SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
Easy Gu




       :H
       ide




             ow t
                 o   handle with ffllood


     น�้าท่วมแค่ไหนก็ไม่หวั่น
         ถ้าเราเตรียมพร้อม


                              เรียบเรียงโดย ทีมงานส�านักพิมพ์
                                 วาดโดย facebook.com/MonmanToon
สำรบัญ
 แฟชั่นสุดฮิตยำมวิกฤตน�้ำท่วม	                                         3
 น�้ำท่วมใกล้มำแล้วเตรียมตัวยังไงดี	                                   4
 ไม่อยำกให้บ้ำนน�้ำท่วมท�ำไงดี	                                        6
 โอ้	น�้ำท่วมซะแล้ว	จะกินอยู่ยังไงดี	                                 10
 เดินทำงและขับรถในช่วงน�้ำท่วมยังไงดี	                                11
 ถ้ำต้องขับรถลุยน�้ำ	จะท�ำไงดี	                                       12
 ท�ำอย่ำงไรให้มีควำมสุขในภำวะน�้ำท่วม	                                15


           E-book เล่มนี้มีลิขสิทธิ์ แต่อนุญาตให้น�าไปเผยแพร่ได้เลยฟรีๆ
                                                          อ๊ะๆ ! มีข้อแม้
                                 ว่าห้ามน�าไปขายหรือใช้เชิงการค้านะครับ


                          ช่วยกันแบ่งปันควำมรู้กันเยอะๆ	นะครับ


2 20    รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
แฟชั่นสุดฮิตยำมวิกฤตน�้ำท่วม

       แต่งตัวให้เหมำะสมและพร้อมรับมือกับสถำนกำรณ์น�้ำท่วม
                  ที่อำจมำแบบไม่ทันตั้งตัวจะดีกว่ำครับ	
                  หรือจะไปช่วยเหลือคนอื่นก็สะดวกดี




เสื้อยืดหรือเสื้อโปโลสบำยๆ

      พกรอยยิ้มไปด้วยช่วยกัน

                        กำงเกงขำสั้น

                  รองเท้ำผ้ำใบเพื่อควำม
                  กระฉับกระเฉง	หรือจะลำก
                  รองเท้ำแตะก็ได้ครับ


                                           รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   3 20
น�้ำท่วมใกล้มำแล้วเตรียมตัวยังไงดี

        ก่อนน�้าท่วมจริง อยากให้ทุกคนตั้งสติและเตรียม
   พร้อมก่อนนะครับ สิ่งที่เราเตรียมตัวได้มีดังต่อไปนี้




                               l ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า ถอดปลั๊กออกทุกครั้งหลังใช้
                               l ปิดแก๊สทุกครั้งหลังเลิกใช้


        l ปิดล็อคประตูบ้านและอพยพขึ้นที่สูงหรือ
 ชั้น 2 ของบ้าน
        l รับฟังข้อมูลจากวิทยุหรือโทรทัศน์

                                    แต่ถ้ำดูมำกๆ	ระวังเครียดนะครับ




4 20    รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
l เตรยมเสบยงอาหารเอาไวอยได้ 2 วน
                            ี      ี      ้ ู่      ั
            ก็เพียงพอ
                    l เตรยมนาดมใสขวดพลาสตกเอาไวให้
                              ี �้ ื่ ่    ิ      ้
            อยู่ได้ 5 วัน
                    l เตรยมนาใชอาบ แปรงฟนใสถงทรงสง
                           ี �้ ้        ั ่ ั        ู
            เอาไว้ที่ชั้น 2 ของบ้าน



         เผื่อน�้ำสะอำดเอำไว้ใช้ก็ดีนะครับ




      l เตรียมตัวแล้วเตรียมใจด้วย ยิ้มสู้ เครียดได้
แต่อย่าเครียดมากนะครับ
      l ชารจแบตมอถอใหเตมปรี่ ถามเครองส�ารอง
             ์    ื ื ้ ็        ้ ี ื่
ด้วยก็ดี




                             รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   5 20
ไม่อยำกให้บ้ำนน�้ำท่วมท�ำไงดี

         หลำยคนกังวลและไม่รู้จะท�ำอย่ำงไรเพื่อป้องกันน�้ำเข้ำบ้ำน	
 วันนี้มีวิธีป้องกันน�้ำเข้ำบ้ำนอย่ำงง่ำยๆ	มำให้ลองท�ำตำมครับ


        l ซื้อกระสอบและกรอกทรำยใส่กระสอบ (หรือถุง)
 เพื่อท�ำคันป้องกันน�้ำเข้ำบ้ำน



             ใส่ทรำยลงถุงแค่ครึ่งถุงก็พอครับ	
             แล้วผูกปำกถุงใกล้ๆ	
             ปำกถุงจะดีกว่ำครับ



          อย่ำใส่ทรำยจนแน่นถุง	เพรำะจะหนักและ
          เอำไปวำงเรียงแล้วจะป้องกันน�้ำได้ไม่สนิท	
          ควรให้มีพื้นที่เหลือในกระสอบ
          เพื่อควำมยืดหยุ่นครับ

6 20    รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
ไม่ควรผูกถุงต�่ำเกินไปนะครับ




       วิธีกำรวำงกระสอบทรำยที่ด	 ต้องให้วำงแบบ “หัวทับท้ำย”	
                               ี
เพื่อปิดช่องว่ำงระหว่ำงกระสอบให้มิด ป้องกันไม่ให้น�้ำใหลผ่ำน
ช่องว่ำงระหว่ำงกระสอบ




                           วำงแบบนี้ครับ




                                        รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   7 20
l ระวังน�้ำผุด!	
      ส�าหรับบ้านใครที่เสี่ยงต่อน�าท่วม
                                  ้
      อย่าคิดว่าน�้าจะมาทางหน้าบ้านอย่างเดียวนะครับ
      เพราะน�าอาจจะมาจากท่อในบ้านเราก็ได้ ให้ปองกัน
                ้                              ้
น�้าแบบนี้ไว้ก่อนครับ


        วิธอดปิดช่องนำทิงทีอำงล่ำงจำน	ห้องนำ	ห้องซักล้ำง	และ
           ีุ        �้ ้ ่ ่              �้
   โถส้วม

           1. ส�าหรับฝาท่อน�้าที่พื้นห้องน�้า
   ชั้นล่าง ให้เปิดตะแกรงออกมา


                                    ท�ำเฉพำะที่ห้องน�้ำชั้นล่ำงนะครับ




                                   2. ห่อก้อนอะไรก็ได้ที่หนักๆ หรือแข็งๆ
                             ด้วยผ้าและถุงพลาสติกหลายๆ ชั้น แล้วเราจะ
                             ได้ก้อนอุดท่อมาแล้วล่ะ


8 20      รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
3. แล้วเราก็เอาไปอุดท่อซะ ให้มันผลุบลงไปเลยครับ
แล้วเอาอิฐทับ หรือสิ่งที่ทดแทนกันได้ทับลงไป


                                      4. ตามด้วยปูนยาแนว ท�าลักษณะนี้ ซึ่งปูน
                              ยาแนวหาซื้อได้ที่ร้านขายอุปกรณ์ก่อสร้าง อุปกรณ์
                              ช่างทั้งหลายครับ



          5. อดสวมดวยครบ แตไมตองอดลงไป
              ุ ้ ้ ั ่ ่ ้ ั
  จนมิดหายนะครับ แค่อุดๆ อัดๆ ไว้ป้องกัน
  น�้าเอ่อออกมาครับ




     ท�ำเสร็จแล้ว	ถ้ำจะอำบน�้ำต้องไปอำบชั้นบนอย่ำงเดียวก่อนนะครับ	
     พอวิกฤติน�้ำท่วมผ่ำนไปก็ค่อยแงะอิฐและดึงที่อุดออกภำยหลังครับ




                                                รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   9 20
โอ้	น�้ำท่วมซะแล้ว	จะกินอยู่ยังไงดี
        l สับคัตเอาต์ลงเพื่อตัดระบบไฟ ป้องกันไฟรั่ว
        l ระวังงู สัตว์มีพิษทั้งหลาย ก่อนเดินไปก็ปรบมือดังแปะๆ ให้สัตว์หนีไปก่อน
        l เริ่มกินอาหารที่จะเสียเร็วก่อน ส่วนอาหารแห้งค่อยกินทีหลัง à




       l ล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอก่อนหยิบอะไรกินเข้าไป
       l อย่าอึ๊ตุ๋มๆ ลงน�้า ให้ท�าส้วม Hand made ไว้ใช้เอง…อ้อ! หลังอึ๊แล้วใส่
  ปูนขาวลงไปด้วยนะ

        วิธีท�ำส้วม	Handmade
        1. เจาะรูตรงกลางของเก้าอี้แบบนั่งกินก๋วยเตี๋ยว
        2. ใส่ถุงด�าเข้าไปดังรูป



             นี่ไง	ส้วมท�ำเอง


                                           1                               2
10 20    รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
เดินทำงและขับรถในช่วงน�้ำท่วมยังไงดี
        l ถ้าต้องเดินทางไกล ก่อนออกรถให้ตรวจพื้นที่น�้าท่วมได้ที่เว็บไซต์นี้
http://thaiflood.voicetv.co.th/map/




     l อย่าลืมเช็คสภาพรถและท�าให้รถพร้อมเดินทาง 100% เพราะเดี๋ยว
ไปจอดเสีย ท�าคนอื่นเดือดร้อน




                                                 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   11 20
ถ้ำต้องขับรถลุยน�้ำ	จะท�ำไงดี




                        ลองนึกภำพและจินตนำกำร
                           ไปตำมเลยนะครับ	


        ถ้ำตอนนี้คุณก�ำลังขับรถลุยน�้ำอยู่
          1. ปิดแอร์! การเปิดแอร์จะท�าให้พัดลมท�างาน แล้วพัดน�้าให้กระจายไป
  ทั่วห้องเครื่อง
          2. ใช้เกียร์ตา ส�าหรับเกียร์กระปุก ควรใช้เกียร์ 1-2
                       �่
  กพอ สาหรบเกยรออโต้ ใหใชเกยร์ L พยายามขบใหชาทสด
   ็ � ั ี ์                   ้ ้ ี             ั ้ ้ ี่ ุ
  เท่าที่จะท�าได้ อย่าหยุด และอย่าเร่งความเร็วครับ


12 20   รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
3. ไม่ควรเร่งเครื่อง เพราะท�าให้ความร้อนสูง
ใบพัดระบายความร้อนก็จะท�างาน
      4. ไม่ต้องห่วงว่าน�้าจะเข้าทางท่อไอเสีย เพราะ แรงดันภายในจะผลักน�า
                                                                       ้
ให้ออกมาเอง




        5. ถ้าต้องขับรถสวนกันให้ต่างคันต่างลดความเร็วลง เพื่อไม่ให้เกิดคลื่น
น�้าสร้างความเสียหายให้รถ
        6. หลังจากลุยน�้ามาแล้ว ควรย�้าเบรกบ่อยๆ เพื่อไล่น�้าออก
        7. เมอถงจดหมาย ควรปลอยใหเครองตดตออกสกพก โดยสงเกตวาไมมี
             ื่ ึ ุ             ่     ้ ื่ ิ ่ ี ั ั             ั    ่ ่
ไอน�้าออกจากท่อไอเสียแล้ว




                                                 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   13 20
ถ้ำตอนนี้คุณผ่ำนภำวะน�้ำท่วมมำแล้ว
        1. ล้างรถให้สะอาด ฉีดน�้าเข้าท้องรถ ล้อรถ ก�าจัดเศษหินดินทราย เศษ
  หญ้า ใบไม้ เพราะอาจท�าให้เกิดไฟไหม้ได้
        2. เปลี่ยนน�้ามันเกียร์ เพราะจะมีน�้าซึมเข้าไปในระบบเกียร์ ท�าให้พังได้
        3. เช็คลูกปืนล้อ เพราะเมื่อแช่น�้านานๆ อาจท�าให้เกิดเสียงดัง
        4. ตรวจสอบพื้นพรมในรถ เปิดผ้ายาง ป้องกันเชื้อรา
        5. ตรวจสอบระบบต่างๆ ให้อยู่ในความเรียบร้อย หรือเอาเข้าศูนย์เช็ค
  สภาพรถไปเลยครับ

        6. หากพบมสงผดปกติ เชน เสยงดง เขาเกยรไมได้ ฯลฯ ควรโทรปรกษา
                 ี ิ่ ิ     ่ ี ั ้ ี ์ ่                     ึ
  ช่างทันที




14 20    รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
ท�ำอย่ำงไรให้มีควำมสุขในภำวะน�้ำท่วม
      คงปฏิเสธไม่ได้ว่าช่วงน�้าท่วมนั้นพวกเรา
จะต้องเกิดความไม่สบายใจกันแน่นอน

     เรามารู้จักและเตรียมรับมือกับความไม่
สบายใจกันดีกว่าครับ (ถ้ารู้ว่าเราจะเป็นอะไรใน
อนาคต พอถึงเหตุการณ์จริงๆ จะได้ไม่เครียดเกิน
ไปไงครับ) แบ่งออกเป็น 3 ช่วง


      ช่วงที่ก่อนน�้ำท่วม จะเกิดความรู้สึกว่า โอ๊ะ ถ้าน�้ามาจะท�าไงนะ แล้ว
ลูกฉันจะอยู่ยังไง อ๊ะรถฉันจะเป็นยังไง อ๊า! เหตุการณ์แบบนี้เรียกกันว่า




     “ความวิตกกังวล” ครับ




                                                 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   15 20
ความวิตกกังวลเป็นอารมณ์ความรู้สึกหนึ่งที่ต้องเกิดขึ้นเป็นธรรมดา ให้
  คิดเสียว่า “โอเค...ยังดีนะที่เรารู้ข่าวน�้าท่วมก่อน”


                                      แลวคดในใจตออกวา “เอ...แลวเราจะทายงไง
                                         ้ ิ     ่ ี ่         ้     � ั
                               เพื่อเตรียมพร้อมรับมือน�าท่วมดีนะ”
                                                       ้

                                    แค่นี้เราก็เกิดไอเดียใหม่ๆ และเตะเจ้าวิตกให้
                               ไปไกลๆ โดยการลุกออกไปท�านู่นท�านี่ไงละครับ

        ช่วงที่น�้ำท่วมอยู่	ตอนนี้พวกเราอาจจะอยู่ที่ไหนสักแห่ง อาจเป็นบน
  ที่สูงของบ้านหรือสถานที่หน่วยงานช่วยเหลือจัดไว้ให้ ช่วงนี้พวกเราอาจจะมี
  อาการเหม่อลอย ไม่รจะท�าอะไร มองไปทางไหนก็มแต่นาๆๆ บางคนอาจร้องไห้
                     ู้                        ี �้
  เพราะเสียใจหรือเครียดแล้วต้องการปล่อยโฮออกมา บางคนอาจเซ็ง หงุดหงิด
  โอ๊ยโว้ยว๊าก เพราะออกไปไหนไม่ได้




16 20   รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
อาการแบบนี้ก็ถือเป็นเรื่องปกติที่ต้องเจอครับ ให้เรา
เตรยมใจไวเลยวาตองเจออารมณเหลานี้ ลองเลนเกมสกบตว
    ี       ้ ่ ้                 ์ ่             ่    ์ ั ั
เองก็ได้ครับ พอเห็นตัวเองหรือใครเกิดหงุดหงิด ร้องไห้ เซ็ง
เศร้า เหม่อ ก็ให้คิดเสียว่า “นั่นไง...ว่าแล้ว... เหมือนที่เค้า
บอกไว้ในต�าราจริงๆ ด้วย แม่นอย่างกับตาเห็น”

       ประเดนคอ พยายามมองอะไรนนนตางๆ ใหสนกเขาไวครบ ถาใครเสน
              ็ ื                     ั่ ี่ ่     ้ ุ ้ ้ ั ้            ้
ลก ขายาก เครยดงาย ลองหาวธอนในการมองโลกใหมใหมองโลกแงดครบ เชอ
  ึ �          ี ่            ิ ี ื่                ่ ้        ่ ี ั ื่
ว่ารอบกายก็มีอย่างน้อยหนึ่งอย่างที่เป็นแง่ดีแน่นอนครับ
       อกวธในการผอนคลายคอ นงคยกบคนในครอบครวหรอเพอนๆ ทประสบ
        ี ิี         ่       ื ั่ ุ ั                 ั ื ื่       ี่
เหตุการณ์เดียวกัน โดยแต่ละคนรับฟังเรื่องราวของกันและกัน และมีกติการ่วม
กันว่า จะไม่พูดขัด จะแค่รับฟังอย่างเดียว
       เพียงรับฟัง ง่ายๆ แบบนี้ คนพูดก็สบายใจเพราะได้ปล่อยสิ่งอัดอั้น ส่วน
คนฟังก็ได้ช่วยให้คนพูดมีความสุขครับ

                         นอกจากนี้ค�าว่า
                       “ยังดีนะที่...”
                         ก็ยังใช้ได้ผลครับ




                                                    รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   17 20
ส�ำหรับช่วงที่ผ่ำนภำวะน�้ำท่วมไปแล้ว ตอนนี้ เราเดินไปไหนก็
  เห็นแต่ความเสียหาย เฮ้อ...ตรงนั้นก็พัง ตรงนี้ก็เสีย ตรงนู้นก็เละ เฮ้อๆๆ เกิด
  ความไม่สบายใจ แล้วไหนจะต่อด้วยอาการหน้านิวคิวขมวดนอนเอามือก่ายหน้า
                                                   ่ ้
  ผากบ่นอุบว่า แล้วอย่างนี้ชีวิตฉันจะท�ายังไงต่อไปดีเนี่ย เฮ้อๆๆ อนาคตจะเป็น
  ยังไงเนี่ย เฮ้อๆๆ ช่วงนี้ให้ระมัดระวังเรื่องการคิดสั้นครับ เพราะความเครียดที่
  สะสมมาตลอดเวลาน�้าท่วมบวกกับความวิตกถึงอนาคตที่ยังมาไม่ถึงอีก


                                      ดังนั้นสิ่งที่เราควรท�าคือ
                                        1. ผ่อนคลายความวิตก โดยการมองปัจจุบนแบบ
                                                                            ั
                                ว่า “เอาละ ยังดีนะที่น�้าลด งั้นต่อไปฉันจะท�านู่นนี่
                                นั่นเพื่อซ่อมแซมใหม่ให้เหมือนเดิม”

        2. สู้ต่อไป ให้คิดเสียว่า “ยังดีนะที่ไม่นั้น...ยังดีนะที่ไม่นี้”


           ชีวิตยังมีลมหำยใจก็ต้องสู้ต่อไปครับ	!




18 20    รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
ขอให้ทุกคนมีรอยยิ้มสวยงำมแม้ใน
             ภำวะที่ชวนหน้ำบึ้งเช่นนี้นะครับ	 อย่ำลืมว่ำ	
             “ถึงทุกข์ก็สุขได้”	ครับ




      ขอขอบคุณ
      l วารสารทางด่วนศรีรัช บริษัท ทางด่วนกรุงเทพจ�ากัด (มหาชน)
      l กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
      l แนวคิดด้านจิตวิทยาจากหนังสือเรื่อง ปลุกพลังใจสร้างไฟในตัว
คุณ เขียนโดย วชิรา บุตรวัยวุฒิ และ หนังสือเรื่องถึงทุกข์ก็สุขได้ เขียนโดย
พวงจิตตา
      l ขอบคุณคุณมลที่วาดการ์ตูนน่ารักๆ และขอบคุณผู้จัดรูปเล่ม
หนังสือเล่มนี้ด้วยที่มาร่วมงานการกุศลในครั้งนี้




                                                 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก   19 20
ขอบคุณทุกท่ำนที่อ่ำน
                        และแบ่งปันต่อให้คนอื่นๆ	นะครับ

             เข้ำมำช่วยเสริมเนื้อหำหนังสือเล่มนี้ให้สมบูรณ์มำกขึ้นได้ที่	
                   www.facebook.com/thinkbeyondcomic




20 20   รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก

Contenu connexe

En vedette

Science and Technology All Around Us
Science and Technology All Around UsScience and Technology All Around Us
Science and Technology All Around UsSatapon Yosakonkun
 
81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีSatapon Yosakonkun
 
Majalah INFO-UFO no 12
Majalah INFO-UFO no 12Majalah INFO-UFO no 12
Majalah INFO-UFO no 12Nur Agustinus
 
Majalah BETA-UFO no 15
Majalah BETA-UFO no 15Majalah BETA-UFO no 15
Majalah BETA-UFO no 15Nur Agustinus
 
Dulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen AS
Dulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen ASDulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen AS
Dulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen ASNur Agustinus
 
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศSatapon Yosakonkun
 
Intervensi makhluk ET di planet Bumi
Intervensi makhluk ET di planet BumiIntervensi makhluk ET di planet Bumi
Intervensi makhluk ET di planet BumiNur Agustinus
 
BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014
BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014
BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014sbasgall
 
UFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet BumiUFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet BumiNur Agustinus
 
Facilitating Dialogue In Situations Of Conflict
Facilitating Dialogue In Situations Of ConflictFacilitating Dialogue In Situations Of Conflict
Facilitating Dialogue In Situations Of ConflictSumeet Moghe
 
FARM II Quarterly Report April-July 2015
FARM II Quarterly Report  April-July 2015FARM II Quarterly Report  April-July 2015
FARM II Quarterly Report April-July 2015sbasgall
 
M-libraries snapshot January 2013
M-libraries snapshot January 2013M-libraries snapshot January 2013
M-libraries snapshot January 2013Keren Mills
 
การบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลาน
การบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลานการบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลาน
การบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลานSatapon Yosakonkun
 
Kuroneko Design Tutorials
Kuroneko Design TutorialsKuroneko Design Tutorials
Kuroneko Design Tutorialskuroino
 
IRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation ReportIRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation Reportsbasgall
 
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาOSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาSatapon Yosakonkun
 

En vedette (20)

Pebisnis Sosial
Pebisnis SosialPebisnis Sosial
Pebisnis Sosial
 
Science and Technology All Around Us
Science and Technology All Around UsScience and Technology All Around Us
Science and Technology All Around Us
 
81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
81 แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
Majalah INFO-UFO no 12
Majalah INFO-UFO no 12Majalah INFO-UFO no 12
Majalah INFO-UFO no 12
 
Majalah BETA-UFO no 15
Majalah BETA-UFO no 15Majalah BETA-UFO no 15
Majalah BETA-UFO no 15
 
Dulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen AS
Dulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen ASDulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen AS
Dulce dan File Rahasia dari Pekerja Dinas Intelijen AS
 
Como preguntarnos
Como preguntarnosComo preguntarnos
Como preguntarnos
 
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
สร้างสังคมดีด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Intervensi makhluk ET di planet Bumi
Intervensi makhluk ET di planet BumiIntervensi makhluk ET di planet Bumi
Intervensi makhluk ET di planet Bumi
 
BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014
BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014
BEHTRUWC_Final_Evaluation_Report_Final 09242014
 
UFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet BumiUFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
UFO Menyambut Th 1980 Planet Bumi
 
Facilitating Dialogue In Situations Of Conflict
Facilitating Dialogue In Situations Of ConflictFacilitating Dialogue In Situations Of Conflict
Facilitating Dialogue In Situations Of Conflict
 
FARM II Quarterly Report April-July 2015
FARM II Quarterly Report  April-July 2015FARM II Quarterly Report  April-July 2015
FARM II Quarterly Report April-July 2015
 
M-libraries snapshot January 2013
M-libraries snapshot January 2013M-libraries snapshot January 2013
M-libraries snapshot January 2013
 
การบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลาน
การบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลานการบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลาน
การบรรยายและสาธิตการจัดทำหนังสือดิจิทัลหายากและเอกสารใบลาน
 
Kuroneko Design Tutorials
Kuroneko Design TutorialsKuroneko Design Tutorials
Kuroneko Design Tutorials
 
IRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation ReportIRC-ECHO Evaluation Report
IRC-ECHO Evaluation Report
 
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษาOSS & Freeware เพื่อการศึกษา
OSS & Freeware เพื่อการศึกษา
 
Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
Primeiro ano
Primeiro anoPrimeiro ano
Primeiro ano
 

Similaire à รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอEmbryo Thepstep
 
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docxสำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docxssusere51faa
 
365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลก365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลกKittayaporn Changpan
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)dumrongsuk
 
ปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมchakhrit2211
 

Similaire à รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน (8)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docxสำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
 
thinks
thinksthinks
thinks
 
365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลก365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลก
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
Mold remediation-after-flood
Mold remediation-after-floodMold remediation-after-flood
Mold remediation-after-flood
 
การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)การล้างมือ(อบรมครู)
การล้างมือ(อบรมครู)
 
ปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วมปัญหาน้ำท่วม
ปัญหาน้ำท่วม
 

Plus de Satapon Yosakonkun

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 Satapon Yosakonkun
 
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)Satapon Yosakonkun
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓Satapon Yosakonkun
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นSatapon Yosakonkun
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...Satapon Yosakonkun
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯSatapon Yosakonkun
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...Satapon Yosakonkun
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : ZoteroSatapon Yosakonkun
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...Satapon Yosakonkun
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่Satapon Yosakonkun
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsSatapon Yosakonkun
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์Satapon Yosakonkun
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย ZoteroSatapon Yosakonkun
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social MediaSatapon Yosakonkun
 

Plus de Satapon Yosakonkun (20)

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
 
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standards
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
 

รับมือน้ำท่วมไม่ยาก ฉบับการ์ตูน

  • 1. Easy Gu :H ide ow t o handle with ffllood น�้าท่วมแค่ไหนก็ไม่หวั่น ถ้าเราเตรียมพร้อม เรียบเรียงโดย ทีมงานส�านักพิมพ์ วาดโดย facebook.com/MonmanToon
  • 2. สำรบัญ แฟชั่นสุดฮิตยำมวิกฤตน�้ำท่วม 3 น�้ำท่วมใกล้มำแล้วเตรียมตัวยังไงดี 4 ไม่อยำกให้บ้ำนน�้ำท่วมท�ำไงดี 6 โอ้ น�้ำท่วมซะแล้ว จะกินอยู่ยังไงดี 10 เดินทำงและขับรถในช่วงน�้ำท่วมยังไงดี 11 ถ้ำต้องขับรถลุยน�้ำ จะท�ำไงดี 12 ท�ำอย่ำงไรให้มีควำมสุขในภำวะน�้ำท่วม 15 E-book เล่มนี้มีลิขสิทธิ์ แต่อนุญาตให้น�าไปเผยแพร่ได้เลยฟรีๆ อ๊ะๆ ! มีข้อแม้ ว่าห้ามน�าไปขายหรือใช้เชิงการค้านะครับ ช่วยกันแบ่งปันควำมรู้กันเยอะๆ นะครับ 2 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 3. แฟชั่นสุดฮิตยำมวิกฤตน�้ำท่วม แต่งตัวให้เหมำะสมและพร้อมรับมือกับสถำนกำรณ์น�้ำท่วม ที่อำจมำแบบไม่ทันตั้งตัวจะดีกว่ำครับ หรือจะไปช่วยเหลือคนอื่นก็สะดวกดี เสื้อยืดหรือเสื้อโปโลสบำยๆ พกรอยยิ้มไปด้วยช่วยกัน กำงเกงขำสั้น รองเท้ำผ้ำใบเพื่อควำม กระฉับกระเฉง หรือจะลำก รองเท้ำแตะก็ได้ครับ รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 3 20
  • 4. น�้ำท่วมใกล้มำแล้วเตรียมตัวยังไงดี ก่อนน�้าท่วมจริง อยากให้ทุกคนตั้งสติและเตรียม พร้อมก่อนนะครับ สิ่งที่เราเตรียมตัวได้มีดังต่อไปนี้ l ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า ถอดปลั๊กออกทุกครั้งหลังใช้ l ปิดแก๊สทุกครั้งหลังเลิกใช้ l ปิดล็อคประตูบ้านและอพยพขึ้นที่สูงหรือ ชั้น 2 ของบ้าน l รับฟังข้อมูลจากวิทยุหรือโทรทัศน์ แต่ถ้ำดูมำกๆ ระวังเครียดนะครับ 4 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 5. l เตรยมเสบยงอาหารเอาไวอยได้ 2 วน ี ี ้ ู่ ั ก็เพียงพอ l เตรยมนาดมใสขวดพลาสตกเอาไวให้ ี �้ ื่ ่ ิ ้ อยู่ได้ 5 วัน l เตรยมนาใชอาบ แปรงฟนใสถงทรงสง ี �้ ้ ั ่ ั ู เอาไว้ที่ชั้น 2 ของบ้าน เผื่อน�้ำสะอำดเอำไว้ใช้ก็ดีนะครับ l เตรียมตัวแล้วเตรียมใจด้วย ยิ้มสู้ เครียดได้ แต่อย่าเครียดมากนะครับ l ชารจแบตมอถอใหเตมปรี่ ถามเครองส�ารอง ์ ื ื ้ ็ ้ ี ื่ ด้วยก็ดี รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 5 20
  • 6. ไม่อยำกให้บ้ำนน�้ำท่วมท�ำไงดี หลำยคนกังวลและไม่รู้จะท�ำอย่ำงไรเพื่อป้องกันน�้ำเข้ำบ้ำน วันนี้มีวิธีป้องกันน�้ำเข้ำบ้ำนอย่ำงง่ำยๆ มำให้ลองท�ำตำมครับ l ซื้อกระสอบและกรอกทรำยใส่กระสอบ (หรือถุง) เพื่อท�ำคันป้องกันน�้ำเข้ำบ้ำน ใส่ทรำยลงถุงแค่ครึ่งถุงก็พอครับ แล้วผูกปำกถุงใกล้ๆ ปำกถุงจะดีกว่ำครับ อย่ำใส่ทรำยจนแน่นถุง เพรำะจะหนักและ เอำไปวำงเรียงแล้วจะป้องกันน�้ำได้ไม่สนิท ควรให้มีพื้นที่เหลือในกระสอบ เพื่อควำมยืดหยุ่นครับ 6 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 7. ไม่ควรผูกถุงต�่ำเกินไปนะครับ วิธีกำรวำงกระสอบทรำยที่ด ต้องให้วำงแบบ “หัวทับท้ำย” ี เพื่อปิดช่องว่ำงระหว่ำงกระสอบให้มิด ป้องกันไม่ให้น�้ำใหลผ่ำน ช่องว่ำงระหว่ำงกระสอบ วำงแบบนี้ครับ รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 7 20
  • 8. l ระวังน�้ำผุด! ส�าหรับบ้านใครที่เสี่ยงต่อน�าท่วม ้ อย่าคิดว่าน�้าจะมาทางหน้าบ้านอย่างเดียวนะครับ เพราะน�าอาจจะมาจากท่อในบ้านเราก็ได้ ให้ปองกัน ้ ้ น�้าแบบนี้ไว้ก่อนครับ วิธอดปิดช่องนำทิงทีอำงล่ำงจำน ห้องนำ ห้องซักล้ำง และ ีุ �้ ้ ่ ่ �้ โถส้วม 1. ส�าหรับฝาท่อน�้าที่พื้นห้องน�้า ชั้นล่าง ให้เปิดตะแกรงออกมา ท�ำเฉพำะที่ห้องน�้ำชั้นล่ำงนะครับ 2. ห่อก้อนอะไรก็ได้ที่หนักๆ หรือแข็งๆ ด้วยผ้าและถุงพลาสติกหลายๆ ชั้น แล้วเราจะ ได้ก้อนอุดท่อมาแล้วล่ะ 8 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 9. 3. แล้วเราก็เอาไปอุดท่อซะ ให้มันผลุบลงไปเลยครับ แล้วเอาอิฐทับ หรือสิ่งที่ทดแทนกันได้ทับลงไป 4. ตามด้วยปูนยาแนว ท�าลักษณะนี้ ซึ่งปูน ยาแนวหาซื้อได้ที่ร้านขายอุปกรณ์ก่อสร้าง อุปกรณ์ ช่างทั้งหลายครับ 5. อดสวมดวยครบ แตไมตองอดลงไป ุ ้ ้ ั ่ ่ ้ ั จนมิดหายนะครับ แค่อุดๆ อัดๆ ไว้ป้องกัน น�้าเอ่อออกมาครับ ท�ำเสร็จแล้ว ถ้ำจะอำบน�้ำต้องไปอำบชั้นบนอย่ำงเดียวก่อนนะครับ พอวิกฤติน�้ำท่วมผ่ำนไปก็ค่อยแงะอิฐและดึงที่อุดออกภำยหลังครับ รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 9 20
  • 10. โอ้ น�้ำท่วมซะแล้ว จะกินอยู่ยังไงดี l สับคัตเอาต์ลงเพื่อตัดระบบไฟ ป้องกันไฟรั่ว l ระวังงู สัตว์มีพิษทั้งหลาย ก่อนเดินไปก็ปรบมือดังแปะๆ ให้สัตว์หนีไปก่อน l เริ่มกินอาหารที่จะเสียเร็วก่อน ส่วนอาหารแห้งค่อยกินทีหลัง à l ล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอก่อนหยิบอะไรกินเข้าไป l อย่าอึ๊ตุ๋มๆ ลงน�้า ให้ท�าส้วม Hand made ไว้ใช้เอง…อ้อ! หลังอึ๊แล้วใส่ ปูนขาวลงไปด้วยนะ วิธีท�ำส้วม Handmade 1. เจาะรูตรงกลางของเก้าอี้แบบนั่งกินก๋วยเตี๋ยว 2. ใส่ถุงด�าเข้าไปดังรูป นี่ไง ส้วมท�ำเอง 1 2 10 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 11. เดินทำงและขับรถในช่วงน�้ำท่วมยังไงดี l ถ้าต้องเดินทางไกล ก่อนออกรถให้ตรวจพื้นที่น�้าท่วมได้ที่เว็บไซต์นี้ http://thaiflood.voicetv.co.th/map/ l อย่าลืมเช็คสภาพรถและท�าให้รถพร้อมเดินทาง 100% เพราะเดี๋ยว ไปจอดเสีย ท�าคนอื่นเดือดร้อน รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 11 20
  • 12. ถ้ำต้องขับรถลุยน�้ำ จะท�ำไงดี ลองนึกภำพและจินตนำกำร ไปตำมเลยนะครับ ถ้ำตอนนี้คุณก�ำลังขับรถลุยน�้ำอยู่ 1. ปิดแอร์! การเปิดแอร์จะท�าให้พัดลมท�างาน แล้วพัดน�้าให้กระจายไป ทั่วห้องเครื่อง 2. ใช้เกียร์ตา ส�าหรับเกียร์กระปุก ควรใช้เกียร์ 1-2 �่ กพอ สาหรบเกยรออโต้ ใหใชเกยร์ L พยายามขบใหชาทสด ็ � ั ี ์ ้ ้ ี ั ้ ้ ี่ ุ เท่าที่จะท�าได้ อย่าหยุด และอย่าเร่งความเร็วครับ 12 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 13. 3. ไม่ควรเร่งเครื่อง เพราะท�าให้ความร้อนสูง ใบพัดระบายความร้อนก็จะท�างาน 4. ไม่ต้องห่วงว่าน�้าจะเข้าทางท่อไอเสีย เพราะ แรงดันภายในจะผลักน�า ้ ให้ออกมาเอง 5. ถ้าต้องขับรถสวนกันให้ต่างคันต่างลดความเร็วลง เพื่อไม่ให้เกิดคลื่น น�้าสร้างความเสียหายให้รถ 6. หลังจากลุยน�้ามาแล้ว ควรย�้าเบรกบ่อยๆ เพื่อไล่น�้าออก 7. เมอถงจดหมาย ควรปลอยใหเครองตดตออกสกพก โดยสงเกตวาไมมี ื่ ึ ุ ่ ้ ื่ ิ ่ ี ั ั ั ่ ่ ไอน�้าออกจากท่อไอเสียแล้ว รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 13 20
  • 14. ถ้ำตอนนี้คุณผ่ำนภำวะน�้ำท่วมมำแล้ว 1. ล้างรถให้สะอาด ฉีดน�้าเข้าท้องรถ ล้อรถ ก�าจัดเศษหินดินทราย เศษ หญ้า ใบไม้ เพราะอาจท�าให้เกิดไฟไหม้ได้ 2. เปลี่ยนน�้ามันเกียร์ เพราะจะมีน�้าซึมเข้าไปในระบบเกียร์ ท�าให้พังได้ 3. เช็คลูกปืนล้อ เพราะเมื่อแช่น�้านานๆ อาจท�าให้เกิดเสียงดัง 4. ตรวจสอบพื้นพรมในรถ เปิดผ้ายาง ป้องกันเชื้อรา 5. ตรวจสอบระบบต่างๆ ให้อยู่ในความเรียบร้อย หรือเอาเข้าศูนย์เช็ค สภาพรถไปเลยครับ 6. หากพบมสงผดปกติ เชน เสยงดง เขาเกยรไมได้ ฯลฯ ควรโทรปรกษา ี ิ่ ิ ่ ี ั ้ ี ์ ่ ึ ช่างทันที 14 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 15. ท�ำอย่ำงไรให้มีควำมสุขในภำวะน�้ำท่วม คงปฏิเสธไม่ได้ว่าช่วงน�้าท่วมนั้นพวกเรา จะต้องเกิดความไม่สบายใจกันแน่นอน เรามารู้จักและเตรียมรับมือกับความไม่ สบายใจกันดีกว่าครับ (ถ้ารู้ว่าเราจะเป็นอะไรใน อนาคต พอถึงเหตุการณ์จริงๆ จะได้ไม่เครียดเกิน ไปไงครับ) แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ก่อนน�้ำท่วม จะเกิดความรู้สึกว่า โอ๊ะ ถ้าน�้ามาจะท�าไงนะ แล้ว ลูกฉันจะอยู่ยังไง อ๊ะรถฉันจะเป็นยังไง อ๊า! เหตุการณ์แบบนี้เรียกกันว่า “ความวิตกกังวล” ครับ รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 15 20
  • 16. ความวิตกกังวลเป็นอารมณ์ความรู้สึกหนึ่งที่ต้องเกิดขึ้นเป็นธรรมดา ให้ คิดเสียว่า “โอเค...ยังดีนะที่เรารู้ข่าวน�้าท่วมก่อน” แลวคดในใจตออกวา “เอ...แลวเราจะทายงไง ้ ิ ่ ี ่ ้ � ั เพื่อเตรียมพร้อมรับมือน�าท่วมดีนะ” ้ แค่นี้เราก็เกิดไอเดียใหม่ๆ และเตะเจ้าวิตกให้ ไปไกลๆ โดยการลุกออกไปท�านู่นท�านี่ไงละครับ ช่วงที่น�้ำท่วมอยู่ ตอนนี้พวกเราอาจจะอยู่ที่ไหนสักแห่ง อาจเป็นบน ที่สูงของบ้านหรือสถานที่หน่วยงานช่วยเหลือจัดไว้ให้ ช่วงนี้พวกเราอาจจะมี อาการเหม่อลอย ไม่รจะท�าอะไร มองไปทางไหนก็มแต่นาๆๆ บางคนอาจร้องไห้ ู้ ี �้ เพราะเสียใจหรือเครียดแล้วต้องการปล่อยโฮออกมา บางคนอาจเซ็ง หงุดหงิด โอ๊ยโว้ยว๊าก เพราะออกไปไหนไม่ได้ 16 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 17. อาการแบบนี้ก็ถือเป็นเรื่องปกติที่ต้องเจอครับ ให้เรา เตรยมใจไวเลยวาตองเจออารมณเหลานี้ ลองเลนเกมสกบตว ี ้ ่ ้ ์ ่ ่ ์ ั ั เองก็ได้ครับ พอเห็นตัวเองหรือใครเกิดหงุดหงิด ร้องไห้ เซ็ง เศร้า เหม่อ ก็ให้คิดเสียว่า “นั่นไง...ว่าแล้ว... เหมือนที่เค้า บอกไว้ในต�าราจริงๆ ด้วย แม่นอย่างกับตาเห็น” ประเดนคอ พยายามมองอะไรนนนตางๆ ใหสนกเขาไวครบ ถาใครเสน ็ ื ั่ ี่ ่ ้ ุ ้ ้ ั ้ ้ ลก ขายาก เครยดงาย ลองหาวธอนในการมองโลกใหมใหมองโลกแงดครบ เชอ ึ � ี ่ ิ ี ื่ ่ ้ ่ ี ั ื่ ว่ารอบกายก็มีอย่างน้อยหนึ่งอย่างที่เป็นแง่ดีแน่นอนครับ อกวธในการผอนคลายคอ นงคยกบคนในครอบครวหรอเพอนๆ ทประสบ ี ิี ่ ื ั่ ุ ั ั ื ื่ ี่ เหตุการณ์เดียวกัน โดยแต่ละคนรับฟังเรื่องราวของกันและกัน และมีกติการ่วม กันว่า จะไม่พูดขัด จะแค่รับฟังอย่างเดียว เพียงรับฟัง ง่ายๆ แบบนี้ คนพูดก็สบายใจเพราะได้ปล่อยสิ่งอัดอั้น ส่วน คนฟังก็ได้ช่วยให้คนพูดมีความสุขครับ นอกจากนี้ค�าว่า “ยังดีนะที่...” ก็ยังใช้ได้ผลครับ รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 17 20
  • 18. ส�ำหรับช่วงที่ผ่ำนภำวะน�้ำท่วมไปแล้ว ตอนนี้ เราเดินไปไหนก็ เห็นแต่ความเสียหาย เฮ้อ...ตรงนั้นก็พัง ตรงนี้ก็เสีย ตรงนู้นก็เละ เฮ้อๆๆ เกิด ความไม่สบายใจ แล้วไหนจะต่อด้วยอาการหน้านิวคิวขมวดนอนเอามือก่ายหน้า ่ ้ ผากบ่นอุบว่า แล้วอย่างนี้ชีวิตฉันจะท�ายังไงต่อไปดีเนี่ย เฮ้อๆๆ อนาคตจะเป็น ยังไงเนี่ย เฮ้อๆๆ ช่วงนี้ให้ระมัดระวังเรื่องการคิดสั้นครับ เพราะความเครียดที่ สะสมมาตลอดเวลาน�้าท่วมบวกกับความวิตกถึงอนาคตที่ยังมาไม่ถึงอีก ดังนั้นสิ่งที่เราควรท�าคือ 1. ผ่อนคลายความวิตก โดยการมองปัจจุบนแบบ ั ว่า “เอาละ ยังดีนะที่น�้าลด งั้นต่อไปฉันจะท�านู่นนี่ นั่นเพื่อซ่อมแซมใหม่ให้เหมือนเดิม” 2. สู้ต่อไป ให้คิดเสียว่า “ยังดีนะที่ไม่นั้น...ยังดีนะที่ไม่นี้” ชีวิตยังมีลมหำยใจก็ต้องสู้ต่อไปครับ ! 18 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก
  • 19. ขอให้ทุกคนมีรอยยิ้มสวยงำมแม้ใน ภำวะที่ชวนหน้ำบึ้งเช่นนี้นะครับ อย่ำลืมว่ำ “ถึงทุกข์ก็สุขได้” ครับ ขอขอบคุณ l วารสารทางด่วนศรีรัช บริษัท ทางด่วนกรุงเทพจ�ากัด (มหาชน) l กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย l แนวคิดด้านจิตวิทยาจากหนังสือเรื่อง ปลุกพลังใจสร้างไฟในตัว คุณ เขียนโดย วชิรา บุตรวัยวุฒิ และ หนังสือเรื่องถึงทุกข์ก็สุขได้ เขียนโดย พวงจิตตา l ขอบคุณคุณมลที่วาดการ์ตูนน่ารักๆ และขอบคุณผู้จัดรูปเล่ม หนังสือเล่มนี้ด้วยที่มาร่วมงานการกุศลในครั้งนี้ รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก 19 20
  • 20. ขอบคุณทุกท่ำนที่อ่ำน และแบ่งปันต่อให้คนอื่นๆ นะครับ เข้ำมำช่วยเสริมเนื้อหำหนังสือเล่มนี้ให้สมบูรณ์มำกขึ้นได้ที่ www.facebook.com/thinkbeyondcomic 20 20 รับมือน�้ำท่วมไม่ยำก