SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  47
Télécharger pour lire hors ligne
รู้ทันอย่างเข้าใจ
โซเชียลมีเดีย
ชื่อ พิศาล เชื้อชาติไชย (บู)
เจ้าของบริษัท ColorPack Creations Co., Ltd.
ร่วมพัฒนา CSM Joomla!
ทำเว็บ จักรยาน rider.in.th
โซเชียล มีเดีย Social Media ?
โซเชียล (Social) หมายถึงสังคม
มีเดีย (“Media”) หมายถึงสื่อหรือเครื่องมือที่ใช้เพื่อการสื่อสาร
ใช้แสดงความเป็นตัวตนของตนเองเพื่อที่จะมีปฏิสัมพันธ์
และหรือแบ่งปัน ข้อมูลกับบุคคลอื่น
โซเชียลมีเดียจะเป็นสื่อที่มีการสื่อสาร 2 ทาง
ผู้ส่งสาร สาร ผู้รับสาร
ข้อเสนอแนะ
เครื่องมือและการบริการที่เป็นโซเชียลมีเดีย
ประเภท สร้างเนื้อหา
แหล่งข้อมูลองค์กร ที่ทุก
องค์กรต้องมีเป็นหลัก เรา
สามารถควบคุมได้ ข้อมูลเป็น
ทางการ
เครื่องมือและการบริการที่เป็นโซเชียลมีเดีย
เว็บไซต์
บล็อกประเภท สร้างเนื้อหา
รูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง เป็น
แหล่งข้อมูลส่วนบุคคล อาจไม่
เป็นทางการ แสดงความเห็นส่วน
ตัวลงในเนื้อหาได้เต็มที่ เปิดรับ
ความคิดเห็นจากผู้ชม
เครื่องมือและการบริการที่เป็นโซเชียลมีเดีย
ประเภท สร้างเนื้อหา
เครื่องมือและการบริการที่เป็นโซเชียลมีเดีย
เว็บไซต์ บล็อก+ = KM
เว็บไซค์ = แหล่งความรู้ที่ตกผลึกแล้ว
บล็อก = แหล่งความรู้ในตัวบุคคล
เมื่อนำสองสิ่งมารวมกันก็จะเป็นระบบ
จัดการความรู้ขององค์กร
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Social Network)
เครือข่ายสังคมออนไลน์ ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตหนึ่งคน
เชื่อมโยงกับเพื่อนอีกนับสิบ ส่งไปถึงเพื่อนของเพื่อนอีกนับร้อย
ผ่านผู้ให้บริการ
“เมื่อโลกของคอมพิวเตอร์ ย่อส่วนลงมาอยู่ในมือ”
มือถือไม่ได้ใช่แค่โทรเข้าออก อีกต่อไป
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
สถิติการใช้งาน
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
เริ่มต้น ทวิต
เว็บไซต์เครือข่ายสังคมถูกปล่อยออกมาในปี 2006 จุด
ประสงค์ของมันคือ ต้องการให้ผู้ใช้ทวีตข้อความของตัว
เองผ่านการส่ง SMS จากโทรศัพท์มือถือ
เป็นโซเชียลมีเดียที่ขึ้นชื่อว่าใช้งานง่ายที่สุด เพราะถึงแม้ว่า
จะพิมพ์ข้อความได้เพียง 140 ตัวอักษร แต่นั้นก็ช่วยกลั่น
กรองให้ผู้เขียน พิมพ์เฉพาะใจความสำคัญลงไป ทำให้
ข้อความที่ส่งออกไปนั้นกระชับ และง่ายต่อการอ่าน
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ก่อเกิด #Hashtag (แฮชแท็ก)
Hashtag เปรียบเสมือนช่องของคลื่นวิทยุสื่อสาร หากจะ
คุยเรื่องเดียวกัน ฟังเรื่องเดี่ยวกันต้อง เปิดช่องเดียวกัน
เช่นเราจะโพสข้อความ เกี่ยวกับ พุทธสาวิกา อาจใช้
#buddhasawika
หากอีกคนใช้ #sdssawika ก็จะเป็นอีกเรื่อง ซึ่งถือว่าไม่ใช่
ช่องเดียวกัน
วิธีใช้ Hashtag ใช้ยังไง ?
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
วิธีใช้ Hashtag ใช้ยังไง ?
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ใช้ Twitter ในองค์กร
ใช้อัปเดตสถานะปัจจุบันและข่าวขององค์กรอย่างสม่ำเสมอ
เพื่อให้คนติดตาม รับรู้ได้อย่างรวดเร็ว เช่น มีบทความใหม่
มีข่าวใหม่ มีกิจกรรมใหม่
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
เครือข่ายใหญ่ Facebook ครบเครื่อง
ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารและร่วมทำกิจกรรมใดกิจกรรม หนึ่ง
หรือหลายๆ กิจกรรมกับผู้ใช้ Facebook คนอื่นๆ ได้ โสข้อความ
ได้, โพสต์รูปภาพ , โพสต์คลิปวิดีโอ แชทคุยกันแบบสดๆ
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
หน้ารวมโพสของ
เราเอง
Profile
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ห้องพูดคุยแลก
เปลี่ยนสำหรับคน
ชอบเรื่องเดียวกัน
สามารถโพสได้ทุก
คน
Group
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
เป็นหน้าที่คุณสามารถ
สร้างเนื้อหาเกี่ยวกับ
องค์กร ให้คนติดตาม
ข่าวสารเกี่ยวกับ
องค์กรหรือแบรนด์
Page
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ใช้ Facebook ในองค์กร
เพื่อเพิ่มช่องทางในการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น ให้คน
กดติดตามข่าวสารเกี่ยวกับแบรนด์ของตัวเองโดยการกด
Like ที่เพจ ใช้สื่อสารจาก องค์กร ไปสู่กลุ่มเป้าหมาย
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
Youtube
เว็บไซต์บริการที่ให้ผู้ใช้สามารถแชร์วีดีโอให้ผู้อื่นดูได้ โดยที่ยูทูป
จัดเป็น 1 ในเว็บไซต์สำคัญสำหรับนักการตลาด ที่เราสามารถ
โฆษณาวีดีโอคอนเท้นท์ของเราให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมายได้
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ถ่ายทอดสด กิจกรรม ขององค์กรYoutube Live
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ถ่ายทอดสดกิจกรรมขององค์กรYoutube Live
ใช้Youtube ในองค์กร
อัปโหลดวิดีโอเกี่ยวกับองค์กร กิจกรรมขององค์กร หรือ
โฆษณา กิจกรรม ต่างๆ ใช้เป็นที่เก็บ วีดีโอเพื่อใช้นในเว็บ
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
Instagram โชว์รูป
ใช้ถ่ายรูป เสริมลูกเล่นด้วยการตกแต่งภาพถ่ายด้วย Filters
(ฟิลเตอร์) ต่าง ๆ ที่ให้คุณเลือกปรับภาพได้หลากหลายและ
สวยงาม แนวอาร์ต ๆ ได้ตามใจชอบ และสามารถแชร์อวด
รูปภาพไปให้เพื่อน ๆ ที่อยู่ในสังคมออนไลน์
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ใช้ Instagram ในองค์กร
เราสามารถอัพโหลดรูปภาพต่างๆและแชร์ให้กับผู้ติดตาม
ของเราได้ โดยที่แบรนด์ต่างๆสมัยนี้ก็นิยมใช้ Instagram
เป็นสื่อกลางเพื่อโปรโมทและให้ข้อมูลข่าวสารกับผู้ติดตาม
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (SOCIAL NETWORK)
ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย
ด้านบวก
ลองหามุมมองใหม่ๆจากสิ่งเดิมๆ
ลองหามุมมองใหม่ๆจากสิ่งเดิมๆ
เมื่อผิดพลาดยอมรับและแก้ไข
เมื่อผิดพลาดยอมรับและแก้ไข
จำนวนคนมาดูเว็บเพิ่ม
จังหวะและเวลา
ช่วงเวลาที่เหมาะสมมากที่สุดในการโพสต์คือ วันจันทร์-วันศุกร์ ช่วงเวลา
ประมาณ 6.00-8.00 น. และ 14.00-17.00 น. ควรหลีกเลี่ยงการโพส
ในวันหยุดรวมถึงช่วงเวลาประมาณ 22.00-4.00 น.
Facebook
ช่วงเวลาที่เหมาะสมมากที่สุดในการโพสต์ คือ ช่วงวันหยุดและช่วงเวลา
ประมาณ 13.00-15.00 น. ควรหลีกเลี่ยงการโพสต์ราว 20.00-8.00 น.
พฤติกรรมการใช้งาน Twitter พบว่า ส่วนใหญ่นิยมใช้งานในช่วงวันหยุด
ซึ่งตรงกันข้ามกับ Facebook ที่มักใช้งานในช่วงวันทำงานขึ้น
Twitter
ผลกระทบของโซเชียลมีเดีย
ด้านลบ
บางองค์กรไปทำโซเชียลมีเดีย นำข้อมูลไปใส่ไว้ใน โซเชีย
ลมีเดีย จนไม่ยอมทำเว็บตัวเอง เมื่อวันหนึ่ง โซเชียลมี
เดียเปลี่ยนหรือหายไป ข้อมูลเหล่านั้นก็จะหายไปด้วย
ให้ความสำคัญโซเชียลมีเดียมากเกินไป
การใช้งานโซเชียลมีเดีย มีเวลาที่คนใช้งานเยอะและ
น้อย อย่าเสียเวลานั่งเฝ้าทั้งวัน มีช่วงเวลาที่ดีที่สุด
แต่ยังมีช่วงเวลา “หงอยเหงาที่สุด” ด้วย
ใช้เวลามากเกินไปในการใช้โซเชียลมีเดีย
การใช้งานโซเชียลมีเดีย สิ่งที่ควรระวังคือ การโพส
ความรู้สึกส่วนตัวลงไป มันจะส่งผลถึงภาพลักษณ์
หากคุณเป็นตัวแทนขององค์กร ก็จะทำให้องค์กร
เสียหายไปด้วย
เผลอโพสสิ่งที่ไม่เหมาะสมลงไป
ดราม่าหรือข้อถกเถียง มักเกิดขึ้นเสมอบนโซเชียลมีเดีย
พยายามอย่านำข้อมูลที่มีข้อขัดแย้งหาข้อสรุปไม่ได้ลง
ไป ส่วนใหญ่ จะใช้อารมณ์ในการโต้ตอบออกไป เรื่องก็
เลยเถิดไปใหญ่ ทำให้เสียหาย
"โกรธจัด" อย่าเพิ่งตอบข้อความใคร..
ดราม่า หรือข้อถกเถียง
1. พยายามทำให้คนอื่นประทับใจในสิ่งที่คุณโพสต์
2. ควรจะโพสต์ สิ่งที่คนอื่นเห็นว่าเป็นประโยชน์ หรือพูดกำลังใจให้กับคนอื่น
3. พยายามไม่โพสต์คำพูดหรือโพสต์ภาพหรือวิดีโอที่บ่งชี้ถึงพฤติกรรมที่
น่าเป็นห่วง เช่น ดื่มเหล้าหนัก ชอบเที่ยวกลางคืนบ่อย
4. อย่าโพสต์คำพูดในเชิงลบกับคนอื่น เช่น เพื่อนร่วมงานหรือนายจ้างหรือ
ไม่ควรบ่นว่าเบื่อหรือเซ็งงานที่ตัวเองทำ
5. อย่ารายงานทุกขณะบนสื่อออนไลน์อยู่ตลอดเวลาว่าตัวเองกำลังทำ
อะไรอยู่ เช่น กินข้าวกลางวันเป็นอะไร ไปเที่ยวกับใคร กำลังหางานทำอยู่
6. หากไม่แน่ใจค้นหาข้อมูลก่อน แชร์ หรือ ให้ความคิดเห็น
สิ่งที่ไม่ควรทำและควรทำในการใช้โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
peter dontoom
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เกวลิน แก้ววิจิตร
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
ธนิสร ยางคำ
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
peter dontoom
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
Jaturaphun Boontom
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
Pazalulla Ing Chelsea
 

Tendances (20)

แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
แบบทดสอบกฏหมายลิขสิท กศน.
 
การเขียน Storyboard
การเขียน Storyboardการเขียน Storyboard
การเขียน Storyboard
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 

Similaire à รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย

ไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทองไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทอง
Irin28
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
Tangkwa Tom
 
Social Media & Social Networking
Social Media & Social NetworkingSocial Media & Social Networking
Social Media & Social Networking
Jira Hongsamrerng
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
teerarat55
 
Social net
Social netSocial net
Social net
amptxxx
 
Social net
Social netSocial net
Social net
amptxxx
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
teeraratWI
 

Similaire à รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย (20)

ไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทองไอริณ เพ็ชรแกมทอง
ไอริณ เพ็ชรแกมทอง
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Social CRM
Social CRMSocial CRM
Social CRM
 
TH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channelsTH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channels
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Role of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media LandscapeRole of Professional Media in New Media Landscape
Role of Professional Media in New Media Landscape
 
รอบรู้โลกโซเชียล2
รอบรู้โลกโซเชียล2รอบรู้โลกโซเชียล2
รอบรู้โลกโซเชียล2
 
Social Media & Social Networking
Social Media & Social NetworkingSocial Media & Social Networking
Social Media & Social Networking
 
การตลาดผ่าน Social Media
การตลาดผ่าน Social Mediaการตลาดผ่าน Social Media
การตลาดผ่าน Social Media
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
Social Media Marketing
Social Media MarketingSocial Media Marketing
Social Media Marketing
 
9789740328926
97897403289269789740328926
9789740328926
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Social net
Social netSocial net
Social net
 
Social net
Social netSocial net
Social net
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Advertising and culture
Advertising and cultureAdvertising and culture
Advertising and culture
 

Plus de Pisan Chueachatchai

Plus de Pisan Chueachatchai (6)

Smart application
Smart applicationSmart application
Smart application
 
การนำเสนอโดยใช้ ใบปิด (Poster) การถ่ายภาพ Infographic
การนำเสนอโดยใช้  ใบปิด (Poster) การถ่ายภาพ Infographicการนำเสนอโดยใช้  ใบปิด (Poster) การถ่ายภาพ Infographic
การนำเสนอโดยใช้ ใบปิด (Poster) การถ่ายภาพ Infographic
 
คู่มือ อบรม Flexi content
คู่มือ อบรม Flexi content คู่มือ อบรม Flexi content
คู่มือ อบรม Flexi content
 
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xคู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
 
สไลด์การอบรม Joomla! 2.5
สไลด์การอบรม Joomla! 2.5 สไลด์การอบรม Joomla! 2.5
สไลด์การอบรม Joomla! 2.5
 
อบรม Joomla 2.5 การติดตั้ง
อบรม Joomla 2.5 การติดตั้งอบรม Joomla 2.5 การติดตั้ง
อบรม Joomla 2.5 การติดตั้ง
 

รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย