูปที่มีโซเดียมสูง หรือใช้ผงชูรส 
– ใช้เครือ่งเทศ สมุนไพร มะนาว และน้าตาล ในการช่วยชู 
รสอาหาร 
• ปริมาณโซเดียมที่ควรบริโภคใน 1 วัน = 
2,000 มก
ปริมาณโซเดียมในอาหาร 
• ในอาหารธรรมชาติที่ไม่ปรุงรส เราจะ 
บริโภคโซเดียม ประมาณ 800-1000 
มกต่อวันเท่านั้น
อาหารที่มีโซเดียม 
อาหารแทบทุกชนิด จะมีโซเดียมอยู่ด้วยโดย 
ธรรมชาติ 
อาหารจาพวกสัตว์จะมีโซเดียมมากกว่าพืช 
อาหารแปรรูป หรือการถนอมอาหาร เช่น เนื้อ 
เค็ม ปลาเค็มตากแห้ง กุนเชียง อาหารหมักดอง 
แหนม ปลาส้ม 
เครื่องปรุงรสชนิดต่างๆ เช่น เกลือ น้าปลา
อาหารที่มีโซเดียม 
ซอสปรุงรสที่มีรสเค็ม เช่น ซีอิ้วขาว ซอสถัว่ 
เหลือง ซอสถั่วเหลือง ซอสหอยนางรม เต้าเจี้ยว 
ปลาร้า น้าบูดู เต้าหู้ยี้ ซุปก้อน เครื่องแกงต่างๆ 
อาหารบรรจุกระป๋องชนิดต่างๆ 
ซอสปรุงรสที่ไม่มีรสเค็มหรือเค็มน้อย เช่น ซอส 
มะเขือเทศ ซอสพริก น้าจิ้มต่างๆที่มีรสเปรี้ยวๆ 
หวานๆ
อาหารที่มีโซเดียม 
ผงชูรส (monosodium glutamate) สารปรุงรสที่ไม่ 
มีรสเค็มแต่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบประมาณ 15% 
อาหารกึ่งสาเร็จรูป เช่น บะหมี่ โจ๊ก 
อาหารสาเร็จรูป เช่น ขนมขบเคี้ยว กรอบเป็นถุง 
มันฝรั่งทอด(สารกันบูด)
อาหารที่มีโซเดียม 
ขนมชนิดต่างๆที่มีการเติมผงฟู เช่น เค้ก ขนมปัง 
คุกกี้ 
น้าฝน ไม่มี โซเดียม (Na) 
น้าบาดาลและน้าประปา มี โซเดยีมปนอยู่บ้าง แต่ 
จานวนไม่มาก 
เครื่องดื่มเกลือแร่ เครื่องดื่มบรรจุขวด มี การ 
เติมสารประกอบของโซเดียม
ตาราง ปริมาณโซเดียมในอาหารปรุงรส 
อาหาร ปริมาณ โซเดียม (มิลลิกรัม) 
เกลือ 1 ช้อนชา 2000 
ผงชูรส 1 ช้อนชา 492 
น้าปลา 1 ช้อนชา 465 - 600 
ซอสปรุงรส 1 ช้อนชา 383.5 
ซีอิ้วขาว 1 ช้อนชา 320 – 473.5 
กะปิ 1 ช้อนชา 300 - 400 
ซอสหอยนางรม 1 ช้อนชา 140 - 173 
ซอสพริก 1 ช้อนชา 73.5 - 77 
น้าจิ้มไก่ 1 ช้อนชา 67 - 76 
ซอสมะเขือเทศ 1 ช้อนชา 55 
แหล่งทมี่า สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริมาณโซเดียมโดยเฉลี่ยในอาหารหลักแต่ละหมู่ 
ปริมาณ 1 ส่วนแลกเปลี่ยน 
หมวดอาหาร อาหารแลกเปลี่ยน 1 ส่วน ปริมาณโซเดียม 
(มิลลิกรัม) 
ข้าว - แป้ง ข้าวเจ้า ข้าวเหนียว 7 
ขนมอบ ขนมปังปอนด์ (1แผ่น) 130 
เนื้อสัตว์ เนื้อสัตว์บก เนื้อปลา ปลาทะเล 25 
เนื้อสัตว์ทะเลพวกมีกาบ มีเปลือก 
เช่น กุ้ง หอย ปู 
60 
ไข่เป็ด ไข่ไก่ (1 ฟองขนาดกลาง) 60
ปริมาณโซเดียมโดยเฉลี่ยในอาหารหลักแต่ละหมู่ 
ปริมาณ 1 ส่วนแลกเปลี่ยน 
หมวดอาหาร อาหารแลกเปลี่ยน 1 ส่วน ปริมาณโซเดียม 
(มิลลิกรัม) 
ผัก ผักสด มิได้แปรรูป 15 
ผลไม้ ผลไม้สด มิได้แปรรูป 2 
ไขมัน น้ามันพืช 1 ช้อนชา - 
เนยเค็ม 1 ช้อนชา 44 
ที่มา รศ.ชวลิต รัตนกุล หน่วยงานโรคไต รพ.จุฬาลงกรณ์
ผู้ป่วยใช้เกลือเทียมแทนน้าปลาหรือซอสรสเค็มได้หรือไม่ ? 
 เกลือเทียมมีรสเค็มน้อยกว่าเกลือปกติ 
มีปริมาณโซเดียมคลอไรด์ ประมาณ 33% และส่วนที่ 
เหลือเป็นโปแตสเซียมคลอไรด์ 
รับประทานเกลือเทียมยิ่งจะทา ให้ระดับโปแตสเซียมใน 
เลือดสูงมากขึ้น
เกลือแร่ โซเดียม โปแทสเซียม คลอไรด์ 
 ทาหน้าที่รักษาความสมดุล กรด ด่าง 
 ทางานร่วมกันในการควบคุมสมดุลของน้า และของเหลว 
ในร่างกาย 
 เกี่ยวข้องกับการหดตัวของกล้ามเนื้อ 
 การขาดทาให้อ่อนเพลีย คลื่นไส้ ตะคริว 
 ไตทาหน้าที่ควบคุมระดับเกลือแร่ ในร่างกายให้ 
อยู่ในสมดุล
โปแตสเซียม 
 พบมากในของเหลวภายในเซลล์ 
พบได้ในอาหารทุกชนิด โดยเฉพาะ ผักและผลไม้ (ผักที่มีสี 
เขียวเข้ม ผักสีเหลือง) 
ผู้ที่เป็นโรคไตถ้าระดับโปแทสเซียมในเลือดสูงเกิน 5.2 
มิลลิกรัม/เดซิลิตร ต้องมีการจากัดปริมาณโปแทสเซียมในอาหาร 
(งด ผัก ผลไม้ที่มีโปแทสเซียมสูง) 
ถ้าระดับโปแตสเซียมสูงมากเกินไปอาจจะมีผลต่อหัวใจ 
เต้นผิดปกติและอาจทาให้หัวใจหยุดเต้นได้
ระดับโปแตสเซียมในเลือด 
*** ไม่ควรน้อยเกินไปหรือมากเกินไป *** 
 ค่าโปแตสเซียมในเลือด น้อยกว่า หรือเท่ากับ 3.5 
มิลลิกรัม/เดซิลิตร อาจต้องการโปแตสเซียมเสริม 
ค่าโปแตสเซียมในเลือดเท่ากับ 3.5 – 5.2 
มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ค่าปกติ 
ค่าโปแตสเซียมในเลือด มากกว่า 5.2 มิลลิกรัม 
ต่อเดซิลิตร จากัดอาหารที่มีโปแตสเซียมสูง
ปริมาณโปแตสเซียมในผักและผลไม้ 
ปริมาณโปแตสเซียมในผักและผลไม้ มีค่าระหว่าง 
(mg) 
ค่าเฉลี่ย 
ผักและผลไม้ที่มีโปแตสเซียมต่า 1 - 100 70 
ผักและผลไม้ที่มีโปแตสเซียมปานกลาง 101 - 
200 
150 
ผักและผลไม้ที่มีโปแตสเซียมสูง 201 - 
300 
270 
ผักและผลไม้ที่มีโปแตสเซียมสูงมาก มากกว่า 301
ปริมาณโปแตสเซียมในผลไม้ 100 กรัม 
ผลไม้มีมากที่สุด 
400 – 500 มิลลิกรัม 
ผลไม้ที่มีมาก 
200 – 300 มิลลิกรัม 
ผลไม้ที่มีปานกลาง 
100 – 200 มิลลิกรัม 
ผลไม้ที่มีน้อย 
น้อยกว่า 100 มิลลิกรัม 
-ทุเรียนทุกชนิด 
(ก้านยาวมีมากที่สุด) 
- ขนุน 
- แห้ว 
- กระท้อน 
- มะขามหวาน 
- กล้วยไข่ กล้วยหอม 
- กล้วยน้าว้า 
- ลาไยพันธ์ต่างๆ 
- มะละกอสุก 
- น้อยหน่า 
- น้าส้มคั้น น้ามะพร้าว 
- มะม่วงสุก 
- แคนตาลูป 
- ผลไม้แห้ง ลูกเกด ลูก 
พรุน กล้วยตาก ลาไย 
แห้ง มะขาม 
- ส้มเขียวหวาน ส้มเช้ง 
- ส้มโอ มะม่วงดิบ 
- ละมุด ฝรั่ง 
- ลิ้นจี่ 
- เงาะ สับปะรด 
- องุ่น 
- แอปเปิ้ลแดง 
- สาลี่ 
- สตรอเบอรี่ 
-ลางสาด 
- ชมพู่ 
- แตงโม 
- ลูกท้อสด 
- องุ่นเขียว
ปริมาณโปแตสเซียมในผัก 100 กรัม 
ผักมีมากที่สุด 
440 – 560 มิลลิกรัม 
ผักที่มีมาก 
200 – 400 มิลลิกรัม 
ผักที่มีปานกลาง 
100 – 200 มิลลิกรัม 
ผักที่มีน้อย 
น้อยกว่า 100 มิลลิกรัม 
- เห็ดกระดุม เห็ดโคน 
- เห็ดเปาหื้อ ชะอม 
- ผักชีทุกชนิด หัวปลี 
- ผักโขมน้อย 
- ต้นกระเทียม 
- ใบขี้เหล็ก ใบชะพลู 
- ผักกระโดน ผักกระถิน 
- ยอดขี้เหล็ก ผักหวาน 
- แขนงกะหล่า ฟักทอง 
- ยอดฟักทอง คื่นช่าย 
- ยอดกระถิน ผักคะน้า 
- กะหล่าดอก แครอท 
-ใบ-ดอกกุยช่าย 
- บร็อคโคลี่ กะหล่าปลี 
- เห็ดตับเต่า เห็ดนางรม 
- เห็ดฟาง เห็ดหอมสด 
- ถั่วฝักยาว มะเขือพวง 
- ผักกาดหอม ผักกะเฉด 
-ผักกวางตุ้ง ผักบุ้ง 
- เห็ดนางฟ้า เห็ดเผาะ 
- แตงกวา พริกหวาน 
- ฟักเขียว มะเขือยาว 
- หัวผักกาดขาว ต้นหอม 
- พริกฝรั่ง มะระจีน 
- มะละกอดิบ ถั่วงอก 
- มะเขือเทศ บวบหอม 
- มะเขือสีดา ตาลึง 
- ถั่วลันเตา 
- ผักกาดขาวชนิด 
- พริกฝรั่ง 
- บวบเหลี่ยม 
- ถั่วพู 
- ถั่วพุ่ม 
- หอมหัวใหญ่ 
- เห็ดหูหนู (สด)
ผักทมีี่โปแตสเซียมสูง ผักทมีี่โปแตสเซียมตา่
หมวดผัก 1 ส่วน 
ผัก 1 ส่วน = 1 กรัมโปรตีน, พลังงาน 25 กิโลแคลอรี่ 
1 ทัพพี 1 ทัพพี 1 ทัพพี 
1 ทัพพี 1 ทัพพี 1 ทัพพี
 อาหารที่มีวิตามิน และเกลือแร่หลายชนิด 
 มีใยอาหารมาก 
 มีสารไฟโตเคมีคอล (Phytochemical) ช่วยป้องกัน 
โรคหัวใจขาดเลือด และมะเร็งหลายชนิด 
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มแรกและปานกลาง ถ้าระดับ 
โปแตสเซียมในเลือดไม่สูง ยังคงรับประทาน ผักได้ทุกชนิด 
ไม่ต้องจากัด
 ผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่มีระดับโปแตสเซียม 
ในเลือดสูงถึง 5.2 มก./ดล. ควรควบคุมปริมาณ 
โปแตสเซียมในอาหาร 
 เลือกรับประทานผักที่มีโปแตสเซียมต่า ได้วันละ 
2 ครั้ง 
 ไม่ควรงด ผัก (ท้องผูก) 
 ผักดิบ 100 กรัม หรือผักสุก 1 ทัพพี มีโปรตีน 
1 กรัม ให้พลังงาน 25 กิโลแคลอรี
ผักที่รับประทานได้ 
 ผักที่มีโปแตสเซี่ยมต่าถึงปานกลาง 
 เลือกรับประทานได้ทั้งดิบ และผักสุกวันละ 1 – 2 ครั้ง 
 แตงกวา แตงร้าน มะระ ฟักเขียว บวบ มะเขือยาว 
 มะเขือเปราะ ถั่วแขก ถั่วฝักยาว หอมใหญ่ แห้ว 
 กะหล่าปลี ผักกาดแก้ว ผักกาดหอม พริกหยวก
 อุดมด้วยวิตามิน และเกลือแร่ ใยอาหาร มีน้าตาลมากด้วย 
 เป็นแหล่งพลังงานที่สาคัญอันหนึ่ง 
 ผลไม้ส่วนใหญ่มีโปแตสเซี่ยมสูง 
 ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ซึ่งมีระดับโปแตสเซี่ยมใน 
เลือดสูงกว่า 5.2 มก./ดล.ควร งด ผลไม้ทุกชนิด
ผลไม้ทมีี่โปแตสเซียมสูง ผลไม้ทมีี่โปแตสเซียมตา่ 
ควรหลีกเลี่ยง
หมวดผลไม้ 1 ส่วน 
ผลไม้ 1 ส่วน = 0.5 กรัมโปรตีน, พลังงาน 40-80 กิโลแคลอรี่ 
7-8 ชิ้นคา 7-8 ชิ้นคา 1 ลูก 
3-4 ลูก 4-5 ลูก 3 ลูก
 ผู้ป่วยไตวายระยะเริ่มต้น และปานกลาง ไตยังขับถ่าย 
ของเสียได้ดี มีปัสสาวะจานวนมาก ระดับ 
โปแตสเซียมในเลือดไม่สูงอยู่ในช่วง 3.5 – 5.0 มก./ดล. 
รับประทานผลไม้ได้ตามปกติ 
 ถ้าระดับโปแตสเซี่ยมสูงกว่า 5.0 มก./ดล. และยังไม่ 
ถึง 5.2 มก./ดล. ต้องควบคุมปริมาณผลไม้
 ควรเลือกรับประทานผลไม้ที่มีโปแตสเซี่ยมต่า วันละ 
1 – 2 ครั้ง 
 ผู้ป่วยที่รับประทานยาขับปัสสาวะ ปัสสาวะมากมี 
โปแตสเซี่ยมในเลือดต่ากว่า 3.5 มก./ดล. ต้องได้รับ 
ผลไม้เพิ่ม
ข้อควรระวัง ! 
ผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง ควรระวัง ใน 
การบริโภค พืชสมุนไพร เนื่องจากพืช 
สมุนไพรมักมีปริมาณ โปแตสเซียมสูง 
ซึ่งเป็น อันตราย เช่น น้าลูกยอ
ฟอสฟอรัส 
เป็นแร่ธาตุที่มีมากเป็นอันดับสองในร่างกาย 
 หน้าที่เป็นโครงสร้างของกระดูกและฟัน 
ร่วมกับแคลเซียม 
 กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อ รวมทั้งการ 
หดตัวตามปกติของกล้ามเนื้อ หัวใจ
ฟอสฟอรัส 
 ผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรังมักจะมีระดับฟอสฟอรัส 
ในเลือดสูง 
 ระดับฟอสฟอรัสที่เพิ่มขึ้นจะทาให้แคลเซียมถูกดึง 
ออกมาจากกระดูก 
 ต้องควบคุมปริมาณฟอสฟอรัสในอาหารเพื่อ 
ป้องกันและหลีกเลี่ยงโรคกระดูกที่อาจจะเกิดขึ้น
ระดับฟอสฟอรัสในเลือด 
• ระดับฟอสฟอรัสในเลือดน้อยกว่า 3.0 
มิลลิกรัม ต่อเดซิลิตร อาจต้องการ 
ฟอสฟอรัสเสริม 
• ระดับฟอสฟอรัสในเลือดอย่รูะหว่าง 3.5 – 5.2 
มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ค่าปกติ 
• ระดับฟอสฟอรัสในเลือดมากกว่า 5.2 
มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร จากัดอาหารที่มี
ฟอสฟอรัส 
แหล่งอาหารที่ให้ฟอสฟอรัส 
 นมและผลิตภัณฑ์ 
 ถั่วต่างๆ 
 เบียร์ 
 เบเกอรี่, เค้ก, พาย 
 ช็อคโกแลต
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง 
เค้ก ไอศครีม พาย 
นม ถั่วต่างๆ เนย
ถั่วเมล็ดแห้งควรงด 
โปรตีนที่มีกรดอมิโนจาเป็นไม่ครบถ้วน เป็น โปรตีนคุณภาพไม่ดี 
เมื่อรับประทานเข้าไปจะมีของเสียขับถ่ายออกทางไตมาก ทาให้ไตทางาน 
หนักขึ้น 
ถั่วเมล็ดแห้งมี ฟอสฟอรัสมาก 
ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังจะขับถ่ายฟอสฟอรัสได้น้อย ทา ให้ระดับฟอสฟอรัสใน 
เลือดสูง ไตเสื่อมเร็วขึ้น 
มีผลรบกวนการดูดซึมของแคลเซียม ในระบบทางเดินอาหาร 
ทาให้เสียสมดุลแคลเซียม และฟอสฟอรัส เกิดภาวะกระดูกพรุน ปวดกระดูก 
กระดูกหักง่าย
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูงกับผู้ป่วยไตเรื้อรัง 
 ควรควบคุมอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูงตั้งแต่ระยะเริ่มต้น 
 ถ้าปล่อยให้มีฟอสฟอรัสคั่งในร่างกายเป็นเวลานาน ต่อม 
พาราไธรอยด์จะถูกกระตุ้นให้ทา งานมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทา 
ให้มีขนาดโตขึ้น และผลิตฮอร์โมนเพิ่มขึ้นทาให้มีการสลาย 
แคลเซียมจากกระดูกออกมา 
 เกิดโรคกระดูกพรุน กระดูกเปราะ และกระดูกหักได้ 
แนะนาให้ผู้ป่วยจา กัดฟอสฟอรัสในอาหาร ระหว่าง 800 
– 
1,200 มิลลิกรัมต่อวัน
ตาราง ปริมาณฟอสฟอรัสในอาหาร 
ต่างๆ 
ประเภทอาหาร ปริมาณ/น้าหนัก ฟอสฟอรัส 
(มก.) 
น้านมไขมันเต็ม 
น้านมช็อกโกแลต 
น้านมพร่องมันเนย 
นมผงขาดมันเนย 
นมเปรี้ยว 
โยเกิร์ต 
ไข่ไก่ 
1 ถ้วยตวง (240 
228 
มล.) 
มล.) 
5 ช้อนโต๊ะ 
(30กรัม) 
ถ้วยตวง 1 ถ้วยตวง (240 
มล.) 
1 ถ้วยตวง (240 
251 
232 
295 
108 
171 
115
ตาราง ปริมาณฟอสฟอรัสในอาหาร 
ต่างๆ 
ประเภทอาหาร ปริมาณ/น้าหนัก ฟอสฟอรัส 
(มก.) 
ไข่นกกระทา 
หอยแมลงภู่ 
ปลาไส้ตันแห้งทอด 
ปลาซิวแห้ง 
ปลาแก้วแห้ง 
1 ฟอง 
1 ขีด 
1 ขีด 
½ ขีด 
½ ขีด (20 – 23 ตัว) 
15 
500 
601 
1,312 
822 
แหล่งที่มา สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล Thai Food Composition.Table1999 
Whiney EN.Hamilton EMN.Understanding Nutrition1987.
พลังงาน 
 แหล่งของพลังงานส่วนใหญ่มาจากการกินข้าว แป้ง 
น้าตาล และน้ามัน 
พลังงานที่ผู้ป่วยควรจะได้รับขึ้นอยู่กับผู้ป่วยแต่ละราย 
 ควรได้รับพลังงานจากอาหารให้พอในแต่ละวันเพื่อ 
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อลีบ 
 ชนิดของไขมันส่วนใหญ่ควรเป็นไขมันดี (ไขมันไม่ 
อิ่มตัว)
พลังงาน 
- สาคัญที่สุดเพื่อป้องกันมิให้โปรตีนถูกเผาผลาญ ให้เพียงพอกับการใช้ 
- ซึ่งขึ้นกับกิจกรรมของผู้ป่วย 
- ประมาณ 30-35 กิโลแคลอรี่ / 1 กิโลกรัม/Ideal body weight / วัน 
แหล่งอาหารที่เหมาะสม ( จากอาหารหลัก 5 หมู่ ) 
พวกข้าว ปริมาณจากัด ( เพราะมีโปรตีนอยู่บ้าง ) 
ไขมัน ปริมาณจากัด ( < 35% ของพลังงาน ) 
พลังงานส่วนที่ยังขาดควรได้รับจาก :- 
แป้งปลอดโปรตีน และ น้าตาล - ให้คาร์โบไฮเดรตล้วนๆ 
เป็นแหล่งให้พลังงานได้มากเท่าที่ต้องการ
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังควรได้รับพลังงานวันละเท่าไร 
 พลังงานควรได้รับ 30 – 45 กิโลแคลอรี/น้าหนัก 1 กิโลกรัม/ 
วัน 
 คิดจากน้าหนักตัวที่ควรจะเป็น สูตร การหาน้าหนักตัวที่ควรเป็น 
ชาย = ความสูง (เซนติเมตร) – 100 
หญิง = ความสูง (เซนติเมตร) – 100(-10%)ของน้าหนักที่ได้
ตัวอย่าง 
ผู้ป่วยหญิงสูง 155 เซนติเมตร 
น้าหนักที่ควรเป็น = 155 – 100 = 55 – 5.5 
= 49.5 กิโลกรัม 
พลังงานที่ควรได้รับ = 49.5 x 30 
= 1,485 – 1500 กิโล 
แคลอรี
หมู่ข้าว แป้ง 
 เป็นอาหารที่มีคาร์โบไฮเดรตมาก 
 แหล่งพลังงานที่สาคัญของร่างกาย 
 เพื่อการทางานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย 
 การทากิจกรรมต่างๆ ภายนอกร่างกาย
หมู่ข้าว แป้ง 
ผู้ป่วยไตเรื้อรังที่จากัดโปรตีนในอาหารจาเป็นต้อง 
ได้รับอาหารคาร์โบไฮเดรตให้เพียงพอ 
 เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายนาโปรตีนที่ถูกจากัดมา 
ใช้เผาผลาญเป็นพลังงาน 
คาร์โบไฮเดรตมีอยู่ในอาหารจาพวกแป้ง 
น้าตาล
อาหารจาพวกแป้ง 
 แป้งที่มีโปรตีน 
 แป้งที่ไม่มีโปรตีน
แป้งที่มีโปรตีน 
 แป้งที่มีโปรตีน ได้แก่ ข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมปัง ขนมจีน 
บะหมี่ ข้าวโพด เผือก มัน และอาหารจาพวกแป้งต่างๆ 
 อาหารในกลุ่มนี้มีโปรตีนอยู่ด้วย และเป็นโปรตีนคุณภาพ 
ไม่ดี 
 ถ้าเป็นข้าวที่ไม่ได้ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ 
บะหมี่ 
ข้าวโอต ลูกเดือย จะมีสารฟอสฟอรัสมากอีกด้วย
แป้งที่มีโปรตีน 
 ผู้ป่วยไตเรื้อรังจึงควรเลือกรับประทานข้าวขาว ขนมปังขาว 
 ผู้ป่วยจา กัดโปรตีน จึงไม่ควรรับประทานข้าวหรือแป้งมาก 
เกินไป 
 ควรรับประทานมื้อละ 2 – 3 ทัพพีเล็ก (ทัพพีในหม้อหุง 
ข้าว 
ไฟฟ้า) 
 ถ้าไม่อิ่มให้ใช้แป้งที่ไม่มีโปรตีนทดแทน
ตาราง ข้าวและแป้ง มีคาร์โบไฮเดรต 18 กรัม โปรตีน 2 กรัมให้พลังงาน 70 กิโล 
แคลอรี 
อาหารแป้ง ปริมาณ 
ข้าวสุก 
ขนมปัง 
ก๋วยเตี๋ยว 
ข้าวโพด 
แพนเค้ก 
แครกเกอร์กลม 
แครกเกอร์เหลี่ยม 
ข้าวเหนียวนึ่ง 
1 ทัพพี (1/2 ถ้วยตวง) 
1 แผ่นปกติ 
½ ถ้วยตวง 
½ ฝักใหญ่ 
1 อันเล็ก 
6 อัน 
3 อัน 
½ ทัพพี (1/4 ถ้วยตวง) 
แหล่งทมี่า ดัดแปลงจาก ADA National Renal Diet
ข้าวและแป้ง 1 ส่วน = 1.3-2 กรัมโปรตีน, พลังงาน70-90 กิโลแคลอรี 
1 ทัพพี 
หมวดข้าวและแป้ง 1 ส่วน 
1/2 ก้อน 1 แผ่น 
4-6 แผ่น 1 ทัพพี 
1/2 ทัพพี
โปรตีน 
โปรตีน พลังงานเฉลี่ย 
7 70 
1 25 
2 70 
½ 70
แป้งไม่มีโปรตีนหรือมีโปรตีนต่า 
 อาหารแป้งจาพวกที่มีโปรตีนน้อยมากหรือไม่มีเลย 
 วุ้นเส้น ทั้งทา จากถั่วเขียว และแป้งมัน 
 ก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้ แป้งถั่ว แป้งมัน แป้งข้าวโพด 
แป้งข้าวท้าวยายม่อม สาคู 
 รับประทานแทนข้าว หรือก๋วยเตี๋ยวใน 
บางมื้อ จะทาให้ได้พลังงานเพิ่มโดย 
ไม่เพิ่มโปรตีน
แป้งที่มีปริมาณ โปรตีนต่า 
• วุ้นเส้น 1 กา (40 กรัม) = ข้าว 2 ทัพพี 
• แป้งมัน สาคู 
• ให้โปรตีนน้อย, พลังงาน 70 กิโลแคลอรี 
สาคูขนมชั้น ก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้
อาหารจากแป้ง 
ไม่มีโปรตีน
อาหารจากแป้งไม่มีโปรตีนที่ควรรับประทาน 
เป็นประจา 
 วุ้นเส้นน้า วุ้นเส้นแห้ง วุ้นเส้นต้มยา ลาบวุ้นเส้น 
 แกงวุ้นเส้น ผัดวุ้นเส้น วุ้นเส้นผัดไท ยา วุ้นเส้น 
 วุ้นเส้นผัดน้าพริกเผา 
 ก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้น้า/แห้ง ก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้ต้มยา 
 ยาก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้ 
 ขนมกุยช่ายจากแป้งมัน
ขนมที่ควรเลือกรับประทาน 
 ขนมจากแป้งที่ไม่มีโปรตีน 
 ขนมจากแป้ งที่มีโปรตีน
ขนมจากแป้งที่ไม่มีโปรตีน 
วุ้นน้าหวาน ขนมรวมมิตร ลอดช่องสิงคโปร์ สาคูบัวลอย 
สาคูลอยแก้ว สาคูเปียกมะพร้าวอ่อน สาคูเปียกแคนตาลูป 
(Kสูง) 
ซาหริ่ม ทับทิมกรอบ วุ้นลอยแก้ว ขนมหยกมณี วุ้นใบเตย 
ขนมลืมกลืน(ไม่มีไส้) ลูกชิดน้าแข็ง วุ้นกรอบ ลูกชิดเชื่อม 
ขนมชั้น ตะโก้(Naสูง) จากแป้งถั่ว มันสาปะหลังเชื่อม 
ลูกตาลเชื่อม ขนมครองแครงทาจากแป้งมัน น้าเชื่อม
ขนมจากแป้ง 
ไม่มีโปรตีน
ของหวานที่ไม่มีโปรตีนสาหรับผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน
อาหารสาหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะก่อนฟอกเลือด 
ไขมัน 
ให้พลังงาน 30-35% ของพลังงาน 
ที่ได้รับจากอาหาร / วัน 
มีกรดไขมันอิ่มตัว < 10% , 
PUFA ปริมาณ 10% 
แหล่งอาหารที่เหมาะสม ( จากอาหารหลกั 5 หมู่ ) 
น้า มันถั่วเหลือง ผสมน้า มันรา ( 1:1 ) 
( unsat : sat = 2 : 1 ) 
น้า มันถั่วเหลืองมีPUFA ชนิดโอเมก้า 6 + 3 สูง 
น้า มันรา วิตามินอีสูง 
ปริมาณ 
คุณภาพ 
หรือ มีสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัว > 2 เท่าของกรดไขมันอมิ่ตวั 
หมายเหตุในกรณีที่เลือกใช้นา้มันที่มีส่วนสัดที่เหมาะสมดังกล่าว อาจใช้มากกว่า 35 % 
(ได้ถึง 40%) ของพลังงาน เมื่อจา เป็น
หมู่ไขมัน 
 เป็นอาหารที่ให้พลังงานเป็นหลัก 
 ช่วยดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน 
 ในน้ามันพืชบางชนิดยังมีกรดไขมันจาเป็น ที่ 
ร่างกายสร้างไม่ได้ (Linoleic acid) 
 ควรได้รับประมาณ 30 – 40 %ของพลังงาน 
ท้งัหมด
ไขมันในอาหาร 
 กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated Fatty acid;SFA) 
 กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated Fatty acid) 
 ไขมันทรานส์ (Trans Fatty acid)
น้ามันพืชที่ควรเลือกใช้ 
 น้ามันถั่วเหลือง น้ามันข้าวโพด/ราข้าว/ถั่วลิสง/ปาล์ม 
 ควรใช้น้ามันราข้าวสลับกับน้ามันถั่วเหลือง 
 หรือน้ามันข้าวโพดสลับน้ามันราข้าวในการทาอาหาร 
 ใช้น้ามันราข้าว หรือน้ามันปาล์มในการทอด 
 ใช้น้ามันข้าวโพด หรือน้ามันถั่วเหลืองในการผัด
น้ามันและไขมันที่ควรหลีกเลี่ยง 
 น้ามันหมู น้ามันมะพร้าว เนย ครีม 
 หมูติดมัน เนื้อวัวติดมัน หมูกรอบ 
 หมูหัน หมูสามชั้น หนังเป็ด หนังไก่
อาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูงมาก ควรหลีกเลี่ยง 
 เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ ไต ปอด ไส้ กระเพาะ 
 ไข่แดง ไข่ปลา ปลาหมึก หอยนางรม มันกุ้ง มันปู 
 เนย ครีม เนยแข็ง ขนมอบต่างๆ ครัวซอง พัฟ พาย 
 อาหารฟาสฟูด เช่น แฮมเบอร์เกอร์ พิซซ่า
ควรหลีกเลี่ยง
 ความสามารถในการขับน้าและปัสสาวะของ 
ผู้ป่วยไตวายจะลดลง 
 อาจมีอาการบวม (มีน้ารอบๆปอด,ความดัน 
โลหิตสูง) 
 ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย มีการคั่งของของ 
เสียเพิ่มขึ้น ปัสสาวะน้อยลง มีอาการบวม 
 ถ้าบวมมากอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้ 
 ควรจากัดน้าและอาหารที่มีน้ามาก เครื่องดื่ม 
ต่างๆ
น้า 
 ควรเลี่ยงอาหารรสเค็ม อาหารรสจัด ซึ่งจะทาให้ 
กระหายน้า และดื่มน้ามากขึ้น 
 ถ้าผู้ป่วยสามารถขับปัสสาวะได้มาก ไม่มีอาการบวม 
ไม่ต้องจากัดน้า 
 ปริมาณที่ควรได้รับต่อวัน จะขึ้นกับปริมาณ 
ปัสสาวะที่ขับถ่ายออกมาบวกกับปริมาณน้าที่เสีย 
ไป 
ทางอุจจาระ เหงื่อและลมหายใจ
น้า 
 ดื่มน้าได้วันละประมาณ 500 – 1,000 
ซี.ซี.บวกปริมาตรของปัสสาวะที่ขับถ่ายต่อวัน 
ถ้าปัสสาวะได้น้อยกว่า 500 มิลลิลิตร/วัน 
ควรจากัดน้าให้เหลือวันละ 750 – 1,000 
มิลลิลิตร/วัน
อาหารที่ควรจากัด 
ชา กาแฟ น้าแข็ง น้าอัดลม น้าผลไม้/ผัก 
ก๋วยเตี๋ยวน้า ข้าวต้มน้ามาก โจ๊ก ซุปใส ซุปข้น 
แกงจืด เกาเหลา แกงต้มยา สุกียากี้ ลอยแก้ว หวาน 
เย็น ไอศกรีม เยลลี่
ผู้ป่วยไตเรื้อรังรับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารได้ 
หรือไม่ ? 
 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรอาจมีสารบาง 
ตัวในปริมาณมาก เช่น โปแตสเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม สารพิว 
รีน หรือกรดอมิโนบางชนิด 
 เป็นสารที่ผู้ป่วยจา เป็นต้องได้รับการควบคุม 
 ถ้าได้รับปริมาณมาก อาจทาให้เกิดอันตรายได้ 
 ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารเหล่านี้
ผู้ป่วยที่เป็นไตเรื้อรังต้องควบคุมน้าตาลในเลือด 
หรือไม่ ? 
 จาเป็นต้องได้รับการจากัดอาหารที่ให้โปรตีน 
 จากัดโปรตีนที่ 0.4 – 0.6 กรัม/น้าหนักตัว 1 
กิโลกรัม/วัน 
 ต้องควบคุมน้าตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ใกล้เคียงกับ 
ระดับปกติด้วย 
 ควรงดขนมหวานที่มีน้าตาล และไขมันมาก
อาหารที่ผู้ป่วยโรคไตวายระยะเริ่มต้นควรหลีกเลยี่ง 
 อาหารพิษหรือปนเปื้อนสารพิษ 
 การบริโภคอาหารเค็มหรืออาหารที่ใช้ผงชูรส 
 อาหารกระป๋อง อาหารหมักดอง 
 อาหารสาเร็จรูป หรือกึ่งสาเร็จรูป 
 เครื่องในสัตว์ ไขมันสัตว์ หรือกะทิ
อาหารที่ผู้ป่วยโรคไตวายระยะเริ่มต้นควรหลีกเลยี่ง 
 อาหารที่มีรสหวานจัด ควรลดการเติมน้าตาลใน 
อาหาร 
 อาหารทอด อาหารที่มีไขมันและโคเลสเตอรอลสูง 
 อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
อาหารที่ผู้ป่วยโรคไตวายระยะเริ่มต้นควรรับประทาน 
เนื้อไม่ติดมัน ไก่ ไข่ หรือปลา ไข่ขาว โดยรับประทาน 
ตามปริมาณที่แพทย์กาหนด 
อาหารที่สด สะอาดและปลอดภัย พยายามทาอาหารทาน 
เองที่บ้าน 
ใช้น้ามันพืชในการประกอบอาหาร
อาหารที่ผู้ป่วยโรคไตวายระยะเริ่มต้นควร 
รับประทาน 
ในการปรุงอาหารสามารถใช้น้าปลาได้ประมาณ 3 
ช้อนชา/วัน 
 ถ้าต้องการพลังงานเพิ่ม ควรใช้แป้งโปรตีนต่า เช่น 
สาคู วุ้นเส้น แป้งมัน 
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
แบบแผนการบริโภค 
หมู่อาหาร โปรตีน (กรัม/วัน) 
65 70 75 80 
แป้ง(2) 
เนื้อสัตว์(7) 
ผัก(1) 
ผลไม้(0.5) 
น้ามัน ( ช.ช) 
7 
6 1/2 
3 
2 
7 
7 1/2 
3 
2 
10 
7 
8 
4 
2 
8 
8 1/2 
4 
2 
น้าตาล ( ช.ช) 8 
8 
8 
8 
6 
10 
8
สรุป ผู้ป่วยไตเรื้อรังควรเลือกรับประทานอาหาร ดังนี้ 
 เลือกรับประทานเนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมันและหนัง 
 รับประทานไข่ขาววันละ 2 ฟอง 
 รับประทานข้าว ก๋วยเตี๋ยว ขนมปังให้เพียงพอทุกมื้อและ 
ควรเลือกข้าวที่ขัดสีและขนมปังขาว 
 รับประทานแป้งที่ไม่มีโปรตีนให้บ่อยขึ้น 
 รับประทานอาหารรสอ่อนเค็ม และไม่เติม จิ้มหรือเหยาะ 
น้าปลา เกลือ ซอสปรุงรสขณะรับประทานอาหาร
สรุป ผู้ป่วยไตเรื้อรังควรเลือกรับประทานอาหาร ดังนี้ 
 งดเว้นการเติมผงชูรสในอาหารที่เตรียมเอง หรืออาหาร 
ตามสั่ง เช่น ก๋วยเตี๋ยว 
 หลีกเลี่ยงอาหารหมักดองทุกชนิด 
 หลีกเลี่ยงการรับประทานเครื่องในสัตว์ ไข่ปลา ถัว่ 
เมล็ดแห้ง รวมทั้งเมล็ดฟักทอง/ทานตะวันและ ถั่วเปลือก 
แข็ง 
 ใช้น้ามันพืชในการประกอบอาหาร
สรุป 
การรักษาและดูแลผู้เป็นโรคไตต้องประกอบด้วย ทีมงาน 
 แพทย์ พยาบาล นักกาหนดอาหาร เภสัชกร 
นักสังคมสงเคราะห์ และบุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องที่ 
ทางานสัมพันธ์กันทราบหน้าที่และบทบาทของกัน 
และกันและร่วมกันทางานเป็นทีม 
ตระหนักถึงการดูแลด้านโภชนาการว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นและ 
เป็นรากฐานที่สาคัญของการดูแลสุขภาพของผู้เป็นโรคไต
แหล่งที่มา รศ.ชวลิต รัตนกุล 
แหล่งที่มา อาจารย์ ดร.ชนิดา ปโชติการ 
แหล่งที่มา อาจารย์ ดร.สุนาฏ เตชางาม
อาหารบำบัดโรคไต

Contenu connexe

Tendances

ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561Kamol Khositrangsikun
 

Tendances (20)

ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
22
2222
22
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 

Similaire à อาหารบำบัดโรคไต

การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารWilailak Luck
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายNett Parachai
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆเธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆApisit Khongsamut
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีนpannnnnn
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอPacharee
 
Dmw presentation
Dmw presentationDmw presentation
Dmw presentationnadrada
 

Similaire à อาหารบำบัดโรคไต (20)

การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
The Ultimate Product
The Ultimate ProductThe Ultimate Product
The Ultimate Product
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆเธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
เธชเธกเธธเธ™เน„เธžเธฃเน„เธ—เธข เน‚เธฃเธ„เธซเธฑเธงเนƒเธˆ
 
Dm
DmDm
Dm
 
โปรตีน
โปรตีนโปรตีน
โปรตีน
 
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Dmw presentation
Dmw presentationDmw presentation
Dmw presentation
 

อาหารบำบัดโรคไต