SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
ปญหาที่พบบอยในระบบทางเดินหายใจ

ภาวะการหายใจลมเหลว(Respiratory Failure)
เปนภาวะที่ระบบหายใจไมสามารถทําหนาที่ระบายอากาศและ
แลกเปลี่ยนกาซไดเพียงพอกับความตองการของรางกายจะมีระดับ
ออกซิเจนในเลือดแดง (PaO2) ต่ํากวาปกติ และ/หรือ คารบอนไดซ
ในเลือด (PaCo2) สูงกวาปกติและรางกายมีความเปนกรดมากขึ้น
ซึ่งเกณฑที่ใชในการวินิจฉัยจากผล ABG วามีภาวะ
หายใจลมเหลวคือ (สุจินดา ริมศรีทอง, 2545 อางถึงใน McCane,1998)
 PaO2 < 50-60 mm.Hg
 PaCo2 > 50 mm.Hg
 PH < 7.25
การรักษา ควรไดรับการบริหารดวยออกซิเจน
 ระยะเฉียบพลัน PaO2 <60 mmHg + SaO2 < 90%
 ระยะเรื้อรัง PaO2 <60 mmHg
ชนิดของภาวะการหายใจลมเหลว
*แบงตามระยะเวลาของการเริ่มตนการเกิด สามารถ
แบงไดเปน 2 ชนิดคือ
 1.การหายใจลมเหลวอยางเฉียบพลัน (Acute
 respiratory failure) คือ ภาวะที่มีการพรองของ
 ออกซิเจนในเลือดแดง (Hypoxemia) โดยมี PaO2
 ต่ํากวา 50 มม.ปรอท หรือคารบอนไดออกไซดคั่ง
 (Hypercapnia) โดยมี PaCo2 สูงกวา
 50 มม.ปรอท เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว
2. การหายใจลมเหลวอยางเรื้อรัง (Chronic
  respiratory failure) หมายถึง ภาวะที่มีการพรองของ
  ออกซิเจนในเลือดแดง และคารบอนไดออกไซดสูงขึ้น
  อยางคอยเปนคอยไป โดยเกิดหลัง 48-72 ชม. รางกาย
  สามารถปรับชดเชยโดยการสรางเม็ดเลือดแดงเพิมขึ้น
                                               ่
  และไตชดเชยภาวะการเปนกรดดางของรางกายโดยการ
  เก็บคารบอเนตไวเพิมขึ้น มีผลให HCO3 –
                     ่
 ในเลือดสูงขึ้น
* แบงตามกลไกการเกิดและคาของกาซในเลือดแดง
สามารถแบงไดเปน 2 ชนิดคือ
1. การถายออกซิเจนลมเหลว (Oxygenation 5failure/ type I
respiratory failure/ non-hypercapnic type) คือ ภาวะหายใจ
ลมเหลวที่เกิดจากความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนกาซ เนื่องจากความ
ผิดปกติของเนื้อปอดและหลอดเลือดปอด ซึ่งมีผลใหระดับออกซิเจนใน
เลือดแดงลดลง แตไมมีการคั่งของ CO2 เนื่องจากรางกายปรับสภาพ
โดยการเพิ่มการระบายอากาศในถุงลมสวนอื่นที่ปกติ
2.การระบายอากาศลมเหลว (Ventilatory failure/
hypercapnic respiratory failure/type II respiratory failure/
pump failure) เกิดจากการระบายอากาศนอยกวาปกติ อากาศ
ไมสามารถกระจายไปยังทุกถุงลมอยางสม่ําเสมอ การระบาย
อากาศจึงไมเพียงพอ สําหรับการแลกเปลี่ยนกาซมีการคั่งของ
CO2 ในเลือด เกิดการพรองออกซิเจนเนื่องจากไดรบ O2 นอย
                                              ั
และถูกเจือจางโดย CO2 ที่มีจํานวนมาก มีสาเหตุจากความ
ผิดปกติของศูนยหายใจ โรคของกลามเนื้อและประสาท ความ
ผิดปกติของทรวงอก เปนผลใหการระบายอากาศถุงลมลดลง
สาเหตุของภาวะการหายใจลมเหลว

1.ความผิดปกติที่ปอด ไดแก
  1.1 Obstructive pulmonary function เชน ผูปวยที่มี
   asthma อยางรุนแรง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง สิ่ง
   แปลกปลอมอุดกั้นหลอดลม
  1.2 Restrictive pulmonary function เชน ปอดอักเสบ
   (pneumonia) น้ําทวมปอด (pulmonary edema) ปอด
   แฟบ (atelectasis)
1.3 ความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปอด เชน
   มี pulmonary embolism
2.ความผิดปกติที่ชองทรวงอกและเยื่อหุมปอด เชน
chest injury การไดรับการผาตัดชองทรวงอก
3.ความผิดปกติที่ระบบประสาทสวนกลาง เชน ศูนย
ควบคุมการหายใจถูกกด สมองไดรับบาดเจ็บ สมองขาด
เลือดไปเลี้ยง สมองอักเสบ
4. ความผิดปกติของระบบประสาท และ
กลามเนื้อ เชน บาดทะยัก โปลิโอ การ
บาดเจ็บของไขสันหลัง Myasthenia
Gravis, Guillain Barre Syndrome
5.ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอด
เลือด เชน Shock, Left side heart failure
อาการและอาการแสดง
เมื่อมีภาวะการหายใจลมเหลวอาการและอาการแสดง
ที่พบจะเปนการปรับตัวชดเชยของอวัยวะตางๆตอ
ภาวะ Hypoxemia คือ
   1.Respiratory system : หายใจเร็ว หายใจลําบาก
 แตในระยะทายจะมีอาการหายใจเบาตื้น ชาลง
 จนกระทั่งหยุดหายใจ และ มีอาการเขียว
2.Cardiovascular system : ชีพจรเตนเร็ว ความ
ดันโลหิตสูง อาจมีการเตนของหัวใจผิดจังหวะ
(arrhythmia) และ ระยะทายมี Hypotension
3.Central nervous system : ระดับความรูสึกตัว
เปลี่ยนไป สับสน ไมมีสมาธิกระสับกระสาย ถามี
ภาวะ Hypoxemia รุนแรงมากขึ้นผูปวยจะซึมลงและ
ไมรูสึกตัว และ มีอาการแสดงของ Hypercapnia คือ
ปวดศีรษะ ผิวหนังแดงอุน ซึมลง ชัก และ ไมรูสึกตัว
ได
4.Hematologic effect : เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
(Polycytemia) เพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือด ซึ่ง
ตอมาเลือดจะหนืดมากขึ้น
5.Acid-base balance : เมื่อมีภาวะ
Hypoxemia รุนแรงมากขึ้น เลือดมีภาวะเปน
กรดมากขึ้น จะกระตุนการหายใจเร็วขึ้นเปน
การชดเชย (compensate) ลดความเปนกรด
การรักษา มีหลักการดังนี้
1.ใหเนื้อเยื่อไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ โดยมี
 วิธีคือ
  1.1 ให O2 เพื่อแกไขภาวะ Hypoxemia
  1.2 แกไขภาวะอุดกั้นในหลอดลม
  1.3 การแกไขภาวะ Alveolarhypoventilation
2.การรักษาโรคหรือสาเหตุที่ทาใหเกิด
                            ํ
ภาวะการหายใจลมเหลว เชน ในรายที่ปอด
อักเสบตองใหยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม
3.การรักษาตามอาการ เชน การใหอาหาร
และน้ําอยางเพียงพอ
การพยาบาลผูปวยที่มีปญหา
       ระบบทางเดินหายใจ

 การประเมินผูปวยระบบทางเดินหายใจ
 การวางแผนการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล

 จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ
พบวาขอวินิจฉัยการพยาบาลทีพบบอยในการ
                             ่
ดูแลผูปวยที่มีปญหาในระบบทางเดินหายใจมี
ทั้งปญหาจริง (Actual problems) และ
ปญหาเสี่ยง (Potential problems) ดังนี้
  (เสี่ยงตอ) การอุดกั้นทางเดินหายใจ
   (Ineffective airway clearance เนื่องจาก
   * รางกายสรางเสมหะมาก
   * มีภาวะติดเชื้อหรือภาวะขาดน้ํา
   * ไอไมมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
ขับเสมหะ และปองกันไมเกิดการอุดกั้น
ทางเดินหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
1.เพิ่มความสามารถในการขับเสมหะของ pt. โดย
 1.1 การฝกไอ (coughing exercise)
 1.2 การทํากายภาพบําบัดทางเดินหายใจ (chest
  physical therapy) เชน percussion, vibration, postural
  drainage
 1.3 การดูดเสมหะ (tracheal suction)
 1.4 การใหละอองไอน้ําและความชื้น (dilivery of humidity
  or aerosol therapy)
   เสี่ยงตอภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
   เนื่องจาก
– ประสิทธิภาพในการแลกเปลียนกาซที่ปอด
                               ่
  ลดลงจากพยาธิสภาพของโรคปอดอักเสบ/
  ARDS/ COPD
- ผูปวยมีความจําเปนตองไดรับยากดศูนยหายใจ
  เพื่อการรักษา
วัตถุประสงค เพื่อปองกันภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน/ เพื่อให
รางกายไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอ
กิจกรรมการพยาบาล
 1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะขาด O2
 2.วัด V/S / O2 sat
 3.ดูแลใหไดรับ O2 และ หมั่นตรวจขวดรับน้ํา/Respirator
 4.จัดให pt.นอนในทาศีรษะสูง (Fowler’s position)
5.ดูแลทางเดินหายใจใหโลง โดยการ suction/
 ใสทอขวางปาก(oral airway) ในรายที่ลิ้นตก
6.การฝกไอ (coughing exercise)
7.การทํากายภาพบําบัดทางเดินหายใจ
(Chest physical therapy) เชน percussion,
 vibration, postural drainage
8.เปลี่ยนทานอนใหผปวยทุก 1-2 ชม.
                     ู
9.ดูแลชวยเหลือในการทํากิจกรรม
10.ดูแลให pt. พักผอน
11.ดูแลใหไดรับน้ําและอาหารอยางเพียงพอ
12.ดูแลการไดรับยาตามแผนการรักษา
 (Bronchodilator/ Diuretic/ Antibiotic)
13.ติดตามและประเมินเปรียบเทียบคา ABG
เสี่ยงตอการติดเชื้อ
       ของระบบทางเดินหายใจ

วัตถุประสงค
ปองกันการติดเชื้อของระบบหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการติด
เชื้อในระบบทางเดินหายใจ
 2.วัด V/S
3.ในกรณีที่ pt.ไดรับการรักษาโดยการใชเครื่องชวยหายใจ
ทอระบายทรวงอกหรือหลอดลมคอ ควรใหการพยาบาล
ตามหลักเทคนิค (Sterile/ aseptic)
4.เปลี่ยนทานอนทุก 1-2 ชม. เพื่อปองกันมิใหเสมหะคั่ง
5.การทํากายภาพบําบัดทางเดินหายใจ (chest physical
therapy) เชน percussion, vibration, postural drainage
6.ในกรณีมีเสมหะชวยดูดเสมหะ (suction)
7. แนะนําให pt. รักษาสุขภาพโดย
 * ฝกนิสัยการรับประทานอาการใหเหมาะกับโรค และ
 รับประทานอาหารที่เปนประโยชนตอรางกาย หลีกเลี่ยง
 อากาศที่เย็นจัด/ รอนจัด
 * รักษาชองปาก ฟน ใหสะอาดอยูเสมอ เพื่อปองกันการ
 ติดเชื้อของทางผานอากาศหายใจ
 * พักผอนและออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ
 * แนะนําให pt.หลีกเลี่ยงการเขาใกลผูที่เปนโรคติดเชื้อ
 ระบบทางเดินหายใจ
8.ดูแลใหไดรับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
9.ติดตามผลตรวจทางหองปฏิบัติการ เชน wbc, sputum
 gramstain/ culture
   เจ็บหนาอก
วัตถุประสงค
อาการเจ็บหนาอกเมื่อออกกําลังกายลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
ให pt.งดออกกําลังกาย และพักผอนใหมากขึ้น ระยะเวลา
การพักผอนจะมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับสาเหตุ พยาธิสภาพ
และความรุนแรงของโรค เมื่ออาการเจ็บหนาอกลดลงหรือ
หายไปจึงเริ่มออกกําลังกายใหม การเริ่มออกกําลังกายควร
กระทําทีละนอยและคอยๆ เพิ่มเวลามากขึ้น
วัตถุประสงค
อาการเจ็บหนาอกเนื่องมาจากการอักเสบของ
เยื่อหุมปอดลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนําให pt. นอนทับขางที่อักเสบเพราะจะ
ชวยลดการเคลื่อนไหวของปอดและเยื่อหุม
ปอด หากยังคงเจ็บปวดและไมไดพักผอน
ควรใหยาแกปวดตามแผนการรักษา และ
สังเกตผลขางเคียงของยาทุกครัง ้
วัตถุประสงค
อาการเจ็บหนาอกเนื่องจากการไอบรรเทาลง
กิจกรรมการพยาบาล
กระตุนให pt.ไออยางมีประสิทธิภาพ หากดื่มน้ําไดใหดื่ม
น้ําอุนๆ อมกลั้วคอ (หากไมมีขอหามดื่มประมาณ 2000-
3000 cc/ day) เพื่อละลายเสมหะและไอออกมาไดงาย
และทําความสะอาดปากหลังบวนเสมหะ ในรายที่ไมมี
เสมหะควรใหยาแกไอเพื่อชวยบรรเทาอาการไอ
  มีความไมสุขสบายของรางกายจากการ
  หายใจลําบาก
วัตถุประสงค
pt.มีความสุขสบายและผอนคลายทั้งรางกาย
และจิตใจ
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนําให pt.หายใจแบบหอปาก
 (pursed lips breathing)
2.นวดหลัง เพื่อให pt.รูสึกสบายและกระตุน
 ใหโลหิตไหลเวียนสะดวกขึ้น
3.งดใชแปงฝุนในการนวดหลังเพราะจะระคาย
เคืองระบบหายใจ ทําใหหายใจลําบากได
4.เปลี่ยนทานอนเพื่อใหหายใจไดสะดวกขึ้น
5.จัดสิ่งแวดลอมใหเงียบ สะอาด ปลอดโปรง
เพื่อให pt.พักผอนและลดการใช O2 ของ
รางกาย
6.ดูแลใหไดรับยาตามแผนการรักษา
  เสี่ยงตอการกลับเปนซ้ําของโรค
วัตถุประสงค
ปองกันการกลับเปนซ้ําของโรค
กิจกรรมการพยาบาล
 1.วางแผนรวมกับ pt. เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตน
ใหแข็งแรงอยูเสมอ โดยการรับประทานอาหารที่มี
ประโยชน ออกกําลังกายสม่ําเสมอ และพักผอนอยาง
เพียงพอ
2.แนะนําให pt.หลีกเลี่ยงการเขาใกลผูที่เปนโรคติดเชื้อ
ระบบทางเดินหายใจ
3.แนะนําให pt.อยูในที่ที่อากาศถายเทดี อบอุน และ
หลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแวดลอมโดย
กะทันหัน
4.ในการ breathing exercise แตละครั้ง ฝกให pt. สูด
หายใจเขาลึกๆ ติดตอกันอยางนอย
10-20 ครั้ง ทําเปนกิจวัตรประจําวันเชา-เย็น เพื่อความ
แข็งแรงของปอด หรือ อาจใชวิธีการเปาลูกโปงก็ได
5.ในกรณีมีเสมหะ ควรฝกใหมีการไออยางมี
ประสิทธิภาพ
6.แนะนําให pt.รักษาความสะอาดของปากฟนอยาง
สม่ําเสมอ เพื่อปองกันการติดเชื้อของระบบทางเดิน
หายใจ
7.สอนให pt.รูจักสังเกตตนเองเกี่ยวกับอาการเหนื่อย
หอบ หายใจลําบาก ลักษณะสีเล็บมือ เล็บเทา ถามี
ความผิดปกติควรมาพบแพทย
8.เนนให pt.เห็นความสําคัญของการมาตรวจตาม
แพทยนัด เพื่อการรักษาพยาบาลจะไดตอเนื่อง
   วิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะของโรค
วัตถุประสงค
เพื่อลดความวิตกกังวลของผูปวย
กิจกรรมการพยาบาล
1.สรางสัมพันธภาพที่ดีตอผูปวยโดยปลอบโยนให
กําลังใจดวยทาทางเปนกันเอง ยิ้มแยมแจมใส ให
ความเอาใจใส หมั่นตรวจเยี่ยม ฯลฯ เพื่อให pt.เกิด
ความรูสึกอบอุนและไววางใจ
2.อธิบายใหผูปวยและญาติเขาใจถึงการดําเนินของโรค
ตลอดจนการรักษาโรคที่เปนอยู ควรจะแนะนําใหผูปวย
ทราบถึงความรุนแรงของโรคและประโยชนของการ
รักษา เพื่อคลายความวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพความ
เปนอยูของตน
3.เปดโอกาสใหผูปวยและญาติซักถามขอสงสัยและ
อธิบายเพิ่ม
4.ฝกการผอนคลายใหแก pt. โดย
  - จัดทาให pt.อยูในทาที่สบาย
  - ให pt.สูดหายในเขาชาๆ ลึกๆ และหายใจออกชาๆ
ทําประมาณ 2-3 ครั้ง
- บอกให pt.ผอนคลายรางกายตังแตศีรษะ
                                 ้
จนถึงเทาโดยให pt.นึกถึงความอบอุนที่รูสึกได
บริเวณปลายมือและปลายเทา
  - แนะนําให pt. ทําสมาธิ
5.จัดกิจกรรมพิเศษหรืองานอดิเรกเบาๆที่ไม
ขัดกับโรคให pt.ทําเพื่อเบนความสนใจไปจาก
ความทุกขทรมานจากความเจ็บปวย
6.ประเมินความสัมพันธภายในครอบครัวของ pt.
เพื่อใหคําแนะนําแกสมาชิกครอบครัวและเกิด
การยอมรับซึ่งกันและกัน ซึ่งจะชวยลดความวิตก
กังวลของ pt.ไดสวนหนึ่ง
7.จัดสิ่งแวดลอมใหเงียบ สะอาด ปลอดโปรง
เพื่อให pt.รูสึกผอนคลายและพักผอนได
การเคลื่อนย้ ายผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบหายใจ

ผู้ป่วยทีมปัญหาทางระบบหายใจ มีอาการดังนี้
         ่ ี
1.อัตราหายใจมากกว่า 30 คร้ ัง/นาที
2. หอบเหนื่อย ใชกลามเน้ือบริเวณคอและทรวงอกในการหายใจ
                 ้ ้
3.ตองไดรับออกซิเจน
     ้ ้
4.ใส่ ท่อช่วยหายใจ
5.ภาวะความดันโลหิ ตตํ่า
6.มีโอกาสเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
                        ้ ่
7.หยดหายใจหรือหายใจนอยกวา 8 คร้ ัง/ นาที หรื อ ต้องช่วยหายใจ
      ุ
ข้ันตอนการเคลอนย้าย
             ื่

1.แจ้งหน่วยงานที่จะรับผูป่วยทราบถึงสภาพผูป่วย
                            ้                ้
                       ่
2.เตรี ยมผูป่วยให้อยูในสภาพที่เหมาะสมก่อนการเคลื่อนย้าย หากไม่พร้อม
               ้
       ควรแกไขหรือ**ให้การรักษาก่อน เช่น การหายใจช้า/ไม่หายใจ,ความดน
                 ้                                                   ั
       โลหิ ตตํ่า,ภาวะpneumothorax/hemothorax
3.เฝ้ าระวงและใหการรักษาต่อเนื่องตลอดเวลาที่เคลื่อนยาย สัญญาณชีพ,ยา,
             ั       ้                                ้
       นํ้าเกลือ
4.ป้ องกันอันตรายจากการเคลื่อนย้ายโดยเฉพาะผูป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
                                                ้
5.ผูป่วยที่ใส่ chest drain ควรดูแลใหเ้ หมาะสมไม่ควรclamp สายตลอดเวลา
     ้
6.มีบุคลากรที่เหมาะสมไปกบผป่วยั ู้
7.เมื่อเคลื่อนยายไปถึงหน่วยงานใหม่แลว ควรตรวจวดสัญญาณชีพทนที
                   ้                     ้          ั           ั
THE END

Contenu connexe

Tendances

การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 

Tendances (20)

EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 

En vedette

การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 

En vedette (7)

การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Pneumonia
PneumoniaPneumonia
Pneumonia
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Ems hypovolemic shock
Ems hypovolemic shockEms hypovolemic shock
Ems hypovolemic shock
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 

Similaire à การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ

การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจSusheewa Mulmuang
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distresstaem
 
งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดWan Ngamwongwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจWan Ngamwongwan
 
Pediatric respiratory emergency : lower
Pediatric respiratory emergency : lowerPediatric respiratory emergency : lower
Pediatric respiratory emergency : lowerDuangruethai Tunprom
 
Approach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in ThaiApproach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in ThaiThorsang Chayovan
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3Wan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 

Similaire à การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ (20)

Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
ชีววิทยา(ม.4 4) เรื่อง โรคหลอดลมอักเสบ (1)
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
TAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distressTAEM10:Respiratory distress
TAEM10:Respiratory distress
 
งานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืดงานชีวะ ,หอบหืด
งานชีวะ ,หอบหืด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
ชีพจร
ชีพจรชีพจร
ชีพจร
 
Pediatric respiratory emergency : lower
Pediatric respiratory emergency : lowerPediatric respiratory emergency : lower
Pediatric respiratory emergency : lower
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
Approach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in ThaiApproach to pulmonary hypertension in Thai
Approach to pulmonary hypertension in Thai
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3โรคถุงลมโป่งพอง4.3
โรคถุงลมโป่งพอง4.3
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 

Plus de techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมtechno UCH
 

Plus de techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ