SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
การใช้ Google Docs เพื่อการเรียนการสอน 
ความหมายของ Google Documents 
Google Documents หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า Google Docs เป็นบริการออนไลน์ที่ให้เราสามารถจัดการ เอกสารได้แบบไม่ต้องเสียเงิน เพียงแค่เรามีอีเมลล์ของ Gmail และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ของคุณเลยก็ตาม เพราะ Google Docs เตรียมมาให้คุณหมดแล้วไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์รายงานแบบที่ คุ้นเคย การทาสไลด์เพื่อพรีเซนต์งานสาคัญ หรือจะจัดการเอกสารแบบ Spreadsheets ได้เหมือน Excel ก็ สามารถทาได้ 
Google Docs ทางานเหมือน Microsoft Office แต่ทุกอย่างจะทางานอยู่บนเว็บ สามารถทางานได้ทันที ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องเสียเวลาติดตั้งโปรแกรมลงในเครื่อง หรือเสียเงินค่าลิขสิทธิ์ก่อนใช้งาน แต่อย่างใด เพียงแค่เข้าไปยัง Google Docs คุณก็สามารถสร้าง แก้ไข หรือเปิดอ่านเอกสารได้เลย โดยตัวเอกสาร นั้นจะถูกเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ของ Google และที่สาคัญคุณสามารถแชร์เอกสารให้กับเพื่อนเพื่อแก้ไขข้อมูลไป พร้อมๆ กัน โดยจะเห็นว่าอีกฝ่ายกาลังพิมพ์อะไรอยู่ 
สาหรับจุดเริ่มต้นของ Google Docs กาเนิดมาจากโปรแกรม Google Spreadsheets ที่สามารถทางาน เหมือนกับตาราง Excel ได้เพียงอย่างเดียว แต่ในขณะนั้นก็มีโปรแกรมสาหรับแก้ไขเอกสารออนไลน์ที่มีชื่อว่า Writely ซึ่งเป็นที่นิยมพอสมควรของ Upstartle จนต้นปี พ.ศ.2549 Google ได้เข้ามาซื้อกิจการของ Upstartle ทา ให้ Google ได้สิทธิ์ครอบครอง Writely ได้ด้วยปัจุบัน Writely ถูกพัฒนามาเป็น Google Docs ซึ่งสามารถทางาน เข้าชุดกันกับ Google Spreadsheets ได้เป็นอย่างดี 
โปรแกรมจัดเอกสารออนไลน์ด้วย Google Docs ประกอบด้วย 
ต้องเตรียมอะไรบ้าง
ก่อนที่จะเริ่มต้นใช้งาน Google Docs เรามาเตรียมความพร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์เสียก่อน ซึ่งไม่ ยุ่งยากแต่อย่างใด คุณสมบัติของเครื่องคุณที่มีอยู่ตอนนี้อาจจะสามารถใช้งาน Google Docs ได้เลยก็ได้ โดยสิ่งที่ จาเป็นบนเครื่องของคุณที่จะต้องมีเพื่อรองรับการใช้งาน Google Docs ก็มีดังนี้ 
1. ระบบปฏิบัติการ (Operation System-OS) : สามารถใช้งานบนระบบปฏิบัติการแทบจะทุกชนิด Windows,Mac OS X, GNU/Linux ฯลฯ 
2. โปรแกรมเปิดเว็บไซต์ (Web Browser) : สามารถใช้งานร่วมกับทุก Web Browser เช่น Internet Explores (IE), Mozilla Firefox, Safari หรือ Opera 
3. อินเทอร์เน็ต (Internet) : ติดตั้งอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมต่อการใช้งานผ่านระบบออนไลน์ซึ่ง อินเทอร์เน็ตควรจะแบบ ADSL หรืออินเทอร์เน็ตควรจะเป็นแบบ ADSL หรืออินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เพื่อช่วย ให้การเชื่อมต่อไม่สะดุดและล่าช้าจนเกินไป ซึ่งความเร็วอินเทอร์เน็ตควรอยู่ที่ระดับ 1 Mbps ขึ้นไป ซึ่งเป็น ความเร็วมาตรฐานโดยทั่วๆ ไป ณ ตอนนี้ที่บ้านเราได้รับ 
ใช้ทาอะไรได้บ้าง 
ความสามารถของ Google Docs มีอย่างล้นเหลือ เรียกได้ว่าตอบสนองคนที่ต้องการใช้งานเอกสารได้ อย่างสมบูรณ์แบบ โดยเราจะมาทาความรู้จักกันอย่างละเอียดก่อนว่า Google Docs ใช้ทาอะไรได้บ้าง 
1. สร้างเอกสาร สเปรดชีท และงานนาเสนอแบบออนไลน์ 
สร้างเอกสารพื้นฐานแบบเริ่มต้นจากศูนย์ สามารถทางานพื้นฐานทุกประเภทได้อย่างง่ายดาย รวมถึง การทารายการสัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย การเรียงลาดับตามคอลัมน์ การเพิ่มตาราง รูปภาพ ข้อคิดเห็น สูตร การ เปลี่ยนแปลงแบบอักษร และอื่นๆ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ อัพโหลดไฟล์ของคุณที่มีอยู่แล้ว รองรับรูปแบบไฟล์ที่นิยมใช้กันส่วนใหญ่ ได้แก่ DOC, XLS, ODT, ODS, RTF, CSV และ PPT เป็นต้น คุณจึงสามารถทางานต่อไปพร้อมกับอัพโหลดไฟล์ของคุณที่มีอยู่ได้ด้วย
ใช้งานบนแถบเครื่องมือได้อย่างคุ้นเคยทาให้การแก้ไขเป็นเรื่องง่ายๆ เลือกตัวหนาขีดเส้นใต้ เพิ่ม สัญลักษณ์ในข้อย่อย เปลี่ยนแบบอักษร หรือรูปแบบตัวเลข เปลี่ยนสีพื้นหลังของเซลล์ และอื่นๆ เพียงคลิกปุ่ม บนแถบเครื่องมือที่คุณคุ้นเคย 
2. ใช้งานและทางานร่วมกันในแบบเรียลไทม์ เลือกคนที่คุณต้องการให้เข้าถึงเอกสารของคุณได้ เพียงป้อนที่อยู่อีเมลล์ของคนที่คุณต้องการให้ใช้งาน เอกสารที่ระบุร่วมกัน แล้วส่งคาเชิญไปให้เขาเหล่านั้น ก็สามารถใช้งานเอกสารร่วมกันได้ ใช้งานร่วมกันได้ทันที ทุกคนที่คุณเชิญให้เข้ามาแก้ไขหรือดูเอกสาร สเปรดชีท หรือ งานนาเสนอของ คุณ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทันทีที่เข้าสู่ระบบ 
แก้ไขและนาเสนอร่วมกับบุคคลอื่นในแบบเรียลไทม์ สามารถดูและแก้ไขร่วมกันได้หลายคนในเวลา เดียวกัน มีหน้าต่างสนทนาบนหน้าจอสาหรับการแก้ไขเอกสารและสเปรดชีท เพื่อแสดงให้คุณเห็นว่าใครแก้ไข อะไรและเมื่อใด และแล้วการดูงานนาเสนอพร้อมกันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป เนื่องจากใครก็ตามที่เข้ามาร่วมใน งานนาเสนอ ต่างก็สามารถติดตามงานนาเสนอนั้นได้โดยอัตโนมัติ 
3. จัดเก็บและจัดระเบียบงานอย่างปลอดภัย แก้ไขและเข้าถึงจากที่ไหนก็ได้ ไม่ต้องดาวน์โหลดสิ่งใด คุณสามารถเข้าถึงเอกสารสเปรดชีท และงาน นาเสนอของคุณได้จากคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และมีเบราว์เซอร์มาตรฐานโดยไม่ มีค่าใช้จ่ายใดๆ จัดเก็บงานของคุณได้อย่างปลอดภัย อุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบออนไลน์ และการบันทึกอัตโนมัติ ช่วยให้ คุณไม่ต้องกังวลเรื่องฮาร์ดไดรว์เสียหรือไฟดับเพราะข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ของ Google บันทึกและส่งออกสาเนาได้อย่างง่ายดาย สามารถบันทึกเอกสาร 
และสเปรดชีทของคุณไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณในรูปแบบ DOC, XLS, CSV, ODS, ODT, PDF, RTF และ HTML ได้ การจัดระเบียบเอกสารของคุณ ค้นหาเอกสารของคุณได้อย่างง่ายดายด้วยการจัดระเบียบเอกสารใน โฟลเดอร์ต่างๆ และสามารถลากและวางเอกสารต่างๆ ของคุณลงในหลายโฟลเดอร์ได้ตามที่คุณต้องการ
4. ควบคุมว่าใครสามารถดูเอกสารของคุณได้ เผยแพร่งานของคุณเป็นหน้าเว็บ คุณสามารถเผยแพร่เอกสารของคุณแบบออนไลน์ได้โดยการคลิก เพียงครั้งเดียว ก็สามารถเผยแพร่ผลงานชิ้นสาคัญของคุณให้เป็นหน้าเว็บได้อย่างง่าย 
ควบคุมว่าจะให้ใครเห็นหน้าเว็บของคุณได้บ้าง สามารถเผยแพร่ข้อมูลได้ทั่วโลกหรือจากัดเอกสารให้ เห็นได้ในกลุ่มเพียงแค่สองสามคน หรือจะสั่งไม่ให้ใครเห็นเอกสารนั้นเลยก็ได้ ซึ่งก็แล้วแต่คุณจะกาหนด นอกจากนี้ยังสามารถหยุดการเผยแพร่ข้อมูลได้ตลอดเวลา โพสต์เอกสารขึ้นบล็อกของคุณ เมื่อคุณสร้างเอกสารเสร็จ คุณสามารถโพสต์เอกสารลงบล็อกของคุณได้ ทันที เผยแพร่ภายในบริษัทหรือกลุ่มของคุณ เมื่อใช้ Google Apps จะช่วยให้ใช้งานเอกสาร สเปรดชีท และ งานนาเสนอที่สาคัญร่วมกันภายในบริษัทหรือกลุ่มของคุณได้ง่ายขึ้น 
เริ่มต้นใช้งาน Google Docs 
สามารถเข้าใช้งานได้ 2 วิธี คือ 
1. เข้าเว็บไซต์ http://docs.google.com แล้วล็อกอินเข้าสู่ระบบ Google Docs
2. สา หรับผู้ใช้บริการ Gmail อยู่แล้ว หลังจากล็อกอินเข้าสู่ระบบ Gmail แล้วให้คลิกที่ “เอกสาร” บนแถบเมนู 
ด้านบนซ้ายมือ ก็จะเข้าสู่หน้า Google Docs ได้ทันที 
3. หลังจากเข้าสู่ระบบแล้ว จะพบกับหน้าเว็บไซต์ของ Google Docs พร้อมใช้งาน สา หรับบางท่านที่ระบบยัง 
เป็นภาษาอังกฤษอยู่ สามารถเปลี่ยนเป็นภาษาไทยได้โดยคลิก “การตั้งค่า” ในแถบเมนูด้านบนขวามือเลือก 
“การตั้งค่าเอกสาร”
จากหน้านี้เราสามารถตั้งค่าพื้นฐานต่างๆให้กับระบบได้ทั้งการเน้น ตัวอักษร ภาษา โซนเวลา 
และเมื่อผู้ใช้สิ้นสุดการใช้งานให้ใช้เมาส์คลิกคา ว่า “ออกจากระบบ” ทุกครั้ง 
สร้างเอกสาร 
การสร้างเอกสารใน Google Docs สามารถทา ได้เหมือนการใช้งานบน MS Office แต่เมื่อสร้างเอกสาร 
เรียบร้อยแล้ว เราสารถกา หนดสิทธ์ให้ใช้งานร่วมกันได้ เราสามารถทา ได้ทั้งสร้างเอกสารขึ้นมาใหม่เลยบน 
Google Docs หรืออัปโหลดเอกสารที่มีอยู่แล้วที่สร้างจาก MS Office ขึ้นไปใช้งานบน Google Docs ได้ (ภายใต้ 
เงื่อนไขและข้อจา กัดของ Google Docs) 
ข้นัตอนการสร้างเอกสาร มีดังนี้ 
1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “เอกสาร”
จะปรากฏหน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Word 
2. เมนูและแถบเครื่องมือที่มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Word สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การกา หนด 
ลักษณะข้อความ แบบอักษร ขนาดตัวอักษร ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ ตา แหน่งของข้อความ แทรกตาราง 
หรือแม้กระทั่งแทรกภาพ เป็นต้น 
3. ตั้งค่าหน้ากระดาษ ให้ไปที่เมนู “ไฟล์” แล้วคลิกเลือก “การตั้งค่าหน้ากระดาษ…” จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง 
“การตั้งค่าหน้ากระดาษ” ให้ทา การกา หนดการวางแนวกระดาษ ขนาดกระดาษ สีพื้นหลังกระดาษตามที่ต้องการ 
แล้วกดปุ่ม “ตกลง”
4. การเปลี่ยนชื่อเอกสาร เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่โปรแกรมจะกา หนดชื่อเอกสารเป็น “เอกสารไม่มีชื่อ” 
แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อเอกสารเองได้ใหม่โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “เอกสารไม่มีชื่อ” จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง 
“เปลี่ยนชื่อเอกสาร” ให้เรากรอกชื่อเอกสารที่ต้องการลงไป แล้วกดปุ่ม “ตกลง” 
5. พิมพ์เอกสาร และจัดรูปแบบตามที่ต้องการ
6. การแทรกภาพ สามารถแทรกภาพโดยการคลิกที่เมนู “แทรก” หรือ บนแถบเครื่องมือ จากนั้นจะ 
ปรากฏหน้าต่าง “แทรกภาพ” ให้เรากดปุ่ม “Browse” เพื่ออัปโหลดรูป 
7. การบันทึกเอกสาร โปรแกรมจะทา การบันทึกเอกสารให้อัตโนมัติเมื่อมีการพิมพ์หรือแก้ไขเอกสาร หรือถ้าเรา 
ต้องการจะบันทึกเอกสารด้วยตนเองก็ให้กดที่ปุ่ม “บันทึกเดี๋ยวนี้”
สร้างสเปรดชีต 
ข้นัตอนการสร้างสเปรดชีต มีดังนี้ 
1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “สเปรดชีต” 
จะปรากฏหน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Excel
2. เมนู และแถบเครื่องมือของเอกสารสเปรดชีตมีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Excel สามารถใช้งานได้ง่าย 
เช่น การกา หนดรูปแบบสกุลเงิน วันที่ การใช้ฟังก์ชัน การใส่สูตรคา นวณ การแทรกแผนภูมิ เป็นต้น 
3. การเปลี่ยนชื่อเอกสาร เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกา หนดชื่อเอกสารเป็น “สเปรดชีตที่ยังไม่ได้ 
บันทึก” 
แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อเอกสารเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “สเปรดชีตทยีั่งไม่ได้บันทึก” จากนั้นจะปรากฏ 
หน้าต่าง “เปลยี่นชื่อสเปรดชีต” ให้เรากรอกชื่อเอกสารที่ต้องการลงไป แล้วกดปุ่ม “ตกลง”
4. พิมพ์เอกสาร และจัดรูปแบบตามที่ต้องการ 
5. การแทรกภาพ สามารถแทรกภาพโดยการคลิกที่เมนู “แทรก” หรือ บนแถบเครื่องมือ จากนั้น 
จะปรากฏหน้าต่าง “แทรกภาพ” ให้เรากดปุ่ม “Browse” เพื่ออัปโหลดรูป หรือจะให้ Google ช่วยค้นหา 
รูปออนไลน์ก็ได้
6. การุ6.แทรกแผนภูมิ สามารถแทรกแผนภูมิได้ตามขั้นตอนดังนี้ 
6.1 คลิกที่เมนู “แทรก” หรือ บนแถบเครื่องมือ จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “เครื่องมือแก้ไขแผนภูมิ” 
6.2 คลิกที่คา ว่า “เลือกช่วง” เพื่อกา หนดช่วงของข้อมูลที่จะนา มาสร้างแผนภูมิ
6.3 ใช้เมาส์คลิกลากช่วงของข้อมูลที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม “ตกลง” 
6.4 คลิกเลือกรูปแบบของแผนภูมิ เช่น แผนภูมิคอลัมน์ จากนั้นกดปุ่ม “แทรก”
7. การเปลี่ยนชื่อแผ่นงาน ทา ได้โดย ใช้เมาส์คลิกขวาที่แผ่นงาน แล้วเลือกคา สั่ง “เปลยี่นชื่อ” จากนั้นจะ 
ปรากฏหน้าต่าง “เปลยี่นชื่อ” ให้ป้อนชื่อแผ่นงานใหม่ แล้วกดปุ่ม “ตกลง” 
8. การเพิ่มแผ่นงาน/แสดงแผ่นงาน ถ้าต้องการเพิ่มแผ่นงาน ให้คลิกที่สัญลักษณ์ และถ้าต้องการ 
แสดงแผ่นงานที่มีอยู่ ให้คลิกที่สัญลักษณ์ 
9. การบันทึกเอกสาร โปรแกรมจะทา การบันทึกเอกสารให้อัตโนมัติเมื่อมีการพิมพ์หรือแก้ไขเอกสาร 
หรือถ้าเราต้องการจะบันทึกเอกสารด้วยตนเองก็ให้กดที่ปุ่ม “บันทึกเดี๋ยวนี้”
สร้างงานนาเสนอ 
ข้นัตอนการสร้างงานนาเสนอ มีดังนี้ 
1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “งานนาเสนอ” 
จะปรากฏหน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Powerpoint
2.เมนู และแถบเครื่องมือของเอกสารงานนาเสนอมีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Powerpoint 
สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การแทรกกล่องข้อความ แทรกรูปภาพ แทรกวิดีโอออนไลน์ เปลี่ยนชุด 
รูปแบบ และพื้นหลัง เป็นต้น 
3. การเปลี่ยนชื่อเอกสาร เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกา หนดชื่อเอกสารเป็น “งานนาเสนอไม่มี 
ชื่อ” 
แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อเอกสารเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “งานนาเสนอไม่มีชื่อ” จากนั้นจะปรากฏ 
หน้าต่าง “ป้อนชื่องานนาเสนอใหม่” ให้เรากรอกชื่อเอกสารที่ต้องการลงไป แล้วกดปุ่ม “OK” 
4. การเปลี่ยนรูปแบบของงานนาเสนอ สามารถเปลี่ยนได้ 2 แบบ คือ เปลี่ยนชุดรูปแบบ และ เปลี่ยนพื้นหลัง
4.1 เปลี่ยนชุดรูปแบบ ให้คลิกที่เมนู “รูปแบบ” แล้วเลือกรายการ “การตั้งค่างานนาเสนอ” และ 
“เปลี่ยนชุดรูปแบบ” ตามลาดับ จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างให้เลือกชุดรูปแบบ
4.2 เปลี่ยนพื้นหลัง ให้คลิกที่เมนู “รูปแบบ” แล้วเลือกรายการ “การตั้งค่างานนาเสนอ” และ “เปลยี่น 
พื้นหลัง” ตามลา ดับ จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างให้แทรกรูปภาพ 
ให้ใช้เมาส์คลิกที่คา ว่า “แทรกรูปภาพ” และกดปุ่ม “Browse” เพื่ออัปโหลด
จากนั้นให้กดปุ่ม “บันทึก” เพื่อนา ภาพที่เลือกมาเป็นภาพพื้นหลังของสไลด์ และถ้าต้องการนา ภาพที่ 
เลือกนั้นไปใช้กับสไลด์ทั้งหมด ก็ให้คลิกเครื่องหมายถูกในช่อง “นาพื้นหลังไปใช้กับสไลด์ทั้งหมด” 
5. ใส่ข้อความ โดยการพิมพ์และตกแต่งตามความต้องการ
6. การเพิ่มสไลด์ ให้คลิกที่เมนู “สไลด์” แล้วคลิกเลือกรายการ “สไลด์ใหม่” หรือคลิกที่สัญลักษณ์ ก็ได้ จากนั้น 
จากปรากฏหน้าต่าง “เลือกเค้าโครงสไลด์” 
7. การแทรกภาพลงในสไลด์ ทา ได้โดยคลิกที่เมนู “แทรก” แล้วเลือกรายการ “ภาพ”
จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “แทรกรูปภาพ” ให้กดปุ่ม “Browse” แล้วกดปุ่ม “Open” ตามลา ดับ เมื่อได้ 
รูปภาพที่ต้องการแล้ว ให้กดปุ่ม “ตกลง” เพื่อนา ภาพใส่ลงสไลด์
8. การแทรกวิดีโอลงในสไลด์ ทา ได้โดยคลิกที่เมนู “แทรก” แล้วเลือกรายการ “วิดีโอ” 
จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “เลือกวิดีโอ” ให้เราค้นหาวิดีโอจาก Youtube แล้วกดปุ่มค้นหาวิดีโอ จากนั้น 
เมื่อค้นหาวีดีโอได้แล้ว ให้คลิกเลือกวิดีโอ 
ตามที่ต้องการ แล้วให้กดปุ่ม “เลือกวิดีโอ”
รอสักครู่ วิดีโอที่เลือกก็จะถูกนามาลงในสไลด์ 
9. งานนา เสนอที่ทา เสร็จแล้ว ผู้ใช้สามารถนา เสนองานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่ปุ่ม “เริ่มงานนาเสนอ” 
หรือกดปุ่มคีย์บอร์ด CTRL+F5 และถ้าต้องการนา เสนองานแบบเตม็จอ (Full Screen) ก็ให้กด ปุ่ม 
คีย์บอร์ด F11
10. การบันทึกเอกสาร โปรแกรมจะทา การบันทึกเอกสารให้อัตโนมัติเมื่อมีการพิมพ์หรือแก้ไข เอกสาร 
หรือถ้าเราต้องการจะบันทึกเอกสารด้วยตนเองก็ให้กดที่ปุ่ม “บันทึกเดี๋ยวนี้” 
สร้างฟอร์ม 
ข้นัตอนการสร้างฟอร์มแบบสอบถาม มีดังนี้ 
1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “แบบฟอร์ม”
จะปรากฏหน้าจอการสร้างฟอร์มแบบสอบถาม 
2. การเปลี่ยนชื่อฟอร์ม เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกา หนดชื่อฟอร์มเป็น “ฟอร์มไม่มีชื่อ” 
แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อฟอร์มเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “ฟอร์มไม่มีชื่อ” แล้วพิมพ์ชื่อฟอร์ม 
แบบสอบถามตามที่ต้องการลงไป เช่น “แบบสอบถามความรู้พื้นฐานของผู้เข้ารับการอบรม 
คอมพิวเตอร์”
3.พิมพ์รายละเอียดคา ถาม และเลือกว่าต้องการให้คา ตอบเป็นแบบใด 
3.1 แบบข้อความ จะเป็นการตอบแบบสั้นๆ เพียง 1 บรรทัด เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 
3.2 แบบข้อความย่อหน้า จะเป็นการตอบแบบยาวหลายบรรทัด เหมาะกับการให้ข้อเสนอแนะ เสร็จแล้ว 
ให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 
3.3 แบบหลายตัวเลือก แต่จะสามารถเลือกได้เพียงคา ตอบ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น”
3.4 แบบช่องทา เครื่องหมาย สามารถเลือกคา ตอบได้หลายคา ตอบ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 
3 
. 
5 
3.5 แบบเลือกจากรายการ เป็นการเลือกคา ตอบจากรายการ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 
3.6 แบบสเกล เป็นการเลือกระดับของคา ตอบ โดยต้องเลือกว่าจะให้ 1 เป็นอะไร และ 5 เป็นอะไร เช่น 
1 = พอใจมาก 5 = ไม่พอใจ
4. การเพิ่มรายการคา ถาม ให้ผู้ใช้คลิกที่ปุ่ม “เพมิ่รายการ” ซึ่งจะอยู่ซ้ายมือด้านบนของหน้าจอ 
5. ตกแต่งแบบสอบถามให้สวยงาม น่าสนใจ โดยสามารถเลือกชุดรูปแบบ ได้โดยการกดปุ่ม “ชุด 
รูปแบบ” 
จากนั้นจะปรากฏหน้าจอให้เลือกชุดรูปแบบ
6. หลังจากทา แบบสอบถามเสร็จ ต้องการดูแบบสอบถาม ให้คลิกลิงก์ที่อยู่ด้านล่าง แล้วถ้าต้องการนา 
แบบสอบถามให้ผู้อื่นตอบ ก็ให้ใช้ลิงก์ที่อยู่ด้านล่างส่งให้กลุ่มเป้าหมายได้เลย 
7. การตรวจดูการตอบกลับ ให้ผู้ใช้คลิกที่ปุ่ม “ดูการตอบกลับ” แล้วจะมีรายการให้เลือก 2 รายการ ดังนี้ 
7.1 ข้อมูลสรุป
7.2 สเปรดชีต
การใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอน

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส Kikkokz K
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้Abcz F-ang
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 50981081205
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ม.2 เรื่อพีทาโกรัส
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 

Viewers also liked

บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนบทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
 
คู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docsคู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google DocsKanda Runapongsa Saikaew
 
การใช้ Google docs
การใช้ Google docs การใช้ Google docs
การใช้ Google docs Panuwat Butriang
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
การใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบ
การใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบการใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบ
การใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบพัน พัน
 
คู่มือ Google drive
คู่มือ Google driveคู่มือ Google drive
คู่มือ Google drivethanakit553
 
ขั้นตอนการใช้งาน Google class room for student
ขั้นตอนการใช้งาน Google class room for studentขั้นตอนการใช้งาน Google class room for student
ขั้นตอนการใช้งาน Google class room for studentKrupreecha Krubaannok
 
หลักสูตรการอบรม Dlit
หลักสูตรการอบรม Dlitหลักสูตรการอบรม Dlit
หลักสูตรการอบรม DlitDuangnapa Inyayot
 
MACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming Technology
MACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming TechnologyMACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming Technology
MACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming TechnologyJuliaHoesingVanderMolen
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตRungdawan Rungrattanachai
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0Prachyanun Nilsook
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Tanakorn Pansupa
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

Viewers also liked (20)

บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนบทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
 
คู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docsคู่มือการใช้ Google Docs
คู่มือการใช้ Google Docs
 
Google site
Google siteGoogle site
Google site
 
การใช้ Google docs
การใช้ Google docs การใช้ Google docs
การใช้ Google docs
 
Googlesites v.2
Googlesites v.2Googlesites v.2
Googlesites v.2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบ
การใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบการใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบ
การใช้งาน Google docs สร้างแบบสอบถามและข้อสอบ
 
คู่มือ Google drive
คู่มือ Google driveคู่มือ Google drive
คู่มือ Google drive
 
ขั้นตอนการใช้งาน Google class room for student
ขั้นตอนการใช้งาน Google class room for studentขั้นตอนการใช้งาน Google class room for student
ขั้นตอนการใช้งาน Google class room for student
 
หลักสูตรการอบรม Dlit
หลักสูตรการอบรม Dlitหลักสูตรการอบรม Dlit
หลักสูตรการอบรม Dlit
 
MACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming Technology
MACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming TechnologyMACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming Technology
MACUL 2013 Bloom’s Taxonomy is Blooming Technology
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 

Similar to การใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอน

วิธีการใช้งาน Google docs
วิธีการใช้งาน Google docs วิธีการใช้งาน Google docs
วิธีการใช้งาน Google docs Maddubna Com-Ed
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docs
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docsคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docs
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docsmansuang1978
 
6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพ
6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพ6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพ
6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพchanoncm2555
 
Google docs dropbox manual
Google docs dropbox manualGoogle docs dropbox manual
Google docs dropbox manualPanuwat Butriang
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010noismart
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1krupick
 
Word2007
Word2007Word2007
Word2007Nit Noi
 
คู่มือการใช้งาน Google docs
คู่มือการใช้งาน Google docsคู่มือการใช้งาน Google docs
คู่มือการใช้งาน Google docsYing Hc
 
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพSriprapai Inchaithep
 
เอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocs
เอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocsเอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocs
เอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocsAiice Pimsupuk
 

Similar to การใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอน (20)

Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
วิธีการใช้งาน Google docs
วิธีการใช้งาน Google docs วิธีการใช้งาน Google docs
วิธีการใช้งาน Google docs
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docs
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docsคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docs
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Docs
 
6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพ
6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพ6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพ
6. สร้างเอกสาร word แบบมืออาชีพ
 
Google docs dropbox manual
Google docs dropbox manualGoogle docs dropbox manual
Google docs dropbox manual
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
Microsoft word 2010
Microsoft word 2010Microsoft word 2010
Microsoft word 2010
 
คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010คู่มือMicrosoftword2010
คู่มือMicrosoftword2010
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
Word2007
Word2007Word2007
Word2007
 
Word
WordWord
Word
 
คู่มือการใช้งาน Google docs
คู่มือการใช้งาน Google docsคู่มือการใช้งาน Google docs
คู่มือการใช้งาน Google docs
 
Google documents
Google documentsGoogle documents
Google documents
 
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
 
Scribd
ScribdScribd
Scribd
 
เอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocs
เอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocsเอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocs
เอกสารประกอบการเรียนงานนำเสนอGoogleDocs
 
Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
Word2010
Word2010Word2010
Word2010
 
Word 2010
Word 2010Word 2010
Word 2010
 

การใช้ Google docs เพื่อการเรียนการสอน

  • 1. การใช้ Google Docs เพื่อการเรียนการสอน ความหมายของ Google Documents Google Documents หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า Google Docs เป็นบริการออนไลน์ที่ให้เราสามารถจัดการ เอกสารได้แบบไม่ต้องเสียเงิน เพียงแค่เรามีอีเมลล์ของ Gmail และเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ของคุณเลยก็ตาม เพราะ Google Docs เตรียมมาให้คุณหมดแล้วไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์รายงานแบบที่ คุ้นเคย การทาสไลด์เพื่อพรีเซนต์งานสาคัญ หรือจะจัดการเอกสารแบบ Spreadsheets ได้เหมือน Excel ก็ สามารถทาได้ Google Docs ทางานเหมือน Microsoft Office แต่ทุกอย่างจะทางานอยู่บนเว็บ สามารถทางานได้ทันที ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องเสียเวลาติดตั้งโปรแกรมลงในเครื่อง หรือเสียเงินค่าลิขสิทธิ์ก่อนใช้งาน แต่อย่างใด เพียงแค่เข้าไปยัง Google Docs คุณก็สามารถสร้าง แก้ไข หรือเปิดอ่านเอกสารได้เลย โดยตัวเอกสาร นั้นจะถูกเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ของ Google และที่สาคัญคุณสามารถแชร์เอกสารให้กับเพื่อนเพื่อแก้ไขข้อมูลไป พร้อมๆ กัน โดยจะเห็นว่าอีกฝ่ายกาลังพิมพ์อะไรอยู่ สาหรับจุดเริ่มต้นของ Google Docs กาเนิดมาจากโปรแกรม Google Spreadsheets ที่สามารถทางาน เหมือนกับตาราง Excel ได้เพียงอย่างเดียว แต่ในขณะนั้นก็มีโปรแกรมสาหรับแก้ไขเอกสารออนไลน์ที่มีชื่อว่า Writely ซึ่งเป็นที่นิยมพอสมควรของ Upstartle จนต้นปี พ.ศ.2549 Google ได้เข้ามาซื้อกิจการของ Upstartle ทา ให้ Google ได้สิทธิ์ครอบครอง Writely ได้ด้วยปัจุบัน Writely ถูกพัฒนามาเป็น Google Docs ซึ่งสามารถทางาน เข้าชุดกันกับ Google Spreadsheets ได้เป็นอย่างดี โปรแกรมจัดเอกสารออนไลน์ด้วย Google Docs ประกอบด้วย ต้องเตรียมอะไรบ้าง
  • 2. ก่อนที่จะเริ่มต้นใช้งาน Google Docs เรามาเตรียมความพร้อมของเครื่องคอมพิวเตอร์เสียก่อน ซึ่งไม่ ยุ่งยากแต่อย่างใด คุณสมบัติของเครื่องคุณที่มีอยู่ตอนนี้อาจจะสามารถใช้งาน Google Docs ได้เลยก็ได้ โดยสิ่งที่ จาเป็นบนเครื่องของคุณที่จะต้องมีเพื่อรองรับการใช้งาน Google Docs ก็มีดังนี้ 1. ระบบปฏิบัติการ (Operation System-OS) : สามารถใช้งานบนระบบปฏิบัติการแทบจะทุกชนิด Windows,Mac OS X, GNU/Linux ฯลฯ 2. โปรแกรมเปิดเว็บไซต์ (Web Browser) : สามารถใช้งานร่วมกับทุก Web Browser เช่น Internet Explores (IE), Mozilla Firefox, Safari หรือ Opera 3. อินเทอร์เน็ต (Internet) : ติดตั้งอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมต่อการใช้งานผ่านระบบออนไลน์ซึ่ง อินเทอร์เน็ตควรจะแบบ ADSL หรืออินเทอร์เน็ตควรจะเป็นแบบ ADSL หรืออินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เพื่อช่วย ให้การเชื่อมต่อไม่สะดุดและล่าช้าจนเกินไป ซึ่งความเร็วอินเทอร์เน็ตควรอยู่ที่ระดับ 1 Mbps ขึ้นไป ซึ่งเป็น ความเร็วมาตรฐานโดยทั่วๆ ไป ณ ตอนนี้ที่บ้านเราได้รับ ใช้ทาอะไรได้บ้าง ความสามารถของ Google Docs มีอย่างล้นเหลือ เรียกได้ว่าตอบสนองคนที่ต้องการใช้งานเอกสารได้ อย่างสมบูรณ์แบบ โดยเราจะมาทาความรู้จักกันอย่างละเอียดก่อนว่า Google Docs ใช้ทาอะไรได้บ้าง 1. สร้างเอกสาร สเปรดชีท และงานนาเสนอแบบออนไลน์ สร้างเอกสารพื้นฐานแบบเริ่มต้นจากศูนย์ สามารถทางานพื้นฐานทุกประเภทได้อย่างง่ายดาย รวมถึง การทารายการสัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อย การเรียงลาดับตามคอลัมน์ การเพิ่มตาราง รูปภาพ ข้อคิดเห็น สูตร การ เปลี่ยนแปลงแบบอักษร และอื่นๆ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ อัพโหลดไฟล์ของคุณที่มีอยู่แล้ว รองรับรูปแบบไฟล์ที่นิยมใช้กันส่วนใหญ่ ได้แก่ DOC, XLS, ODT, ODS, RTF, CSV และ PPT เป็นต้น คุณจึงสามารถทางานต่อไปพร้อมกับอัพโหลดไฟล์ของคุณที่มีอยู่ได้ด้วย
  • 3. ใช้งานบนแถบเครื่องมือได้อย่างคุ้นเคยทาให้การแก้ไขเป็นเรื่องง่ายๆ เลือกตัวหนาขีดเส้นใต้ เพิ่ม สัญลักษณ์ในข้อย่อย เปลี่ยนแบบอักษร หรือรูปแบบตัวเลข เปลี่ยนสีพื้นหลังของเซลล์ และอื่นๆ เพียงคลิกปุ่ม บนแถบเครื่องมือที่คุณคุ้นเคย 2. ใช้งานและทางานร่วมกันในแบบเรียลไทม์ เลือกคนที่คุณต้องการให้เข้าถึงเอกสารของคุณได้ เพียงป้อนที่อยู่อีเมลล์ของคนที่คุณต้องการให้ใช้งาน เอกสารที่ระบุร่วมกัน แล้วส่งคาเชิญไปให้เขาเหล่านั้น ก็สามารถใช้งานเอกสารร่วมกันได้ ใช้งานร่วมกันได้ทันที ทุกคนที่คุณเชิญให้เข้ามาแก้ไขหรือดูเอกสาร สเปรดชีท หรือ งานนาเสนอของ คุณ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทันทีที่เข้าสู่ระบบ แก้ไขและนาเสนอร่วมกับบุคคลอื่นในแบบเรียลไทม์ สามารถดูและแก้ไขร่วมกันได้หลายคนในเวลา เดียวกัน มีหน้าต่างสนทนาบนหน้าจอสาหรับการแก้ไขเอกสารและสเปรดชีท เพื่อแสดงให้คุณเห็นว่าใครแก้ไข อะไรและเมื่อใด และแล้วการดูงานนาเสนอพร้อมกันไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป เนื่องจากใครก็ตามที่เข้ามาร่วมใน งานนาเสนอ ต่างก็สามารถติดตามงานนาเสนอนั้นได้โดยอัตโนมัติ 3. จัดเก็บและจัดระเบียบงานอย่างปลอดภัย แก้ไขและเข้าถึงจากที่ไหนก็ได้ ไม่ต้องดาวน์โหลดสิ่งใด คุณสามารถเข้าถึงเอกสารสเปรดชีท และงาน นาเสนอของคุณได้จากคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และมีเบราว์เซอร์มาตรฐานโดยไม่ มีค่าใช้จ่ายใดๆ จัดเก็บงานของคุณได้อย่างปลอดภัย อุปกรณ์เก็บข้อมูลแบบออนไลน์ และการบันทึกอัตโนมัติ ช่วยให้ คุณไม่ต้องกังวลเรื่องฮาร์ดไดรว์เสียหรือไฟดับเพราะข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ของ Google บันทึกและส่งออกสาเนาได้อย่างง่ายดาย สามารถบันทึกเอกสาร และสเปรดชีทของคุณไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณในรูปแบบ DOC, XLS, CSV, ODS, ODT, PDF, RTF และ HTML ได้ การจัดระเบียบเอกสารของคุณ ค้นหาเอกสารของคุณได้อย่างง่ายดายด้วยการจัดระเบียบเอกสารใน โฟลเดอร์ต่างๆ และสามารถลากและวางเอกสารต่างๆ ของคุณลงในหลายโฟลเดอร์ได้ตามที่คุณต้องการ
  • 4. 4. ควบคุมว่าใครสามารถดูเอกสารของคุณได้ เผยแพร่งานของคุณเป็นหน้าเว็บ คุณสามารถเผยแพร่เอกสารของคุณแบบออนไลน์ได้โดยการคลิก เพียงครั้งเดียว ก็สามารถเผยแพร่ผลงานชิ้นสาคัญของคุณให้เป็นหน้าเว็บได้อย่างง่าย ควบคุมว่าจะให้ใครเห็นหน้าเว็บของคุณได้บ้าง สามารถเผยแพร่ข้อมูลได้ทั่วโลกหรือจากัดเอกสารให้ เห็นได้ในกลุ่มเพียงแค่สองสามคน หรือจะสั่งไม่ให้ใครเห็นเอกสารนั้นเลยก็ได้ ซึ่งก็แล้วแต่คุณจะกาหนด นอกจากนี้ยังสามารถหยุดการเผยแพร่ข้อมูลได้ตลอดเวลา โพสต์เอกสารขึ้นบล็อกของคุณ เมื่อคุณสร้างเอกสารเสร็จ คุณสามารถโพสต์เอกสารลงบล็อกของคุณได้ ทันที เผยแพร่ภายในบริษัทหรือกลุ่มของคุณ เมื่อใช้ Google Apps จะช่วยให้ใช้งานเอกสาร สเปรดชีท และ งานนาเสนอที่สาคัญร่วมกันภายในบริษัทหรือกลุ่มของคุณได้ง่ายขึ้น เริ่มต้นใช้งาน Google Docs สามารถเข้าใช้งานได้ 2 วิธี คือ 1. เข้าเว็บไซต์ http://docs.google.com แล้วล็อกอินเข้าสู่ระบบ Google Docs
  • 5. 2. สา หรับผู้ใช้บริการ Gmail อยู่แล้ว หลังจากล็อกอินเข้าสู่ระบบ Gmail แล้วให้คลิกที่ “เอกสาร” บนแถบเมนู ด้านบนซ้ายมือ ก็จะเข้าสู่หน้า Google Docs ได้ทันที 3. หลังจากเข้าสู่ระบบแล้ว จะพบกับหน้าเว็บไซต์ของ Google Docs พร้อมใช้งาน สา หรับบางท่านที่ระบบยัง เป็นภาษาอังกฤษอยู่ สามารถเปลี่ยนเป็นภาษาไทยได้โดยคลิก “การตั้งค่า” ในแถบเมนูด้านบนขวามือเลือก “การตั้งค่าเอกสาร”
  • 6. จากหน้านี้เราสามารถตั้งค่าพื้นฐานต่างๆให้กับระบบได้ทั้งการเน้น ตัวอักษร ภาษา โซนเวลา และเมื่อผู้ใช้สิ้นสุดการใช้งานให้ใช้เมาส์คลิกคา ว่า “ออกจากระบบ” ทุกครั้ง สร้างเอกสาร การสร้างเอกสารใน Google Docs สามารถทา ได้เหมือนการใช้งานบน MS Office แต่เมื่อสร้างเอกสาร เรียบร้อยแล้ว เราสารถกา หนดสิทธ์ให้ใช้งานร่วมกันได้ เราสามารถทา ได้ทั้งสร้างเอกสารขึ้นมาใหม่เลยบน Google Docs หรืออัปโหลดเอกสารที่มีอยู่แล้วที่สร้างจาก MS Office ขึ้นไปใช้งานบน Google Docs ได้ (ภายใต้ เงื่อนไขและข้อจา กัดของ Google Docs) ข้นัตอนการสร้างเอกสาร มีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “เอกสาร”
  • 7. จะปรากฏหน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Word 2. เมนูและแถบเครื่องมือที่มีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Word สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การกา หนด ลักษณะข้อความ แบบอักษร ขนาดตัวอักษร ตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเส้นใต้ ตา แหน่งของข้อความ แทรกตาราง หรือแม้กระทั่งแทรกภาพ เป็นต้น 3. ตั้งค่าหน้ากระดาษ ให้ไปที่เมนู “ไฟล์” แล้วคลิกเลือก “การตั้งค่าหน้ากระดาษ…” จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “การตั้งค่าหน้ากระดาษ” ให้ทา การกา หนดการวางแนวกระดาษ ขนาดกระดาษ สีพื้นหลังกระดาษตามที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม “ตกลง”
  • 8. 4. การเปลี่ยนชื่อเอกสาร เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่โปรแกรมจะกา หนดชื่อเอกสารเป็น “เอกสารไม่มีชื่อ” แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อเอกสารเองได้ใหม่โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “เอกสารไม่มีชื่อ” จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “เปลี่ยนชื่อเอกสาร” ให้เรากรอกชื่อเอกสารที่ต้องการลงไป แล้วกดปุ่ม “ตกลง” 5. พิมพ์เอกสาร และจัดรูปแบบตามที่ต้องการ
  • 9. 6. การแทรกภาพ สามารถแทรกภาพโดยการคลิกที่เมนู “แทรก” หรือ บนแถบเครื่องมือ จากนั้นจะ ปรากฏหน้าต่าง “แทรกภาพ” ให้เรากดปุ่ม “Browse” เพื่ออัปโหลดรูป 7. การบันทึกเอกสาร โปรแกรมจะทา การบันทึกเอกสารให้อัตโนมัติเมื่อมีการพิมพ์หรือแก้ไขเอกสาร หรือถ้าเรา ต้องการจะบันทึกเอกสารด้วยตนเองก็ให้กดที่ปุ่ม “บันทึกเดี๋ยวนี้”
  • 10. สร้างสเปรดชีต ข้นัตอนการสร้างสเปรดชีต มีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “สเปรดชีต” จะปรากฏหน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Excel
  • 11. 2. เมนู และแถบเครื่องมือของเอกสารสเปรดชีตมีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Excel สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การกา หนดรูปแบบสกุลเงิน วันที่ การใช้ฟังก์ชัน การใส่สูตรคา นวณ การแทรกแผนภูมิ เป็นต้น 3. การเปลี่ยนชื่อเอกสาร เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกา หนดชื่อเอกสารเป็น “สเปรดชีตที่ยังไม่ได้ บันทึก” แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อเอกสารเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “สเปรดชีตทยีั่งไม่ได้บันทึก” จากนั้นจะปรากฏ หน้าต่าง “เปลยี่นชื่อสเปรดชีต” ให้เรากรอกชื่อเอกสารที่ต้องการลงไป แล้วกดปุ่ม “ตกลง”
  • 12. 4. พิมพ์เอกสาร และจัดรูปแบบตามที่ต้องการ 5. การแทรกภาพ สามารถแทรกภาพโดยการคลิกที่เมนู “แทรก” หรือ บนแถบเครื่องมือ จากนั้น จะปรากฏหน้าต่าง “แทรกภาพ” ให้เรากดปุ่ม “Browse” เพื่ออัปโหลดรูป หรือจะให้ Google ช่วยค้นหา รูปออนไลน์ก็ได้
  • 13. 6. การุ6.แทรกแผนภูมิ สามารถแทรกแผนภูมิได้ตามขั้นตอนดังนี้ 6.1 คลิกที่เมนู “แทรก” หรือ บนแถบเครื่องมือ จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “เครื่องมือแก้ไขแผนภูมิ” 6.2 คลิกที่คา ว่า “เลือกช่วง” เพื่อกา หนดช่วงของข้อมูลที่จะนา มาสร้างแผนภูมิ
  • 14. 6.3 ใช้เมาส์คลิกลากช่วงของข้อมูลที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม “ตกลง” 6.4 คลิกเลือกรูปแบบของแผนภูมิ เช่น แผนภูมิคอลัมน์ จากนั้นกดปุ่ม “แทรก”
  • 15. 7. การเปลี่ยนชื่อแผ่นงาน ทา ได้โดย ใช้เมาส์คลิกขวาที่แผ่นงาน แล้วเลือกคา สั่ง “เปลยี่นชื่อ” จากนั้นจะ ปรากฏหน้าต่าง “เปลยี่นชื่อ” ให้ป้อนชื่อแผ่นงานใหม่ แล้วกดปุ่ม “ตกลง” 8. การเพิ่มแผ่นงาน/แสดงแผ่นงาน ถ้าต้องการเพิ่มแผ่นงาน ให้คลิกที่สัญลักษณ์ และถ้าต้องการ แสดงแผ่นงานที่มีอยู่ ให้คลิกที่สัญลักษณ์ 9. การบันทึกเอกสาร โปรแกรมจะทา การบันทึกเอกสารให้อัตโนมัติเมื่อมีการพิมพ์หรือแก้ไขเอกสาร หรือถ้าเราต้องการจะบันทึกเอกสารด้วยตนเองก็ให้กดที่ปุ่ม “บันทึกเดี๋ยวนี้”
  • 16. สร้างงานนาเสนอ ข้นัตอนการสร้างงานนาเสนอ มีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “งานนาเสนอ” จะปรากฏหน้าเอกสารที่มีลักษณะคล้ายกับ MS Powerpoint
  • 17. 2.เมนู และแถบเครื่องมือของเอกสารงานนาเสนอมีลักษณะคล้ายกับโปรแกรม MS Powerpoint สามารถใช้งานได้ง่าย เช่น การแทรกกล่องข้อความ แทรกรูปภาพ แทรกวิดีโอออนไลน์ เปลี่ยนชุด รูปแบบ และพื้นหลัง เป็นต้น 3. การเปลี่ยนชื่อเอกสาร เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกา หนดชื่อเอกสารเป็น “งานนาเสนอไม่มี ชื่อ” แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อเอกสารเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “งานนาเสนอไม่มีชื่อ” จากนั้นจะปรากฏ หน้าต่าง “ป้อนชื่องานนาเสนอใหม่” ให้เรากรอกชื่อเอกสารที่ต้องการลงไป แล้วกดปุ่ม “OK” 4. การเปลี่ยนรูปแบบของงานนาเสนอ สามารถเปลี่ยนได้ 2 แบบ คือ เปลี่ยนชุดรูปแบบ และ เปลี่ยนพื้นหลัง
  • 18. 4.1 เปลี่ยนชุดรูปแบบ ให้คลิกที่เมนู “รูปแบบ” แล้วเลือกรายการ “การตั้งค่างานนาเสนอ” และ “เปลี่ยนชุดรูปแบบ” ตามลาดับ จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างให้เลือกชุดรูปแบบ
  • 19. 4.2 เปลี่ยนพื้นหลัง ให้คลิกที่เมนู “รูปแบบ” แล้วเลือกรายการ “การตั้งค่างานนาเสนอ” และ “เปลยี่น พื้นหลัง” ตามลา ดับ จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างให้แทรกรูปภาพ ให้ใช้เมาส์คลิกที่คา ว่า “แทรกรูปภาพ” และกดปุ่ม “Browse” เพื่ออัปโหลด
  • 20. จากนั้นให้กดปุ่ม “บันทึก” เพื่อนา ภาพที่เลือกมาเป็นภาพพื้นหลังของสไลด์ และถ้าต้องการนา ภาพที่ เลือกนั้นไปใช้กับสไลด์ทั้งหมด ก็ให้คลิกเครื่องหมายถูกในช่อง “นาพื้นหลังไปใช้กับสไลด์ทั้งหมด” 5. ใส่ข้อความ โดยการพิมพ์และตกแต่งตามความต้องการ
  • 21. 6. การเพิ่มสไลด์ ให้คลิกที่เมนู “สไลด์” แล้วคลิกเลือกรายการ “สไลด์ใหม่” หรือคลิกที่สัญลักษณ์ ก็ได้ จากนั้น จากปรากฏหน้าต่าง “เลือกเค้าโครงสไลด์” 7. การแทรกภาพลงในสไลด์ ทา ได้โดยคลิกที่เมนู “แทรก” แล้วเลือกรายการ “ภาพ”
  • 22. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “แทรกรูปภาพ” ให้กดปุ่ม “Browse” แล้วกดปุ่ม “Open” ตามลา ดับ เมื่อได้ รูปภาพที่ต้องการแล้ว ให้กดปุ่ม “ตกลง” เพื่อนา ภาพใส่ลงสไลด์
  • 23. 8. การแทรกวิดีโอลงในสไลด์ ทา ได้โดยคลิกที่เมนู “แทรก” แล้วเลือกรายการ “วิดีโอ” จากนั้นจะปรากฏหน้าต่าง “เลือกวิดีโอ” ให้เราค้นหาวิดีโอจาก Youtube แล้วกดปุ่มค้นหาวิดีโอ จากนั้น เมื่อค้นหาวีดีโอได้แล้ว ให้คลิกเลือกวิดีโอ ตามที่ต้องการ แล้วให้กดปุ่ม “เลือกวิดีโอ”
  • 24. รอสักครู่ วิดีโอที่เลือกก็จะถูกนามาลงในสไลด์ 9. งานนา เสนอที่ทา เสร็จแล้ว ผู้ใช้สามารถนา เสนองานได้โดยใช้เมาส์คลิกที่ปุ่ม “เริ่มงานนาเสนอ” หรือกดปุ่มคีย์บอร์ด CTRL+F5 และถ้าต้องการนา เสนองานแบบเตม็จอ (Full Screen) ก็ให้กด ปุ่ม คีย์บอร์ด F11
  • 25. 10. การบันทึกเอกสาร โปรแกรมจะทา การบันทึกเอกสารให้อัตโนมัติเมื่อมีการพิมพ์หรือแก้ไข เอกสาร หรือถ้าเราต้องการจะบันทึกเอกสารด้วยตนเองก็ให้กดที่ปุ่ม “บันทึกเดี๋ยวนี้” สร้างฟอร์ม ข้นัตอนการสร้างฟอร์มแบบสอบถาม มีดังนี้ 1. คลิกปุ่ม “สร้างใหม่” แล้วเลือก “แบบฟอร์ม”
  • 26. จะปรากฏหน้าจอการสร้างฟอร์มแบบสอบถาม 2. การเปลี่ยนชื่อฟอร์ม เริ่มต้นสร้างเอกสารใหม่ โปรแกรมจะกา หนดชื่อฟอร์มเป็น “ฟอร์มไม่มีชื่อ” แต่เราสามารถเปลี่ยนชื่อฟอร์มเองได้ใหม่ โดยคลิกเมาส์ที่ช่อง “ฟอร์มไม่มีชื่อ” แล้วพิมพ์ชื่อฟอร์ม แบบสอบถามตามที่ต้องการลงไป เช่น “แบบสอบถามความรู้พื้นฐานของผู้เข้ารับการอบรม คอมพิวเตอร์”
  • 27. 3.พิมพ์รายละเอียดคา ถาม และเลือกว่าต้องการให้คา ตอบเป็นแบบใด 3.1 แบบข้อความ จะเป็นการตอบแบบสั้นๆ เพียง 1 บรรทัด เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 3.2 แบบข้อความย่อหน้า จะเป็นการตอบแบบยาวหลายบรรทัด เหมาะกับการให้ข้อเสนอแนะ เสร็จแล้ว ให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 3.3 แบบหลายตัวเลือก แต่จะสามารถเลือกได้เพียงคา ตอบ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น”
  • 28. 3.4 แบบช่องทา เครื่องหมาย สามารถเลือกคา ตอบได้หลายคา ตอบ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 3 . 5 3.5 แบบเลือกจากรายการ เป็นการเลือกคา ตอบจากรายการ เสร็จแล้วให้กดปุ่ม “เสร็จสิ้น” 3.6 แบบสเกล เป็นการเลือกระดับของคา ตอบ โดยต้องเลือกว่าจะให้ 1 เป็นอะไร และ 5 เป็นอะไร เช่น 1 = พอใจมาก 5 = ไม่พอใจ
  • 29. 4. การเพิ่มรายการคา ถาม ให้ผู้ใช้คลิกที่ปุ่ม “เพมิ่รายการ” ซึ่งจะอยู่ซ้ายมือด้านบนของหน้าจอ 5. ตกแต่งแบบสอบถามให้สวยงาม น่าสนใจ โดยสามารถเลือกชุดรูปแบบ ได้โดยการกดปุ่ม “ชุด รูปแบบ” จากนั้นจะปรากฏหน้าจอให้เลือกชุดรูปแบบ
  • 30. 6. หลังจากทา แบบสอบถามเสร็จ ต้องการดูแบบสอบถาม ให้คลิกลิงก์ที่อยู่ด้านล่าง แล้วถ้าต้องการนา แบบสอบถามให้ผู้อื่นตอบ ก็ให้ใช้ลิงก์ที่อยู่ด้านล่างส่งให้กลุ่มเป้าหมายได้เลย 7. การตรวจดูการตอบกลับ ให้ผู้ใช้คลิกที่ปุ่ม “ดูการตอบกลับ” แล้วจะมีรายการให้เลือก 2 รายการ ดังนี้ 7.1 ข้อมูลสรุป