SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
1 
สรุปผลการสัมมนา การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากดัชนี ความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) 
ในระดับจังหวัด 
(Summary of a Conference for Promoting the Use of Human Achievement Index (HAI) at Provincial Level in Thailand 
โดย 
เชิญ ไกรนรา 
(Choen Krainara) 
สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง 
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 
10 ตุลาคม 2557
2 
สรุปผลการสัมมนา การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากดัชนี ความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) 
ในระดับจังหวัด และการสารวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้าร้อน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 
สานักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม (สขส.) ของ สศช. ร่วมกับสานักงานโครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nation Development Programme: UNDP) เป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) ในระดับจังหวัด เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2557 ณ โรงแรมริเวอร์แคว จังหวัด กาญจนบุรี โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมซึ่งเป็นตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของจังหวัดกาญจนบุรีทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 70 คน ผลการประชุมสรุปได้ดังนี้ 
1. นายจิระพันธ์ กัลลประวิทย์ รักษาการที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สศช. กล่าวเปิด การประชุม โดยนาเสนอความก้าวหน้าการพัฒนาคนของประเทศไทยว่า จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยของไทยใน ปัจจุบัน 8-9 ปี หรือยังไม่เรียนจบมัธยมศึกษาตอนต้น อายุคาดหมายเฉลี่ยประมาณ 70 ปี เมื่อปี 2556 UNDP จัดอันดับดัชนีความก้าวหน้าการพัฒนาคนของประเทศไทยอยู่ลาดับที่ 89 จากทั้งสิ้น 185 ประเทศ ซึ่งอยู่ใน กลุ่มประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านการพัฒนาคนสูงมาก (Very High Human Development) แม้ว่าดัชนี ความก้าวหน้าการพัฒนาคนระดับประเทศอยู่ในระดับที่น่าพอใจ แต่มีความจาเป็นต้องพัฒนาการจัดทาดัชนี เพื่อวัดความก้าวหน้าของคนเชิงพื้นที่ระดับจังหวัด โดยได้ทดลองทา 4 จังหวัดนาร่องและจัดทาดัชนีจานวน 8 ด้าน โดยใช้สถิติระดับจังหวัดที่มีอยู่ พบว่าเมื่อปี 2556 จังหวัดกาญจนบุรีถูกจัดอยู่ในลาดับที่ 68 จากทั้ง ประเทศ ซึ่งเป็น 10 จังหวัดที่มีความก้าวหน้าของคนล้าหลังนับจากท้าย ประกอบกับ ลศช.ให้ความสนใจ จังหวัดกาญจนบุรีเนื่องจากได้รับการวางแผนให้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจภาคตะวันตกที่ได้รับประโยชน์ โดยตรงจากโครงการพัฒนาท่าเรือน้าลึกและเขตอุตสาหกรรมทวายเชื่อมโยงกับท่าเรือน้าลึกแหลมฉบังของ ประเทศไทย จึงควรศึกษาสถานการณ์การพัฒนาของจังหวัด ทาให้ สศช.สนใจลงพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับผลของ HAI กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของจังหวัดกาญจนบุรี 
2. นายชัยวัฒน์ ลิมป์วรรณธะ ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี บรรยายพิเศษ เรื่อง “ศักยภาพและทิศทางการพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรี” มีสาระสาคัญดังนี้ จังหวัดกาญจนบุรีมีศักยภาพการ พัฒนาสูงเนื่องจากมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะป่าไม้และมีเขื่อนเก็บน้าขนาดใหญ่ 3 แห่ง ปัจจุบันสถานการณ์ชายแดนไทย-เมียนมาร์ สงบ และสานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติได้อนุมัติให้ยกระดับ จุดผ่อนปรนด่านเจดีย์สามองค์จุดที่ 2 ให้เป็นจุดผ่านแดนถาวรเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2557 ซึ่งช่วยส่งเสริม บรรยากาศการค้าชายแดนระหว่างไทยและเมียนมาร์ให้ขยายตัวมากขึ้นในอนาคต ในปี 2558 ประเทศเมียน มาร์จะมีการเลือกตั้งทั่วไปคาดว่าจะมีการจัดทาแผนและนโยบายการพัฒนาที่ชัดเจนเพื่อเสนอต่อประชาชน ซึ่ง
3 
ฝ่ายไทยควรจับตามองเพราะอาจมีการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อไทยได้ แนวทางการพัฒนาจังหวัด กาญจนบุรีกาหนดให้มีการแบ่งการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น 3 กลุ่มพื้นที่คือ (1) พื้นที่อนุรักษ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ป่า เขาประกอบด้วย อาเภอทองผาภูมิ อาเภอสังขละบุรี อาเภอไทรโยค และอาเภอศรีสวัสดิ์ (2) พื้นที่เศรษฐกิจ ประกอบด้วยอาเภอเมืองกาญจนบุรี และ (3) พื้นที่เร่งพัฒนา ประกอบด้วย อาเภอท่าม่วง อาเภอท่ามะกา อาเภอด่านมะขามเตี้ย อาเภอพนมทวน อาเภอห้วยกระเจา อาเภอเลาขวัญ อาเภอบ่อพลอย และอาเภอหนอง ปรือ เนื่องจากจังหวัดกาญจนบุรีเป็นเมืองหน้าด่านทาให้มีโอกาสได้รับประโยชน์มากจากการเชื่อมโยงของ โครงการพัฒนาท่าเรือน้าลึกและเขตอุตสาหกรรมทวาย โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการสารวจเส้นทางเพื่อก่อสร้าง ถนนมอเตอร์เวย์สายบางใหญ่-หนองขาว สาหรับแผนงานพัฒนาของจังหวัดฯเพื่อเชื่อมโยงกับโครงการทวายคือ การผลักดันการก่อสร้างมอเตอร์เวย์เส้นทางหนองขาว-พุน้าร้อน และเสนอให้มีการทบทวนผังเมืองของจังหวัด กาญจนบุรีเพื่อให้มีการวางแผนรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต สาหรับประเด็นระดับนโยบายที่ต้องการ การสนับสนุนจากรัฐบาลได้แก่ การผลักดันให้พื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งจังหวัด ปัจจุบัน มีการซื้อขายที่ดินในจังหวัดมากขึ้นแต่ไม่สามารถออกโฉนดได้จึงเห็นควรให้มีการปรับปรุงกฏระเบียบให้ ภาคเอกชนหรือนักลงทุนสามารถเช่าที่ดินเพื่อประกอบการได้ ตลอดทั้งส่วนกลางและจังหวัดควรมีการ ประสานนโยบายและแผนที่ใกล้ชิดกันมากขึ้นเพื่อสนับสนุนการบูรณาการทิศทางการพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรี ให้สามารถได้รับประโยชน์จากการเชื่อมโยงการพัฒนากับโครงการพัฒนาท่าเรือน้าลึกและเขตอุตสาหกรรม ทวายซึ่งเป็นพลวัตร 
3. นายทีปรัตน์ วัชรางกูร ผอ.สพก. นาเสนอ ภาพรวมตัวชี้วัดในบริบทการพัฒนาจังหวัด มีสาระสาคัญดังนี้ ในเบื้องต้นตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดที่ สศช.ริเริ่มและผลักดันให้ใช้ประโยชน์มีจานวน 26 ตัวชี้วัด และตัวชี้วัดการพัฒนาระดับกลุ่มจังหวัดจานวน 14 ตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ ซึ่ง ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดและ HAI มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน โดยจังหวัดสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือ ในการวางแผนที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาจังหวัด โดยรัฐบาลให้ความสนใจและเห็นความสาคัญของ การจัดทาตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เป็นเครื่องมือในการบอกทิศทางการพัฒนาของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และช่วยให้แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเชื่อมโยงกับภาพรวมของประเทศ สามารถ เห็นปัญหาและศักยภาพ หรือจุดเด่นของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดได้ชัดเจนขึ้น หลังจากนั้น สศช.ได้ปรับปรุงตัวชี้วัด ให้เป็นระบบ ถูกต้องตามหลักวิชาการมากขึ้นโดยจัดจ้างที่ปรึกษาโครงการนาร่องจัดทาตัวชี้วัดการพัฒนา จังหวัดและกลุ่มจังหวัดปี 2557 ซึ่งแนวคิดในการปรับปรุงคือการพัฒนาตัวชี้วัด 2 ประเภท ประกอบด้วย ตัวชี้วัดที่มีความคล้ายคลึงกันทุกพื้นที่ (Common Indicator) และตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของ พื้นที่ (Specific Indicator) รวมทั้งการการพัฒนาดัชนีผสม (Composite Index) ขณะนี้อยู่ระหว่างการ พิจารณาร่างรายงานฉบับสุดท้าย 
4. ดร.ปิยนุช วุฒิสอน ผอ.สขส. นาเสนอ แนวคิดของการพัฒนาดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) มีสาระสาคัญดังนี้ การเผยแพร่การใช้ประโยชน์จาก HAI กาหนด
4 
ดาเนินการในจังหวัดนาร่อง 2 จังหวัดคือ กาญจนบุรีและนครพนม ซึ่งคาดว่าผลการขับเคลื่อนโดยการสัมมนา ในครั้งนี้จะสามารถเป็นรูปแบบ (Model) เพื่อนาไปสู่การขยายผลในจังหวัดอื่นๆ ต่อไป โดย HAI เป็นดัชนีรวม ที่พัฒนาขึ้นโดย UNDP ประเทศไทย เมื่อปี 2533 เพื่อเป็นทางเลือกที่แตกต่างจาก GDP มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินสถานภาพการพัฒนาคนและแสดงความเหลื่อมล้าและช่องว่างการพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับจังหวัด สศช. จึงประยุกต์ใช้แนวคิดและวิธีการคานวณของดัชนีการพัฒนาคนนี้ให้สามารถเปรียบเทียบสถานภาพการพัฒนา คนกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก 
4.1 องค์ประกอบของ HAI ประกอบด้วยดัชนีย่อย 8 กลุ่ม จานวนวน 40 ดัชนี ที่สะท้อน วงจรชีวิตให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาได้แก่ (1) สุขภาพจานวน 7 ตัวชี้วัด (2) การศึกษาจานวน 3 ตัวชี้วัด (3) ชีวิตการงานจานวน 4 ตัวชี้วัด (4) รายได้จานวน 4 ตัวชี้วัด (5) ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมจานวน 5 ตัวชี้วัด (6) ชีวิตครอบครัวและชุมชนจานวน 6 ตัวชี้วัด (7) การคมนาคมและการสื่อสารจานวน 6 ตัวชี้วัด และ (8) การมีส่วนร่วมจานวน 4 ตัวชี้วัด 
4.2 การจัดทา HAI UNDP ประเทศไทยจัดทา HAI มาแล้ว 4 ครั้ง คือปี 2546, 2550, 2552 
และล่าสุดปี 2557 โดยการจัดทา HAI ในแต่ละครั้งไม่ได้เปลี่ยนดัชนีย่อย 8 ด้าน แต่ปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดให้ สะท้อนการเปลี่ยนแปลงของสังคม ปรับเปลี่ยนแหล่งข้อมูลที่จัดเก็บไม่ต่อเนื่องหรือมีแหล่งข้อมูลใหม่ที่ดีกว่า ซึ่งการเปลี่ยนตัวชี้วัดและแหล่งข้อมูลดังกล่าวทาให้การใช้ HAI ใช้เปรียบเทียบระหว่างช่วงเวลาต้องมีความ ระมัดระวังและต้องพิจารณาในรายละเอียดขององค์ประกอบด้วย ในระยะต่อไป สศช.โดย สขส.รับดาเนินการ ต่อจาก UNDP ประเทศไทยในการจัดทา HAI ซึ่งคาดว่าจะสามารถจัดทาข้อมูล HAI ทุกปี โดยให้ความสาคัญ กับการเลือกใช้ตัวชี้วัดที่บ่งชี้การพัฒนาคนที่เหมาะสม มีความครอบคลุมทั้งการพัฒนาตัวคนและ สภาพแวดล้อมรอบตัวคน โดยจานวนตัวชี้วัดจะต้องไม่มากจนเกินไป เมื่อจัดทาเสร็จแล้วจะเผยแพร่ HAI ทาง เวปไซต์ สศช. http://social.nesdb.go.th 
4.3 ความก้าวหน้าของการพัฒนาคนของจังหวัดกาญจนบุรีเมื่อประเมินด้วย HAI การ พัฒนาคนในภาพรวม (HAI) ของกาญจนบุรีเมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดภาคตะวันตก ในภาคตะวันตก ประกอบด้วยจังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี สุพรรณบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งการพัฒนา คนของจังหวัดภาคตะวันตกพบว่า การพัฒนาคนของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้าน้อยที่สุดในกลุ่มจังหวัดภาค ตะวันตกและอยู่ในลาดับค่อนข้างท้ายของประเทศ สมุทรสงครามมีความก้าวหน้ามากที่สุดในกลุ่มจังหวัดภาค ตะวันตกและอยู่ในลาดับต้นๆ ของประเทศ เพชรบุรีก้าวหน้าในลาดับต้นๆของประเทศแต่มีแนวโน้มลดลง ส่วนราชบุรี สุพรรณบุรี และประจวบคีรีขันธ์ อยู่ในลาดับกลางๆ เมื่อเทียบกับจังหวัดทั่วประเทศ สาหรับการ พัฒนาคนของกาญจนบุรีเมื่อประเมินด้วย HAI ในภาพรวม เมื่อเรียงลาดับการพัฒนาคนระดับจังหวัดทั่ว ประเทศ ปรากฏว่าการพัฒนาคนของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้าลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วง 7 ปีที่ผ่านมา โดย ลดลงจากลาดับที่ 43 ในปี 2550 มาอยู่ลาดับที่ 52 และลาดับที่ 68 ในปี 2552 และปี 2557 ตามลาดับ สาหรับการพัฒนาคนของกาญจนบุรีในแต่ละดัชนีย่อย HAI การพัฒนาคนด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม
5 
ของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้ามากกว่าด้านอื่น โดอยู่ในลาดับ 33 ของประเทศ (จากทั้งหมด 76 จังหวัด) และ ในลาดับ 8 ของภาคกลาง (จากทั้งหมด 25 จังหวัด) ส่วนการพัฒนาคนด้านการคมนาคมและการสื่อสาร กาญจนบุรีก้าวหน้าน้อยที่สุดโดยอยู่ในลาดับ 68 ของประเทศ และในลาดับสุดท้ายของภาคกลาง (ลาดับ 25) 
5. ดร.เดชรัช สุขกาเนิด ผู้อานวยการมูลนิธินโยบายสุขภาวะ นาเสนอการใช้ประโยชน์จาก ดัชนี HAI ในระดับจังหวัด ของ 3 จังหวัดนาร่องสรุปได้ดังนี้ 
5.1 การใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI ในจังหวัดสระแก้ว เศรษฐกิจภาพรวมของจังหวัด สระแก้วมีแนวโน้มดีขึ้น โดยข้อมูลรายได้ต่อหัวของประชาชนของจังหวัดสระแก้วเพิ่มจาก 34,406 บาท/คน/ปี ในปี 2547 เป็น 55,508 บาท/คน/ปี ในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้น 61.30 % ในขณะที่รายได้ต่อหัวเฉลี่ยทั่วประเทศ เพิ่มจาก 101,304 บาท/คน/ปี ในปี 2547 เป็น 128,606 บาท/คน/ปี ในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้น 26.90 % ซึ่ง ชี้ให้เห็นว่า รายได้ต่อหัวของสระแก้วเพิ่มเร็วกว่ารายได้ต่อหัวเฉลี่ยทั่วประเทศ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลดัชนีการ พัฒนาคน (HAI) ของจังหวัดสระแก้วตกจากลาดับ 50 ในปี 2550 ไปอยู่ที่ลาดับ 75 ในปี 2552 ซึ่งปัญหาเกิด จากการพัฒนาคน 7 ด้านใน 8 ด้านมีลาดับแย่ลงทั้งด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านชีวิตการงาน ด้านที่อยู่ อาศัยและสภาพแวดล้อม ด้านชีวิตครอบครัวและชุมชน ด้านการคมนาคมและการสื่อสาร และด้านการมีส่วน ร่วม มีเพียงด้านเดียวที่มีลาดับดีขึ้นคือด้านรายได้ โดยเลื่อนจากลาดับ 72 ในปี 2550 ขึ้นเป็นลาดับ 61 ในปี 2552 
5.2 การใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI ในจังหวัดนครปฐม นครปฐมมีมีการพัฒนาคนที่ดีขึ้น โดยการพัฒนาคนของนครปฐมอยู่ในลาดับ 8 ของประเทศในปี 2550 และได้พัฒนาขึ้นอยู่ในลาดับ 6 ในปี 2552 เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลดัชนีย่อย 8 ด้านภายใต้ดัชนีการพัฒนาคนของนครปฐมในปี 2550 เปรียบเทียบ กับปี 2552 พบว่าจากดัชนีย่อย 8 ด้าน มีการพัฒนาดีขึ้น 5 ด้าน คือ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านที่อยู่ อาศัยและสิ่งแวดล้อม ด้านครอบครัวและชุมชน ด้านการคมนาคมขนส่งและการสื่อสาร ปัจจัยหลักมาจาก โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครปฐมเป็นแบบ “เศรษฐกิจสามขา” คือมีทั้งภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการที่มีการเกื้อหนุนกันอย่างสมดุล ดังนั้นความท้าทายของการพัฒนาจังหวัด นครปฐม คือการรักษาเศรษฐกิจสามขาและลงทุนพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง 
5.3 การใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI ในจังหวัดกาญจนบุรี กาญจนบุรีกาลังจะเป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจภาคตะวันตก แต่ดัชนีความก้าวหน้าของคน (HAI) อยู่ในลาดับต่า โดยการพัฒนาคน ของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้าน้อยที่สุดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันตกและอยู่ในลาดับค่อนข้างท้ายของประเทศ รวมทั้งการพัฒนาคนของกาญจนบุรีมีแนวโน้มแย่ลงโดยอยู่ในลาดับ 52 ในปี 2552 และลดลงอยู่ในลาดับ 68 ในปี 2557 ซึ่งติดลาดับ 1 ใน 10 ของจังหวัดที่มีการพัฒนาคนน้อยที่สุดของประเทศ เมื่อเปรียบเทียบดัชนีย่อย HAI 8 ด้าน ในปี 2552 กับปี 2557 พบว่าดัชนีย่อย HAI ดีขึ้น 3 ด้าน คือ ด้านชีวิตการงาน ด้านที่อยู่อาศัย และสภาพแวดล้อม และด้านชีวิตครอบครัวและชุมชน ส่วนดัชนีย่อย HAI อีก 5 ด้านเปลี่ยนแปลงแย่ลง คือ ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านการคมนาคมและการสื่อสาร และด้านการมีส่วนร่วม เมื่อจังหวัด
6 
กาญจนบุรีอยู่ในสถานการณ์ดังกล่าวแล้วจะเป็นศูนย์กลางของภาคตะวันตกได้อย่างไร จึงเป็นเรื่องที่คน กาญจนบุรีจะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาและกาหนดทิศทางการพัฒนา 
6. ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI จากผู้เข้าประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมเห็น ว่าดัชนี HAI มีประโยชน์ในการประเมินระดับการพัฒนาคนของจังหวัดและการค้นหาพื้นที่ที่มีปัญหาหรือด้อย การพัฒนาในจังหวัด อย่างไรก็ตามผู้เข้าร่วมการประชุมได้เสนอให้มีการเก็บข้อมูลภาคสนามและการใช้ ประโยชน์อย่างระมัดระวัง เนื่องจากอาจมีความคลาดเคลื่อนของสภาพการพัฒนาที่แท้จริงของพื้นที่ในจังหวัด โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทห่างไกลกับข้อมูลในฐานข้อมูลของ HAI ระดับจังหวัด เช่น การเข้าถึงบริการไฟฟ้าของ ครัวเรือน หรือสภาพถนนในชุมชน เป็นต้น

Contenu connexe

En vedette

การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...Dr.Choen Krainara
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...Dr.Choen Krainara
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...Dr.Choen Krainara
 
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อนการสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อนDr.Choen Krainara
 
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...Dr.Choen Krainara
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...Dr.Choen Krainara
 
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...Dr.Choen Krainara
 
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...Dr.Choen Krainara
 
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...Dr.Choen Krainara
 
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ... การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...Dr.Choen Krainara
 

En vedette (10)

การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยงกับประเทศเมี...
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
 
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อนการสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
การสำรวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้ำร้อน
 
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
ความก้าวหน้าการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเมืองชายแดนในจังหวัดกาญจนบุรีเชื่อมโยง...
 
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
การประยุกต์ใช้ตัวชี้วัดเพื่อการปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม ด้านเศรษฐกิ...
 
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
การพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันของสินค้าข้าวและเกษตรกรชาวนาในพื้นที่ภาคกลางอย...
 
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
Policy Analysis on Development of Special Border Economic Zones in Thailand (...
 
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of  Khok Charoen Dist...
Decentralized Rural Development Planning : A Case Study of Khok Charoen Dist...
 
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ... การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 

Plus de Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsDr.Choen Krainara
 

Plus de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

สรุปผลการสัมมนา การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากดัชนีความก้าวหน้าของคน(Human Achievement Index: HAI) ในระดั

  • 1. 1 สรุปผลการสัมมนา การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากดัชนี ความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) ในระดับจังหวัด (Summary of a Conference for Promoting the Use of Human Achievement Index (HAI) at Provincial Level in Thailand โดย เชิญ ไกรนรา (Choen Krainara) สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 10 ตุลาคม 2557
  • 2. 2 สรุปผลการสัมมนา การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากดัชนี ความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) ในระดับจังหวัด และการสารวจสภาพพื้นที่บ้านพุน้าร้อน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี สานักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม (สขส.) ของ สศช. ร่วมกับสานักงานโครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nation Development Programme: UNDP) เป็นเจ้าภาพจัดการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) ในระดับจังหวัด เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2557 ณ โรงแรมริเวอร์แคว จังหวัด กาญจนบุรี โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมซึ่งเป็นตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของจังหวัดกาญจนบุรีทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 70 คน ผลการประชุมสรุปได้ดังนี้ 1. นายจิระพันธ์ กัลลประวิทย์ รักษาการที่ปรึกษาด้านนโยบายและแผนงาน สศช. กล่าวเปิด การประชุม โดยนาเสนอความก้าวหน้าการพัฒนาคนของประเทศไทยว่า จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยของไทยใน ปัจจุบัน 8-9 ปี หรือยังไม่เรียนจบมัธยมศึกษาตอนต้น อายุคาดหมายเฉลี่ยประมาณ 70 ปี เมื่อปี 2556 UNDP จัดอันดับดัชนีความก้าวหน้าการพัฒนาคนของประเทศไทยอยู่ลาดับที่ 89 จากทั้งสิ้น 185 ประเทศ ซึ่งอยู่ใน กลุ่มประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านการพัฒนาคนสูงมาก (Very High Human Development) แม้ว่าดัชนี ความก้าวหน้าการพัฒนาคนระดับประเทศอยู่ในระดับที่น่าพอใจ แต่มีความจาเป็นต้องพัฒนาการจัดทาดัชนี เพื่อวัดความก้าวหน้าของคนเชิงพื้นที่ระดับจังหวัด โดยได้ทดลองทา 4 จังหวัดนาร่องและจัดทาดัชนีจานวน 8 ด้าน โดยใช้สถิติระดับจังหวัดที่มีอยู่ พบว่าเมื่อปี 2556 จังหวัดกาญจนบุรีถูกจัดอยู่ในลาดับที่ 68 จากทั้ง ประเทศ ซึ่งเป็น 10 จังหวัดที่มีความก้าวหน้าของคนล้าหลังนับจากท้าย ประกอบกับ ลศช.ให้ความสนใจ จังหวัดกาญจนบุรีเนื่องจากได้รับการวางแผนให้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจภาคตะวันตกที่ได้รับประโยชน์ โดยตรงจากโครงการพัฒนาท่าเรือน้าลึกและเขตอุตสาหกรรมทวายเชื่อมโยงกับท่าเรือน้าลึกแหลมฉบังของ ประเทศไทย จึงควรศึกษาสถานการณ์การพัฒนาของจังหวัด ทาให้ สศช.สนใจลงพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับผลของ HAI กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของจังหวัดกาญจนบุรี 2. นายชัยวัฒน์ ลิมป์วรรณธะ ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี บรรยายพิเศษ เรื่อง “ศักยภาพและทิศทางการพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรี” มีสาระสาคัญดังนี้ จังหวัดกาญจนบุรีมีศักยภาพการ พัฒนาสูงเนื่องจากมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะป่าไม้และมีเขื่อนเก็บน้าขนาดใหญ่ 3 แห่ง ปัจจุบันสถานการณ์ชายแดนไทย-เมียนมาร์ สงบ และสานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติได้อนุมัติให้ยกระดับ จุดผ่อนปรนด่านเจดีย์สามองค์จุดที่ 2 ให้เป็นจุดผ่านแดนถาวรเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2557 ซึ่งช่วยส่งเสริม บรรยากาศการค้าชายแดนระหว่างไทยและเมียนมาร์ให้ขยายตัวมากขึ้นในอนาคต ในปี 2558 ประเทศเมียน มาร์จะมีการเลือกตั้งทั่วไปคาดว่าจะมีการจัดทาแผนและนโยบายการพัฒนาที่ชัดเจนเพื่อเสนอต่อประชาชน ซึ่ง
  • 3. 3 ฝ่ายไทยควรจับตามองเพราะอาจมีการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อไทยได้ แนวทางการพัฒนาจังหวัด กาญจนบุรีกาหนดให้มีการแบ่งการใช้ประโยชน์ที่ดินออกเป็น 3 กลุ่มพื้นที่คือ (1) พื้นที่อนุรักษ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ป่า เขาประกอบด้วย อาเภอทองผาภูมิ อาเภอสังขละบุรี อาเภอไทรโยค และอาเภอศรีสวัสดิ์ (2) พื้นที่เศรษฐกิจ ประกอบด้วยอาเภอเมืองกาญจนบุรี และ (3) พื้นที่เร่งพัฒนา ประกอบด้วย อาเภอท่าม่วง อาเภอท่ามะกา อาเภอด่านมะขามเตี้ย อาเภอพนมทวน อาเภอห้วยกระเจา อาเภอเลาขวัญ อาเภอบ่อพลอย และอาเภอหนอง ปรือ เนื่องจากจังหวัดกาญจนบุรีเป็นเมืองหน้าด่านทาให้มีโอกาสได้รับประโยชน์มากจากการเชื่อมโยงของ โครงการพัฒนาท่าเรือน้าลึกและเขตอุตสาหกรรมทวาย โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการสารวจเส้นทางเพื่อก่อสร้าง ถนนมอเตอร์เวย์สายบางใหญ่-หนองขาว สาหรับแผนงานพัฒนาของจังหวัดฯเพื่อเชื่อมโยงกับโครงการทวายคือ การผลักดันการก่อสร้างมอเตอร์เวย์เส้นทางหนองขาว-พุน้าร้อน และเสนอให้มีการทบทวนผังเมืองของจังหวัด กาญจนบุรีเพื่อให้มีการวางแผนรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต สาหรับประเด็นระดับนโยบายที่ต้องการ การสนับสนุนจากรัฐบาลได้แก่ การผลักดันให้พื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้งจังหวัด ปัจจุบัน มีการซื้อขายที่ดินในจังหวัดมากขึ้นแต่ไม่สามารถออกโฉนดได้จึงเห็นควรให้มีการปรับปรุงกฏระเบียบให้ ภาคเอกชนหรือนักลงทุนสามารถเช่าที่ดินเพื่อประกอบการได้ ตลอดทั้งส่วนกลางและจังหวัดควรมีการ ประสานนโยบายและแผนที่ใกล้ชิดกันมากขึ้นเพื่อสนับสนุนการบูรณาการทิศทางการพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรี ให้สามารถได้รับประโยชน์จากการเชื่อมโยงการพัฒนากับโครงการพัฒนาท่าเรือน้าลึกและเขตอุตสาหกรรม ทวายซึ่งเป็นพลวัตร 3. นายทีปรัตน์ วัชรางกูร ผอ.สพก. นาเสนอ ภาพรวมตัวชี้วัดในบริบทการพัฒนาจังหวัด มีสาระสาคัญดังนี้ ในเบื้องต้นตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดที่ สศช.ริเริ่มและผลักดันให้ใช้ประโยชน์มีจานวน 26 ตัวชี้วัด และตัวชี้วัดการพัฒนาระดับกลุ่มจังหวัดจานวน 14 ตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ ซึ่ง ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดและ HAI มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน โดยจังหวัดสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือ ในการวางแผนที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาจังหวัด โดยรัฐบาลให้ความสนใจและเห็นความสาคัญของ การจัดทาตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เป็นเครื่องมือในการบอกทิศทางการพัฒนาของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และช่วยให้แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเชื่อมโยงกับภาพรวมของประเทศ สามารถ เห็นปัญหาและศักยภาพ หรือจุดเด่นของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดได้ชัดเจนขึ้น หลังจากนั้น สศช.ได้ปรับปรุงตัวชี้วัด ให้เป็นระบบ ถูกต้องตามหลักวิชาการมากขึ้นโดยจัดจ้างที่ปรึกษาโครงการนาร่องจัดทาตัวชี้วัดการพัฒนา จังหวัดและกลุ่มจังหวัดปี 2557 ซึ่งแนวคิดในการปรับปรุงคือการพัฒนาตัวชี้วัด 2 ประเภท ประกอบด้วย ตัวชี้วัดที่มีความคล้ายคลึงกันทุกพื้นที่ (Common Indicator) และตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของ พื้นที่ (Specific Indicator) รวมทั้งการการพัฒนาดัชนีผสม (Composite Index) ขณะนี้อยู่ระหว่างการ พิจารณาร่างรายงานฉบับสุดท้าย 4. ดร.ปิยนุช วุฒิสอน ผอ.สขส. นาเสนอ แนวคิดของการพัฒนาดัชนีความก้าวหน้าของคน (Human Achievement Index: HAI) มีสาระสาคัญดังนี้ การเผยแพร่การใช้ประโยชน์จาก HAI กาหนด
  • 4. 4 ดาเนินการในจังหวัดนาร่อง 2 จังหวัดคือ กาญจนบุรีและนครพนม ซึ่งคาดว่าผลการขับเคลื่อนโดยการสัมมนา ในครั้งนี้จะสามารถเป็นรูปแบบ (Model) เพื่อนาไปสู่การขยายผลในจังหวัดอื่นๆ ต่อไป โดย HAI เป็นดัชนีรวม ที่พัฒนาขึ้นโดย UNDP ประเทศไทย เมื่อปี 2533 เพื่อเป็นทางเลือกที่แตกต่างจาก GDP มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินสถานภาพการพัฒนาคนและแสดงความเหลื่อมล้าและช่องว่างการพัฒนาเชิงพื้นที่ระดับจังหวัด สศช. จึงประยุกต์ใช้แนวคิดและวิธีการคานวณของดัชนีการพัฒนาคนนี้ให้สามารถเปรียบเทียบสถานภาพการพัฒนา คนกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก 4.1 องค์ประกอบของ HAI ประกอบด้วยดัชนีย่อย 8 กลุ่ม จานวนวน 40 ดัชนี ที่สะท้อน วงจรชีวิตให้คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาได้แก่ (1) สุขภาพจานวน 7 ตัวชี้วัด (2) การศึกษาจานวน 3 ตัวชี้วัด (3) ชีวิตการงานจานวน 4 ตัวชี้วัด (4) รายได้จานวน 4 ตัวชี้วัด (5) ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมจานวน 5 ตัวชี้วัด (6) ชีวิตครอบครัวและชุมชนจานวน 6 ตัวชี้วัด (7) การคมนาคมและการสื่อสารจานวน 6 ตัวชี้วัด และ (8) การมีส่วนร่วมจานวน 4 ตัวชี้วัด 4.2 การจัดทา HAI UNDP ประเทศไทยจัดทา HAI มาแล้ว 4 ครั้ง คือปี 2546, 2550, 2552 และล่าสุดปี 2557 โดยการจัดทา HAI ในแต่ละครั้งไม่ได้เปลี่ยนดัชนีย่อย 8 ด้าน แต่ปรับเปลี่ยนตัวชี้วัดให้ สะท้อนการเปลี่ยนแปลงของสังคม ปรับเปลี่ยนแหล่งข้อมูลที่จัดเก็บไม่ต่อเนื่องหรือมีแหล่งข้อมูลใหม่ที่ดีกว่า ซึ่งการเปลี่ยนตัวชี้วัดและแหล่งข้อมูลดังกล่าวทาให้การใช้ HAI ใช้เปรียบเทียบระหว่างช่วงเวลาต้องมีความ ระมัดระวังและต้องพิจารณาในรายละเอียดขององค์ประกอบด้วย ในระยะต่อไป สศช.โดย สขส.รับดาเนินการ ต่อจาก UNDP ประเทศไทยในการจัดทา HAI ซึ่งคาดว่าจะสามารถจัดทาข้อมูล HAI ทุกปี โดยให้ความสาคัญ กับการเลือกใช้ตัวชี้วัดที่บ่งชี้การพัฒนาคนที่เหมาะสม มีความครอบคลุมทั้งการพัฒนาตัวคนและ สภาพแวดล้อมรอบตัวคน โดยจานวนตัวชี้วัดจะต้องไม่มากจนเกินไป เมื่อจัดทาเสร็จแล้วจะเผยแพร่ HAI ทาง เวปไซต์ สศช. http://social.nesdb.go.th 4.3 ความก้าวหน้าของการพัฒนาคนของจังหวัดกาญจนบุรีเมื่อประเมินด้วย HAI การ พัฒนาคนในภาพรวม (HAI) ของกาญจนบุรีเมื่อเปรียบเทียบกับจังหวัดภาคตะวันตก ในภาคตะวันตก ประกอบด้วยจังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม ราชบุรี สุพรรณบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งการพัฒนา คนของจังหวัดภาคตะวันตกพบว่า การพัฒนาคนของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้าน้อยที่สุดในกลุ่มจังหวัดภาค ตะวันตกและอยู่ในลาดับค่อนข้างท้ายของประเทศ สมุทรสงครามมีความก้าวหน้ามากที่สุดในกลุ่มจังหวัดภาค ตะวันตกและอยู่ในลาดับต้นๆ ของประเทศ เพชรบุรีก้าวหน้าในลาดับต้นๆของประเทศแต่มีแนวโน้มลดลง ส่วนราชบุรี สุพรรณบุรี และประจวบคีรีขันธ์ อยู่ในลาดับกลางๆ เมื่อเทียบกับจังหวัดทั่วประเทศ สาหรับการ พัฒนาคนของกาญจนบุรีเมื่อประเมินด้วย HAI ในภาพรวม เมื่อเรียงลาดับการพัฒนาคนระดับจังหวัดทั่ว ประเทศ ปรากฏว่าการพัฒนาคนของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้าลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วง 7 ปีที่ผ่านมา โดย ลดลงจากลาดับที่ 43 ในปี 2550 มาอยู่ลาดับที่ 52 และลาดับที่ 68 ในปี 2552 และปี 2557 ตามลาดับ สาหรับการพัฒนาคนของกาญจนบุรีในแต่ละดัชนีย่อย HAI การพัฒนาคนด้านที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม
  • 5. 5 ของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้ามากกว่าด้านอื่น โดอยู่ในลาดับ 33 ของประเทศ (จากทั้งหมด 76 จังหวัด) และ ในลาดับ 8 ของภาคกลาง (จากทั้งหมด 25 จังหวัด) ส่วนการพัฒนาคนด้านการคมนาคมและการสื่อสาร กาญจนบุรีก้าวหน้าน้อยที่สุดโดยอยู่ในลาดับ 68 ของประเทศ และในลาดับสุดท้ายของภาคกลาง (ลาดับ 25) 5. ดร.เดชรัช สุขกาเนิด ผู้อานวยการมูลนิธินโยบายสุขภาวะ นาเสนอการใช้ประโยชน์จาก ดัชนี HAI ในระดับจังหวัด ของ 3 จังหวัดนาร่องสรุปได้ดังนี้ 5.1 การใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI ในจังหวัดสระแก้ว เศรษฐกิจภาพรวมของจังหวัด สระแก้วมีแนวโน้มดีขึ้น โดยข้อมูลรายได้ต่อหัวของประชาชนของจังหวัดสระแก้วเพิ่มจาก 34,406 บาท/คน/ปี ในปี 2547 เป็น 55,508 บาท/คน/ปี ในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้น 61.30 % ในขณะที่รายได้ต่อหัวเฉลี่ยทั่วประเทศ เพิ่มจาก 101,304 บาท/คน/ปี ในปี 2547 เป็น 128,606 บาท/คน/ปี ในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้น 26.90 % ซึ่ง ชี้ให้เห็นว่า รายได้ต่อหัวของสระแก้วเพิ่มเร็วกว่ารายได้ต่อหัวเฉลี่ยทั่วประเทศ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลดัชนีการ พัฒนาคน (HAI) ของจังหวัดสระแก้วตกจากลาดับ 50 ในปี 2550 ไปอยู่ที่ลาดับ 75 ในปี 2552 ซึ่งปัญหาเกิด จากการพัฒนาคน 7 ด้านใน 8 ด้านมีลาดับแย่ลงทั้งด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านชีวิตการงาน ด้านที่อยู่ อาศัยและสภาพแวดล้อม ด้านชีวิตครอบครัวและชุมชน ด้านการคมนาคมและการสื่อสาร และด้านการมีส่วน ร่วม มีเพียงด้านเดียวที่มีลาดับดีขึ้นคือด้านรายได้ โดยเลื่อนจากลาดับ 72 ในปี 2550 ขึ้นเป็นลาดับ 61 ในปี 2552 5.2 การใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI ในจังหวัดนครปฐม นครปฐมมีมีการพัฒนาคนที่ดีขึ้น โดยการพัฒนาคนของนครปฐมอยู่ในลาดับ 8 ของประเทศในปี 2550 และได้พัฒนาขึ้นอยู่ในลาดับ 6 ในปี 2552 เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลดัชนีย่อย 8 ด้านภายใต้ดัชนีการพัฒนาคนของนครปฐมในปี 2550 เปรียบเทียบ กับปี 2552 พบว่าจากดัชนีย่อย 8 ด้าน มีการพัฒนาดีขึ้น 5 ด้าน คือ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านที่อยู่ อาศัยและสิ่งแวดล้อม ด้านครอบครัวและชุมชน ด้านการคมนาคมขนส่งและการสื่อสาร ปัจจัยหลักมาจาก โครงสร้างทางเศรษฐกิจของจังหวัดนครปฐมเป็นแบบ “เศรษฐกิจสามขา” คือมีทั้งภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการที่มีการเกื้อหนุนกันอย่างสมดุล ดังนั้นความท้าทายของการพัฒนาจังหวัด นครปฐม คือการรักษาเศรษฐกิจสามขาและลงทุนพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง 5.3 การใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI ในจังหวัดกาญจนบุรี กาญจนบุรีกาลังจะเป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจภาคตะวันตก แต่ดัชนีความก้าวหน้าของคน (HAI) อยู่ในลาดับต่า โดยการพัฒนาคน ของกาญจนบุรีมีความก้าวหน้าน้อยที่สุดในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันตกและอยู่ในลาดับค่อนข้างท้ายของประเทศ รวมทั้งการพัฒนาคนของกาญจนบุรีมีแนวโน้มแย่ลงโดยอยู่ในลาดับ 52 ในปี 2552 และลดลงอยู่ในลาดับ 68 ในปี 2557 ซึ่งติดลาดับ 1 ใน 10 ของจังหวัดที่มีการพัฒนาคนน้อยที่สุดของประเทศ เมื่อเปรียบเทียบดัชนีย่อย HAI 8 ด้าน ในปี 2552 กับปี 2557 พบว่าดัชนีย่อย HAI ดีขึ้น 3 ด้าน คือ ด้านชีวิตการงาน ด้านที่อยู่อาศัย และสภาพแวดล้อม และด้านชีวิตครอบครัวและชุมชน ส่วนดัชนีย่อย HAI อีก 5 ด้านเปลี่ยนแปลงแย่ลง คือ ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านการคมนาคมและการสื่อสาร และด้านการมีส่วนร่วม เมื่อจังหวัด
  • 6. 6 กาญจนบุรีอยู่ในสถานการณ์ดังกล่าวแล้วจะเป็นศูนย์กลางของภาคตะวันตกได้อย่างไร จึงเป็นเรื่องที่คน กาญจนบุรีจะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาและกาหนดทิศทางการพัฒนา 6. ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากดัชนี HAI จากผู้เข้าประชุม ผู้เข้าร่วมประชุมเห็น ว่าดัชนี HAI มีประโยชน์ในการประเมินระดับการพัฒนาคนของจังหวัดและการค้นหาพื้นที่ที่มีปัญหาหรือด้อย การพัฒนาในจังหวัด อย่างไรก็ตามผู้เข้าร่วมการประชุมได้เสนอให้มีการเก็บข้อมูลภาคสนามและการใช้ ประโยชน์อย่างระมัดระวัง เนื่องจากอาจมีความคลาดเคลื่อนของสภาพการพัฒนาที่แท้จริงของพื้นที่ในจังหวัด โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทห่างไกลกับข้อมูลในฐานข้อมูลของ HAI ระดับจังหวัด เช่น การเข้าถึงบริการไฟฟ้าของ ครัวเรือน หรือสภาพถนนในชุมชน เป็นต้น