SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
กรดนิวคลีอิก
(NUCLEIC ACID)
ENTER
ความนาของกรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก
โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก
โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA
คุณสมบัติของกรดนิวคลีอิก
นิวคลีโอโปรตีน ( Nucleoprotein )
หน้าที่ของกรดนิวคลิอิก
ความนาของกรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
กรดนิวคลิอิก เป็นสารอินทรีย์ที่ทาหน้าที่เป็นสารพันธุกรรม ( Genetic
material ) ของเซลล์และเป็นตัวช่วยในการสร้างโปรตีนชนิดต่าง ๆ
กรดนิวคลีอิกแบ่งได้เป็น
2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
1. Deoxyribonucleic acid (DNA)
: เป็นสารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต
2. Ribonucleic acid (RNA) : เป็น
ตัวกลางในการสร้างโปรตีน และเป็นสาร
พันธุกรรมในไวรัสบางชนิด เช่น HIV เป็นต้น
MENU
องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก
องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก : เป็นสายพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์
คือ “นิวคลีโอไทด์ (Nucleotide)” โดยนิวคลีโอไทด์ มีองค์ประกอบ
3 ส่วน ดังนี้
1. เบสไนโตรเจน (Nitrogenous base) : เบสที่มีไนโตรเจน
เป็นองค์ประกอบหลักในโมเลกุลของสายคาร์บอนที่ต่อกันเป็นวง
แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
• Pyrimidine : เบสไนโตรเจนที่มีวงแหวน 1 วง ได้แก่
Cytosine (C) , Uracil (U) , Thymine (T)
• Purine : เบสไนโตรเจนที่มีวงแหวน 2 วง ได้แก่ Guanine
(G) , Adenine (A)
MENU NEXT
องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก
MENU NEXT
BACK
องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก
2. น้าตาลเพนโทส (Pentose sugar)
น้าตาลที่เกิดจากคาร์บอนจานวน 5 อะตอม
ใน DNA และ RNA จะต่างกัน
MENU
BACK
3. หมู่ฟอสเฟต (Phosphate
group) : เป็นสารทาหน้าที่เก็บข้อมูล
ทางพันธุกรรม เพื่อถ่ายทอดไปยังรุ่น
ต่อๆไป
โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก
นิวคลีโอไซด์และนิวคลีโอไทด์
- Nucleoside และ Nucleotide
Nucleic acid ประกอบด้วยหน่วยโครงสร้างย่อย คือ Nucleotide มากมาย
หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า Nucleic acid คือ Polynucleotide นั่นเอง Nucleotide เหล่านี้
จัดเรียงเป็นลาดับด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ หน่วย Nucleotide แต่ละหน่วย ประกอบด้วย เบส
น้าตาล และ Phosohate group แต่ถ้า Nucleotide นั้นถ้าถูกเอา Phosphate group
ออก ส่วนที่เหลือเรียกว่า Nucloside
MENU NEXT
โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก
พันธะฟอสโฟไคเอสเทอร์ และการเกิดโพลีเมอร์
พันธะที่เชื่อมโยงระหว่างนิวคลิโอไทด์แต่ละหน่วย คือ พันธะ 3, 5 – Phosphodiester เกิดขึ้น
ระหว่างหมู่ฟอสเฟตคาร์บอนตาแหน่งที่ 5 (C-5) ของน้าตาลในนิวคลิโอไทด์หนึ่งกับหมู่ - OH ของ
คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 (C-3) ของน้าตาลในนิวคลิโอไทด์ถัดไป ทาให้นิวคลิโอไทด์ทั้งสองเชื่อมต่อกันได้
โดยมีหมู่ฟอสเฟตอยู่ตรงกลาง และมีพันธะเอสเทอร์ทั้งสองข้าง แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้
เรียกว่า Phosphodiester linkage
MENU NEXT
BACK
โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก
ดังนั้น โครงสร้างของกรดนิวคลีอิคจึงมีลักษณะเป็นสายน้าตาล-ฟอสเฟต (Sugar-phosphate
backbone) และมีเบสต่าง ๆ ยื่นออกด้านข้าง ปลายของนิวคลีโอไทด์ตัวเริ่มต้นจะมีฟอสเฟสอยู่ที่
ตาแหน่งที่ 5 (C-5) ของน้าตาลตัวแรก ปลายนี้จึงเรียกว่าปลาย 5 ส่วนอีกปลายหนึ่งจะมี 3 –OH ของ
น้าตาลตัวสุดท้าย ซึ่งไม่เชื่อมต่อกับหมู่ฟอสเฟต ปลายนี้เรียกว่าปลาย 3 อาจเขียนโครงสร้างย่อของ
โพลีนิวคลิโอไทด์ โดยเขียนเฉพาะฟอสเฟตและเบสเท่านั้น โดยฟอสเฟตที่ต่อกับอะตอมคาร์บอนตาแหน่ง
ที่ 3 (C-3) เขียนอยู่ทางด้านขวา และฟอสเฟตที่ต่ออยู่กับอะตอมคาร์บอนตาแหน่งที่ 5 (C-5) เขียนอยู่
ทางด้านซ้ายของเบส และถ้าเป็นน้าตาลดีออกซี ก็ใช้สัญลักษณ์ d นาหน้าชื่อน้าตาลนั้น ๆ
MENU
BACK
โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA
โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA
โครงสร้างของ DNA มีลักษณะเป็นเกลียวคู่
(Double helix) เกิดจากสายโพลีนิวคลีโอไทด์สาย
เดี่ยวที่บิด หรือขดคล้ายบันไดเวียนที่เรียก อัลฟาเฮ
ลิกซ์ (X – helix) สองสายมาพันกันเป็นเกลียวคู่
โดยที่ปลายของสายโพลีนิวคลีโอไทด์จะอยู่ตรง
ข้ามกัน ส่วนที่เป็นน้าตาลและฟอสเฟตจะทา
หน้าที่เป็นแกนอยู่ข้างนอก เบสต่าง ๆ จะยื่นเข้าไป
ในเกลียวแล้วจับคู่กันระหว่างเบสคู่สม
(Commplementary bases) ทั้งสองสายด้วย
พันธะไฮโดรเจน (รูป ก) โครงสร้างของ DNA
เกลียวคู่ที่แสดงในรูป ข เป็นเกลียว DNA แบบ บี
(B – DNA) ซึ่งมีลักษณะเป็นเกลียวเวียนขวามี
ระยะหนึ่งรอบเกลียว เท่ากับ 3.4 nm. และมีเบสคู่
สมประมาณ 10 คู่ต่อรอบ
MENU NEXT
โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA
ลักษณะเบสในโมเลกุลของ DNA โดยทั่วไปมีดังนี้
1) เบสที่เป็นองค์ประกอบของ DNA จะมีเฉพาะ A,G,T และ C ไม่มี U
2) การจับคู่เบสเป็นการจับคู่เบสแบบวัทสัน-คริก (Watson-Crick base pairing) คือ
เบสเพียวริน A จับคู่กับไพริมิดีน T และ G จับกับ C ด้วยพันธะไฮโดรเจนจานวนพันธะจะเป็น 2 และ 3
พันธะ ตามลาดับ ดังนั้น DNA ที่มีเบส G และ C มากจะเสถียรกว่า DNA ที่มีเบส A กับ T มากเพราะ
พันธะระหว่าง G-C มี 3 พันธะ
3) ปริมาณของเบสเพียวรินจะเท่ากับเบสไพริมิดีน (A+G=T+C) โดยเฉพาะ A=T และ
G=C หรืออัตราส่วน A:T=1 และอัตราส่วน G:C=1 เช่นกัน
จากการศึกษา DNA ในสิ่งมีชีวิตหลายชนิดพบว่ามีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ ขนาดเล็ก
เช่น DNA ของไวรัส ไปจนถึงขนาดใหญ่ เช่น DNA ในโครโมโซมของคน ทาหน้าที่ควบคุมพันธุกรรม การ
เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตซึ่งจะได้กล่าวในบทต่อไป
MENU NEXT
BACK
โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA
โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA
RNA เป็นกรดนิวคลีอิคที่มีโครงสร้าง
คล้ายกันกับ DNA คือ ประกอบด้วยนิวคลีโอ
ไทด์เชื่อมโยงด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์
ส่วนประกอบที่สาคัญที่ต่างไปจาก DNA
ได้แก่น้าตาลไรโบส (ดีออกซีไรโบสใน DNA)
และเบสยูราซิล (เบสไธมีนใน DNA) และ
ตามปกติ RNA จะมีโครงสร้างเป็นเส้นเดี่ยว
(Single stranded) ทาหน้าที่เป็น
ตัวกลางในการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
และในเซลล์บางชนิด RNA อาจเป็นสาร
พันธุกรรมด้วย
MENU NEXT
BACK
โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA
RNA แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ
1. Messenger RNA (mRNA) มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นตัวกลางนาข้อความทางพันธุกรรมจาก DNA ใน
นิวเคลียสไปยังไรโบโซมในไซโตพลาสซึมเพื่อใช้ในการสร้างโปรตีน mRNA ในเซลล์มีมากมายหลายชนิด มักมี
ช่วงชีวิตการทางานสั้นเมื่อถูกใช้งานเสร็จก็จะสลายตัวไป มีอยู่ประมาณ 5-10 % ของ RNA ทั้งหมด
2. Transfer RNA (tRNA) มีขนาดเล็กทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการสร้างโปรตีนโดย เป็นตัวนากรดอะมิโน
มาที่ไรโบโซมเพื่อเรียงต่อกันเป็นโปรตีน ซึ่ง tRNA จะใช้รหัสจาก mRNA พาเอากรดอะมิโนตามรหัสนั้นมา
ประกอบเป็นโปรตีนตามต้องการ
3. Ribosomal RNA (rRNA) มีมากที่สุดในเซลล์ เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของไรโบโซมซึ่งมีหน้าที่สาคัญ
ในการสร้างโปรตีน rRNA ของแบคทีเรียมี 3 ขนาดคือ 23S 16S และ 5S rRNA ของสัตว์และพืชมี 3 ขนาดคือ
28S, 18S, 5S
MENU
BACK
คุณสมบัติของกรดนิวคลีอิก
1) คุณสมบัติเกี่ยวกับกรดและเบส
เนื่องจากหมู่ฟอสเฟตของกรดนิวคลีอิกสามารถแตกตัวให้โปรตอนได้ทาให้กรดนิวคลีอิกมีประจุเป็นลบ
จึงสามารถรวมตัวกับประจุบวกก่อน เช่น Mg2+, Ca2+ฯลฯ หรือสารอื่นๆที่มีประจุบวก เช่น สเปรอร์มีน
( Spermine )และ ฮิสโตน ( Histone )ได้
2) ความหนืด ( Viscosity )
กรดนิวคลีอิกในสภาพที่โมเลกุลเหยียดตัวออก จนมีลักษณะคล้ายท่อนไม้ตรง เช่น ในสภาวะที่สารละลาย
มี pH เป็นกลาง จะทาให้สารละลายกรดนิวคลีอิกมีความหนืดสูง
MENU
3) คุณสมบัติเกี่ยวกับการตกตะกอน ( Sedimentation )
กรดนิวคลีอิกละลายได้ดีในสารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH เป็นกลางแต่ในส่วนสารละลายกรดหรือ
แอลกอฮอล์ หรือในสารละลายที่ไม่เป็นโพลาร์ เช่น อะซิโตน คลอโรฟอร์ม กรดนิวคลีอิกจะไม่ละลายและ
จะรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ตกตะกอนแยกออกจากสารละลาย
นิวคลีโอโปรตีน
นิวคลีโอโปรตีน คือ โครงสร้างที่ได้จากการรวมตัวระหว่างกรดนิวคลีอิกและโปรตีน แบ่งตามชนิดของ
กรดนิวคลีอิก เป็น 2 พวก คือ
(1) ดีออกซีนิวคลีโอโปรตีน ( Deoxynucleoprotein or DNP )ได้แก่ส่วนประกอบของ
โครโมโซมในสัตว์ชั้นสูงซึ่งประกอบด้วย DNA และ โปรตีน 2 ชนิด คือ ฮิสโตน ( Histone ) และ นอน-
ฮิสโตน ( Non- histone )
(2) ไรโบนิวคลีโอโปรตีน ( Ribonucleoprotein or RNP ) ได้แก่ ไรโบโซม ( Ribosome )
ซึ่งประกอบด้วย rRNA และโปรตีน
MENU
1. ลอกแบบ (Replication) ตัวเองในขณะที่มีการแบ่งเซลล์ เพื่อสร้าง DNA สาหรับโครโมโซมของ
เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น
2. ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน โดยผ่านกระบวนการถอดแบบ (Transcription)ในการสร้าง
โปรตีน แต่ยังไม่ทราบหน้าที่ที่แน่นอน
MENU
หน้าที่ของนิวคลีอิก
NEXT
คาถาม
2. Nucleotide แต่ละหน่วย ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ เบสไนโตรเจน น้าตาลเพนโทส และ หมู่ฟอสเฟต
1. Nucleic acid ประกอบด้วยหน่วยโครงสร้างย่อยใด
ตอบ Nucleotide
3. RNA มีส่วนประกอบที่สาคัญคืออะไร
ตอบ DNA ได้แก่น้าตาลไรโบส (ดีออกซีไรโบสใน DNA)
และเบสยูราซิล (เบสไธมีนใน DNA)
4. นิวคลีโอโปรตีน คืออะไร
ตอบ โครงสร้างที่ได้จากการรวมตัวระหว่างกรดนิวคลีอิก
และโปรตีน
คาถาม
5. RNAแบ่งเป็น3ชนิดคืออะไรบ้าง
ตอบ 1.Messenger RNA (mRNA)
2.Transfer RNA (tRNA)
3. Ribosomal RNA (rRNA)
6. หน้าที่ของ Nucleic acid มีอะไรบ้าง ยกตัวอย่าง2ข้อ
ตอบ 1.ลอกแบบ (Replication)
2. ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน
7. Nucleotide จัดเรียงเป็นลาดับด้วยพันธะอะไร
ตอบ ฟอสโฟไดเอสเทอร์
คาถาม
8. RNA มีลักษณะอย่างไร และโครงสร้างเป็นอย่างไร
ตอบ จะมีโครงสร้างเป็นเส้นเดี่ยว (Single stranded)
ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
9. DNA มีลักษณะเป็นเกลียวคู่หรือเกลียวเดี่ยว
ตอบ เกลียวคู่
10. น้าตาลเพนโทสมีกี่ คาร์บอน
ตอบ 5 คาร์บอน
สมาชิกในกลุ่ม
1. นาย วทัญญู รักรงค์ เลขที่ 4
2. นาย ภาคภูมิ บุญทอง เลขที่ 14
3. นางสาว ตุลารักษ์ สิงหบารุง เลขที่ 26
4. นางสาว กนกสิริ สังข์แก้ว เลขที่ 37
5. นางสาว กันยารัตน์ ดาชู เลขที่ 38
6. นางสาว ชนิภา เพ็ชรกลม เลขที่ 40
7. นางสาว ปณัฐชิญา สารจันทร์ เลขที่ 42
8. นางสาว สุทธิดา คาพุทธ เลขที่ 44
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/8

Contenu connexe

Tendances

สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1sailom
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์Y'tt Khnkt
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลmaechai17
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet CreusGarsiet Creus
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2nattapong01
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)BELL N JOYE
 
ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinTANIKAN KUNTAWONG
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์Y'tt Khnkt
 

Tendances (20)

สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
สารชีวโมเลกุล ตอนที่ 1
 
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์การสลายสารอาหารระดับเซลล์
การสลายสารอาหารระดับเซลล์
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creusสารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
สารชีวโมเลกุล By Prof.Dr.Garsiet Creus
 
ชีวเคมี
ชีวเคมีชีวเคมี
ชีวเคมี
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
385
385385
385
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 protein
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
 

Similaire à Nucleic acid2

เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2kasidid20309
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfBoviBow
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesIssara Mo
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2Wan Ngamwongwan
 

Similaire à Nucleic acid2 (7)

Dna bio04 1
Dna bio04 1Dna bio04 1
Dna bio04 1
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
The structure and function of macromolecules
The structure and function of macromoleculesThe structure and function of macromolecules
The structure and function of macromolecules
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2
 

Nucleic acid2

  • 2. ความนาของกรดนิวคลีอิก (Nucleic acid) องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA คุณสมบัติของกรดนิวคลีอิก นิวคลีโอโปรตีน ( Nucleoprotein ) หน้าที่ของกรดนิวคลิอิก
  • 3. ความนาของกรดนิวคลีอิก (Nucleic acid) กรดนิวคลิอิก เป็นสารอินทรีย์ที่ทาหน้าที่เป็นสารพันธุกรรม ( Genetic material ) ของเซลล์และเป็นตัวช่วยในการสร้างโปรตีนชนิดต่าง ๆ กรดนิวคลีอิกแบ่งได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ 1. Deoxyribonucleic acid (DNA) : เป็นสารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต 2. Ribonucleic acid (RNA) : เป็น ตัวกลางในการสร้างโปรตีน และเป็นสาร พันธุกรรมในไวรัสบางชนิด เช่น HIV เป็นต้น MENU
  • 4. องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก : เป็นสายพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์ คือ “นิวคลีโอไทด์ (Nucleotide)” โดยนิวคลีโอไทด์ มีองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ 1. เบสไนโตรเจน (Nitrogenous base) : เบสที่มีไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบหลักในโมเลกุลของสายคาร์บอนที่ต่อกันเป็นวง แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ • Pyrimidine : เบสไนโตรเจนที่มีวงแหวน 1 วง ได้แก่ Cytosine (C) , Uracil (U) , Thymine (T) • Purine : เบสไนโตรเจนที่มีวงแหวน 2 วง ได้แก่ Guanine (G) , Adenine (A) MENU NEXT
  • 6. องค์ประกอบของกรดนิวคลีอิก 2. น้าตาลเพนโทส (Pentose sugar) น้าตาลที่เกิดจากคาร์บอนจานวน 5 อะตอม ใน DNA และ RNA จะต่างกัน MENU BACK 3. หมู่ฟอสเฟต (Phosphate group) : เป็นสารทาหน้าที่เก็บข้อมูล ทางพันธุกรรม เพื่อถ่ายทอดไปยังรุ่น ต่อๆไป
  • 7. โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก นิวคลีโอไซด์และนิวคลีโอไทด์ - Nucleoside และ Nucleotide Nucleic acid ประกอบด้วยหน่วยโครงสร้างย่อย คือ Nucleotide มากมาย หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า Nucleic acid คือ Polynucleotide นั่นเอง Nucleotide เหล่านี้ จัดเรียงเป็นลาดับด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ หน่วย Nucleotide แต่ละหน่วย ประกอบด้วย เบส น้าตาล และ Phosohate group แต่ถ้า Nucleotide นั้นถ้าถูกเอา Phosphate group ออก ส่วนที่เหลือเรียกว่า Nucloside MENU NEXT
  • 8. โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก พันธะฟอสโฟไคเอสเทอร์ และการเกิดโพลีเมอร์ พันธะที่เชื่อมโยงระหว่างนิวคลิโอไทด์แต่ละหน่วย คือ พันธะ 3, 5 – Phosphodiester เกิดขึ้น ระหว่างหมู่ฟอสเฟตคาร์บอนตาแหน่งที่ 5 (C-5) ของน้าตาลในนิวคลิโอไทด์หนึ่งกับหมู่ - OH ของ คาร์บอนตาแหน่งที่ 3 (C-3) ของน้าตาลในนิวคลิโอไทด์ถัดไป ทาให้นิวคลิโอไทด์ทั้งสองเชื่อมต่อกันได้ โดยมีหมู่ฟอสเฟตอยู่ตรงกลาง และมีพันธะเอสเทอร์ทั้งสองข้าง แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้ เรียกว่า Phosphodiester linkage MENU NEXT BACK
  • 9. โครงสร้างของกรดนิวคลีอิก ดังนั้น โครงสร้างของกรดนิวคลีอิคจึงมีลักษณะเป็นสายน้าตาล-ฟอสเฟต (Sugar-phosphate backbone) และมีเบสต่าง ๆ ยื่นออกด้านข้าง ปลายของนิวคลีโอไทด์ตัวเริ่มต้นจะมีฟอสเฟสอยู่ที่ ตาแหน่งที่ 5 (C-5) ของน้าตาลตัวแรก ปลายนี้จึงเรียกว่าปลาย 5 ส่วนอีกปลายหนึ่งจะมี 3 –OH ของ น้าตาลตัวสุดท้าย ซึ่งไม่เชื่อมต่อกับหมู่ฟอสเฟต ปลายนี้เรียกว่าปลาย 3 อาจเขียนโครงสร้างย่อของ โพลีนิวคลิโอไทด์ โดยเขียนเฉพาะฟอสเฟตและเบสเท่านั้น โดยฟอสเฟตที่ต่อกับอะตอมคาร์บอนตาแหน่ง ที่ 3 (C-3) เขียนอยู่ทางด้านขวา และฟอสเฟตที่ต่ออยู่กับอะตอมคาร์บอนตาแหน่งที่ 5 (C-5) เขียนอยู่ ทางด้านซ้ายของเบส และถ้าเป็นน้าตาลดีออกซี ก็ใช้สัญลักษณ์ d นาหน้าชื่อน้าตาลนั้น ๆ MENU BACK
  • 10. โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA โครงสร้างของ DNA มีลักษณะเป็นเกลียวคู่ (Double helix) เกิดจากสายโพลีนิวคลีโอไทด์สาย เดี่ยวที่บิด หรือขดคล้ายบันไดเวียนที่เรียก อัลฟาเฮ ลิกซ์ (X – helix) สองสายมาพันกันเป็นเกลียวคู่ โดยที่ปลายของสายโพลีนิวคลีโอไทด์จะอยู่ตรง ข้ามกัน ส่วนที่เป็นน้าตาลและฟอสเฟตจะทา หน้าที่เป็นแกนอยู่ข้างนอก เบสต่าง ๆ จะยื่นเข้าไป ในเกลียวแล้วจับคู่กันระหว่างเบสคู่สม (Commplementary bases) ทั้งสองสายด้วย พันธะไฮโดรเจน (รูป ก) โครงสร้างของ DNA เกลียวคู่ที่แสดงในรูป ข เป็นเกลียว DNA แบบ บี (B – DNA) ซึ่งมีลักษณะเป็นเกลียวเวียนขวามี ระยะหนึ่งรอบเกลียว เท่ากับ 3.4 nm. และมีเบสคู่ สมประมาณ 10 คู่ต่อรอบ MENU NEXT
  • 11. โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA ลักษณะเบสในโมเลกุลของ DNA โดยทั่วไปมีดังนี้ 1) เบสที่เป็นองค์ประกอบของ DNA จะมีเฉพาะ A,G,T และ C ไม่มี U 2) การจับคู่เบสเป็นการจับคู่เบสแบบวัทสัน-คริก (Watson-Crick base pairing) คือ เบสเพียวริน A จับคู่กับไพริมิดีน T และ G จับกับ C ด้วยพันธะไฮโดรเจนจานวนพันธะจะเป็น 2 และ 3 พันธะ ตามลาดับ ดังนั้น DNA ที่มีเบส G และ C มากจะเสถียรกว่า DNA ที่มีเบส A กับ T มากเพราะ พันธะระหว่าง G-C มี 3 พันธะ 3) ปริมาณของเบสเพียวรินจะเท่ากับเบสไพริมิดีน (A+G=T+C) โดยเฉพาะ A=T และ G=C หรืออัตราส่วน A:T=1 และอัตราส่วน G:C=1 เช่นกัน จากการศึกษา DNA ในสิ่งมีชีวิตหลายชนิดพบว่ามีขนาดแตกต่างกันตั้งแต่ ขนาดเล็ก เช่น DNA ของไวรัส ไปจนถึงขนาดใหญ่ เช่น DNA ในโครโมโซมของคน ทาหน้าที่ควบคุมพันธุกรรม การ เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตซึ่งจะได้กล่าวในบทต่อไป MENU NEXT BACK
  • 12. โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA RNA เป็นกรดนิวคลีอิคที่มีโครงสร้าง คล้ายกันกับ DNA คือ ประกอบด้วยนิวคลีโอ ไทด์เชื่อมโยงด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ ส่วนประกอบที่สาคัญที่ต่างไปจาก DNA ได้แก่น้าตาลไรโบส (ดีออกซีไรโบสใน DNA) และเบสยูราซิล (เบสไธมีนใน DNA) และ ตามปกติ RNA จะมีโครงสร้างเป็นเส้นเดี่ยว (Single stranded) ทาหน้าที่เป็น ตัวกลางในการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม และในเซลล์บางชนิด RNA อาจเป็นสาร พันธุกรรมด้วย MENU NEXT BACK
  • 13. โครงสร้างและหน้าที่ของ DNA และ RNA RNA แบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด คือ 1. Messenger RNA (mRNA) มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นตัวกลางนาข้อความทางพันธุกรรมจาก DNA ใน นิวเคลียสไปยังไรโบโซมในไซโตพลาสซึมเพื่อใช้ในการสร้างโปรตีน mRNA ในเซลล์มีมากมายหลายชนิด มักมี ช่วงชีวิตการทางานสั้นเมื่อถูกใช้งานเสร็จก็จะสลายตัวไป มีอยู่ประมาณ 5-10 % ของ RNA ทั้งหมด 2. Transfer RNA (tRNA) มีขนาดเล็กทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการสร้างโปรตีนโดย เป็นตัวนากรดอะมิโน มาที่ไรโบโซมเพื่อเรียงต่อกันเป็นโปรตีน ซึ่ง tRNA จะใช้รหัสจาก mRNA พาเอากรดอะมิโนตามรหัสนั้นมา ประกอบเป็นโปรตีนตามต้องการ 3. Ribosomal RNA (rRNA) มีมากที่สุดในเซลล์ เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของไรโบโซมซึ่งมีหน้าที่สาคัญ ในการสร้างโปรตีน rRNA ของแบคทีเรียมี 3 ขนาดคือ 23S 16S และ 5S rRNA ของสัตว์และพืชมี 3 ขนาดคือ 28S, 18S, 5S MENU BACK
  • 14. คุณสมบัติของกรดนิวคลีอิก 1) คุณสมบัติเกี่ยวกับกรดและเบส เนื่องจากหมู่ฟอสเฟตของกรดนิวคลีอิกสามารถแตกตัวให้โปรตอนได้ทาให้กรดนิวคลีอิกมีประจุเป็นลบ จึงสามารถรวมตัวกับประจุบวกก่อน เช่น Mg2+, Ca2+ฯลฯ หรือสารอื่นๆที่มีประจุบวก เช่น สเปรอร์มีน ( Spermine )และ ฮิสโตน ( Histone )ได้ 2) ความหนืด ( Viscosity ) กรดนิวคลีอิกในสภาพที่โมเลกุลเหยียดตัวออก จนมีลักษณะคล้ายท่อนไม้ตรง เช่น ในสภาวะที่สารละลาย มี pH เป็นกลาง จะทาให้สารละลายกรดนิวคลีอิกมีความหนืดสูง MENU 3) คุณสมบัติเกี่ยวกับการตกตะกอน ( Sedimentation ) กรดนิวคลีอิกละลายได้ดีในสารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH เป็นกลางแต่ในส่วนสารละลายกรดหรือ แอลกอฮอล์ หรือในสารละลายที่ไม่เป็นโพลาร์ เช่น อะซิโตน คลอโรฟอร์ม กรดนิวคลีอิกจะไม่ละลายและ จะรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ตกตะกอนแยกออกจากสารละลาย
  • 15. นิวคลีโอโปรตีน นิวคลีโอโปรตีน คือ โครงสร้างที่ได้จากการรวมตัวระหว่างกรดนิวคลีอิกและโปรตีน แบ่งตามชนิดของ กรดนิวคลีอิก เป็น 2 พวก คือ (1) ดีออกซีนิวคลีโอโปรตีน ( Deoxynucleoprotein or DNP )ได้แก่ส่วนประกอบของ โครโมโซมในสัตว์ชั้นสูงซึ่งประกอบด้วย DNA และ โปรตีน 2 ชนิด คือ ฮิสโตน ( Histone ) และ นอน- ฮิสโตน ( Non- histone ) (2) ไรโบนิวคลีโอโปรตีน ( Ribonucleoprotein or RNP ) ได้แก่ ไรโบโซม ( Ribosome ) ซึ่งประกอบด้วย rRNA และโปรตีน MENU
  • 16. 1. ลอกแบบ (Replication) ตัวเองในขณะที่มีการแบ่งเซลล์ เพื่อสร้าง DNA สาหรับโครโมโซมของ เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น 2. ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน โดยผ่านกระบวนการถอดแบบ (Transcription)ในการสร้าง โปรตีน แต่ยังไม่ทราบหน้าที่ที่แน่นอน MENU หน้าที่ของนิวคลีอิก NEXT
  • 17. คาถาม 2. Nucleotide แต่ละหน่วย ประกอบด้วยอะไรบ้าง ตอบ เบสไนโตรเจน น้าตาลเพนโทส และ หมู่ฟอสเฟต 1. Nucleic acid ประกอบด้วยหน่วยโครงสร้างย่อยใด ตอบ Nucleotide 3. RNA มีส่วนประกอบที่สาคัญคืออะไร ตอบ DNA ได้แก่น้าตาลไรโบส (ดีออกซีไรโบสใน DNA) และเบสยูราซิล (เบสไธมีนใน DNA) 4. นิวคลีโอโปรตีน คืออะไร ตอบ โครงสร้างที่ได้จากการรวมตัวระหว่างกรดนิวคลีอิก และโปรตีน
  • 18. คาถาม 5. RNAแบ่งเป็น3ชนิดคืออะไรบ้าง ตอบ 1.Messenger RNA (mRNA) 2.Transfer RNA (tRNA) 3. Ribosomal RNA (rRNA) 6. หน้าที่ของ Nucleic acid มีอะไรบ้าง ยกตัวอย่าง2ข้อ ตอบ 1.ลอกแบบ (Replication) 2. ควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน 7. Nucleotide จัดเรียงเป็นลาดับด้วยพันธะอะไร ตอบ ฟอสโฟไดเอสเทอร์
  • 19. คาถาม 8. RNA มีลักษณะอย่างไร และโครงสร้างเป็นอย่างไร ตอบ จะมีโครงสร้างเป็นเส้นเดี่ยว (Single stranded) ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม 9. DNA มีลักษณะเป็นเกลียวคู่หรือเกลียวเดี่ยว ตอบ เกลียวคู่ 10. น้าตาลเพนโทสมีกี่ คาร์บอน ตอบ 5 คาร์บอน
  • 20. สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย วทัญญู รักรงค์ เลขที่ 4 2. นาย ภาคภูมิ บุญทอง เลขที่ 14 3. นางสาว ตุลารักษ์ สิงหบารุง เลขที่ 26 4. นางสาว กนกสิริ สังข์แก้ว เลขที่ 37 5. นางสาว กันยารัตน์ ดาชู เลขที่ 38 6. นางสาว ชนิภา เพ็ชรกลม เลขที่ 40 7. นางสาว ปณัฐชิญา สารจันทร์ เลขที่ 42 8. นางสาว สุทธิดา คาพุทธ เลขที่ 44 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/8