SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
คนที่มีความสุขมากที่สุดในโลก
   หนังสือ time magazine บอกว่าที่อเมริกา ได้มีงานวิจัย พบว่า คนที่มีความสุขมาก
   ที่สุดในโลก ก็คือ พระในทางพุทธศาสนา โดยทดสอบด้วยการสแกนสมองของพระที่ทา
   สมาธิ และได้ผลลัพธ์ ออกมาว่าเป็นจริง...
                                 เหตุที่ทาให้เกิดความสุข คือ อยู่กับปัจจุบันขณะ ปล่อยวางได้ในสิ่ง
                                 ที่เกิดขึ้นแล้ว ควบคุมความอยากที่ไม่มีสิ้นสุด ไม่ใช้ความรุนแรง
                                 ไม่ทะเลาะ และใช้หลัก เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร ให้อภัย
                                 ตัวเอง และผู้อื่น มีจิตใจเมตตากรุณา และเสียสละเพื่อผูอื่น
                                                                                         ้

                                 อริยะสัจ 4 สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ ประกอบด้วย ทุกข์ สมุทัย
                                 มรรค นิโรธ แท้จริงแล้วก็คือ ทางเดินไปหาคาว่า " ความสุข "
                                 เพราะถ้าเมื่อไรเรากาจัด " ความทุกข์ " ได้แล้ว ความสุขก็จะ
                                 เกิดขึ้นทันที

                                 อุปสรรคของความสุข ก็คือ แรงปรารถนา และตัณหา พระอาจารย์
                                 บอกว่า คนเราจะมีความสุขมันไม่มีขึ้นอยู่กับว่า " มีเท่าไร " แต่
        นิตยสาร TIME
                                 ขึ้นอยู่ที่ว่าเรา " พอเมื่อไร " ความสุขไม่ได้ขึ้นกับจานวนสิ่งของที่
ฉบับวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2003
                                 เรามีหรือเราได้...
คนที่มีความสุขมากที่สุดในโลก (ต่อ)
 - การมองทุกอย่างในแง่บวก ถ้าอยากจะมีความสุข ต้องเริ่มมองแต่สงดี-ดี มองให้เป็นบวก
                                                                ิ่
 - ข้อสุดท้าย คือ การให้ หมายรวมถึงการให้ในรูปแบบสิ่งของหรือเงิน เรียกว่า บริจาค และ
การให้ความเมตตา กรุณา ต่อกันให้อภัยต่อเองและคนอื่น

                                                         ความเอ๋ย ความสุข
                                                  ใครๆ ทุกคน ชอบเจ้า เฝ้าวิ่งหา
                                                     “แกก็สุข ฉันก็สุข ทุกเวลา”
                                                    แต่ดูหน้า ตาแห้ง ยังแคลงใจ
                                                   ถ้าเราเผา ตัวตัณหา ก็น่าจะสุข
                                                ถ้ามันเผา เราก็ “สุก” หรือเกรียมได้
                                                    เขาว่าสุข สุขเน้อ อย่าเห่อไป
                                                มันสุขเย็น หรือสุกไหม้ ให้แน่เอยฯ

                                                     ท่านพุทธทาสภิกขุ
                                             ขอบคุณหนังสือธรรมะ ดี-ดี ที่ชื่อว่า "พอ"
เกร็ดความรู้ คลื่นสมอง




เกร็ดความรู้

      สมองของเราประกอบด้วยเส้นใยสมองที่เรียกว่า “นิวโรน” มากมาย เซลล์ต่างๆและนิวโรน
มีการผลิตกระแสไฟฟ้าน้อยๆที่วิ่งไปมาระหว่างระหว่างประจุบวกและลบบนนิวโรนเหล่านี้ ซึ่งรวมกัน
แล้วทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือคลื่นสมอง มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับขบวนความคิดและ
ความรู้สึกตัวของเรา

      ปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดรู้จริงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณและคุณภาพของข้อมูลต่อปริมาณ
กระแสไฟฟ้าเหล่านี้ แต่สาหรับบุคคลที่มีสมาธิดีนั้นจักสามารถจัดกระบวนการคิดได้เป็นเรื่อง
เป็นราว จนผลรวมของกระแสไฟฟ้าดังกล่าวจะมีความชัดเจนส่งผลให้ สนามแม่เหล็ก
(คลื่นสมอง) ที่เกิดขึ้นมีความเข้มขึ้นตามกันไป ดังนั้นการใช้ประโยชน์จากคลื่นสมองจึงต้องมี
การฝึกให้ผู้ใช้งานรู้จักขบวนการสร้างกิจกรรมจากความนึกคิดของตน มีผู้รู้หลายท่านเชื่อว่าคลื่น
สมองเหล่านี้นี้แหละที่ทาให้มนุษย์เราเกิดความรู้สึกตัว (Consciousness) นั่นเอง
การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร                                      (งานวิจัย#1)
                                 งานของ Richard Davidson แห่งมหาวิทยาลัย วิสคอนซินเมดิสัน สหรัฐอเมริกา
                                 - ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างสมองกับการทาสมาธิ
                                 - ค้นพบว่าสมองของเรานั้นประกอบด้วยเซลล์จานวนมาก แต่ละเซลล์นั้นได้สร้าง
                                 กระแสไฟฟ้าเล็กๆขึ้น ซึงรวมกันแล้วทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือคลื่นสมอง ซึ่ง
                                                       ่
                                 เปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของจิตหรือของอารมณ์

                                 การศึกษาได้เปรียบเทียบการทางานของสมองของพระภิกษุทเบต จานวน 8 รูป
                                                                                      ิ
                                 อายุเฉลี่ย 49 ปี ประสบการณ์ในการนังสมาธิ 15-40 ปี นับเป็นชั่วโมง
                                                                   ่
                                 มากกว่า 10,000 ชั่วโมง

                                 กับ  กลุ่มนักศึกษาอายุเฉลี่ย 21 ปี จานวน 10 คน ซึงส่วนใหญ่ไม่เคยมี
                                                                                  ่
                                 ประสบการณ์ในการทาสมาธิ แต่ได้รับการอบรมเรื่องการทาสมาธิเพียง 1
                                 สัปดาห์ก่อนการทดลอง

                                 ผู้วิจัยใช้เครื่อง EEG - Electroencephalogram machines วัดระดับ
                                 คลื่นแกมมา ซึ่งคลืนดังกล่าวแสดงผลรวมไปถึงการทางานของสมองส่วนที่
                                                      ่
                                 ควบคุมด้านความรู้สก และ จิตใจ ความทรงจาเกี่ยวกับเรื่องการงาน และ การ
                                                        ึ
                                 เรียนรู้การเข้าใจ
      จากนิตยสาร TIME
ฉบับวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2003
การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร                                  (งานวิจัย#1)

                                                      ผลการวิจัยพบว่า
                                                      1.   ในช่วงก่อนการทาสมาธิ กลุ่มพระภิกษุมีคลื่น
                                                           สมองแกมมาในระดับสูงกว่า กลุ่มนักศึกษา
                                                           แสดงให้เห็นว่า สมองได้มีการพัฒนา
นักศึกษา                                 พระทิเบต          อย่างถาวร หากได้ฝึกทาสมาธิ
                                                           ติดต่อกันมาเป็นเวลานาน
                                                      2.   คลื่นสมองแกมมานีจะยิงสูงขึ้น และยิงเห็น
                                                                              ้ ่                 ่
                                                           ความแตกต่างกันมากขึ้น ระหว่างการนัง      ่
                                                           สมาธิ เป็นคลื่นระดับที่สูงที่สุดตังแต่เคยมีการ
                                                                                             ้
                                                           สารวจคลืนสมองมา ไม่เพียงเท่านัน กลุ่ม
                                                                    ่                          ้
                                                           ดังกล่าวต่อมาก็ยังมีการพัฒนาอยู่เรื่อยๆเช่น
                                                           พัฒนาด้านความรู้สึกที่เป็นสุข
จากการทดลอง พบว่า สิ่งที่เป็นตัวแปรสาคัญคือ ระยะเวลาประสบการณ์ในการฝึกสมาธิ และปัจจัยสาคัญหนึงที่
                                                                                             ่
ต้องทาการศึกษากันต่อไปก็คือ กระบวนการทางานของสมองที่ได้เปลี่ยนแปลงไปนันเป็นเพราะการฝึกสมาธิมาเป็น
                                                                      ้
เวลานาน หรือ เป็นความสามารถเฉพาะตัวของแต่ละคนก่อนที่จะได้รับการฝึก
การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร                               (งานวิจัย#1)


                                                     ภาพแสดงผลการทดลองของ Richard
                                                     Davidson


                                                     (กราฟบน) ระหว่างการนั่งสมาธิ พระทิเบต
                                                     เหล่านี้สามารถเพิ่มคลื่นแกมมาเป็นสองเท่า
นักศึกษา                                 พระทิเบต    (ดอกจันสีดา) หรือสามเท่า (ดอกจันสีส้ม)
                                                     จากช่วงก่อนทาสมาธิ




รูปด้านล่าง แสดงถึงพื้นที่สมองที่เกิดคลื่นแกมมา
นักศึกษาที่เพิ่งเรียนรู้ถึงวิธีนงสมาธิถือเป็นกลุ่มควบคุม (รูปล่างซ้าย) แสดงให้เห็นว่ามีคลื่น
                                ั่
แกมมาเกิดขึ้นน้อยมากเมื่อเทียบกับพระทิเบต (รูปล่างขวา)

(ที่มา : http://www.bloggang.com/data/duen/picture/1174382749.jpg)
บทความเรื่อง “The Science of Meditation”
                                            “คนอเมริกันมากกว่าสิบล้านคน นังสมาธิอย่างสม่าเสมอ ซึ่ง
                                                                             ่
                                 เพิ่มเป็นสองเท่าของเมื่อสิบปีก่อน สถานทีหลายแห่งในนิวยอร์ก
                                                                         ่
                                 เปลี่ยนเป็นทีนั่งสมาธิ จนมีการเรียกสถานที่เหล่านันว่า เป็น “แถบของ
                                              ่                                   ้
                                 ชาวพุทธ (Buddhist Belt)” นักเรียนนังสมาธิก่อนเข้าห้องเรียนทุก
                                                                           ่
                                 เช้า นักกฎหมาย นักธุรกิจ คนทางานสาขาอาชีพต่าง ๆ นังสมาธิ ตามที่
                                                                                         ่
                                 หน่วยงานของตนจัดไว้อย่างสม่าเสมอ ดารา นักการเมือง นักเขียน ต่างก็
                                 นังสมาธิ คนเหล่านีนงสมาธิ เพราะเชื่อว่าช่วยทาให้รางกายและจิตใจ
                                   ่                ้ ั่                            ่
                                 ผ่อนคลาย สุขภาพจิตดีขึ้น

                                          แพทย์ก็แนะนาให้คนไข้นงสมาธิ ผลการทดลองการสแกนคลืน
                                                                     ั่                            ่
                                 สมอง พบว่า สมองส่วนควบคุมด้านอารมณ์และความจาดีขน ทาให้อัตรา
                                                                                           ึ้
                                 การเต้นของหัวใจ ลมหายใจ และการเผาผลาญในร่างกายเป็นปกติ
                                 รวมถึงช่วยทาให้รางกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้มากขึน สามารถรักษาโรค
                                                     ่                             ้
                                 ร้ายแรงเรื้อรังได้ เช่น โรคหัวใจ เอดส์ มะเร็ง ความดันโลหิตสูง โรคใจสัน ่
        นิตยสาร TIME
                                 และสมาธิจะช่วยรักษาจิตใจที่ปนป่วน กดดัน สมาธิสน วุ่นวายไม่อยู่นง
                                                                  ั่                 ั้              ิ่
ฉบับวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2003
                                 ของคนไข้ได้ และนักเขียนที่เคยกินยาแก้เครียดมาเกือบจะตลอดชีวิต
                                 เมื่อนั่งสมาธิก็ไม่จาเป็นต้องพึงยาอีกต่อไป”
                                                                ่
การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร
   สาหรับการใช้เครื่อง Electroencephalograms (EEG) วัดระดับคลื่นสมองของมนุษย์นั้น
   สามารถแบ่งระดับของคลื่นสมองของมนุษย์ได้ 4 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
                                                                         1. เบต้า (Beta) มีจังหวะรวดเร็วไม่สม่าเสมอ
                                                                            บอกถึงความสับสนวุ่นวายทางความคิด เป็น
                                                                            สภาวะของคนปกติทั่วไป

                                                                          2. แอลฟา (Alpha) โค้งเป็นคลื่น มีขนาดใหญ่
                                                                              กว่า มีจังหวะช้ากว่า และมีพลังงานมากกว่า
                                                                              คลื่นเบต้า บอกถึงความสงบนิ่ง และมีสมาธิ ผู้ที่
                                                                              มีจิตใจสงบเยือกเย็นหรือผู้ที่เริ่มทาการฝึก
                                                                              สมาธิจะมีคลื่นสมองลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้น มี
                                                                              ความคิดสร้างสรรค์ เป็นสภาวะที่จิตมี
                                                                              ประสิทธิภาพสูง

    3. เธต้า (Theta) เมื่อคลื่นแอลฟามีจังหวะช้าลงและมีพลังงานสูงขึ้น สมองจะส่งเป็นคลื่นเธต้าออกมาแต่จะเป็นเพียงช่วง
สั้นๆ เท่านั้น สมองมักจะปรากฏคลื่นนี้เมื่อร่างกายอยู่ในภาวะครึ่งหลับครึ่งตื่น และอาจเกิดได้บ่อยขึ้นเมื่อมีการฝึกจิตสูงขึ้น

    4. เดลต้า (Delta) เป็นคลื่นสมองที่เกิดขึ้นขณะนอนหลับลึก มีความถี่ต่าสุดแต่มีพลังงานสูง มีลักษณะนิ่งเป็นเส้นตรง และ
เป็นประโยชน์ต่อส่วนความจาของสมองมาก หากฝึกสมาธิขั้นสูง มีจตใจสงบ ความคิดไม่วนวายก็จะมีโอกาสเกิดคลื่นชนิดนี้ได้
                                                            ิ                    ุ่
มากกว่าคนอื่น
การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร

                            ในบางตาราจะจัดให้มี คลื่นแบบที่ 5 เรียกว่า คลื่นคอสมิก

                            โดยในหนังสือ “รู้ตัว รู้ใจ ก็ไปนิพพาน”
                            โดย พระธรรมวิสุทธิกวี หรือ พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ)
                            เรื่องสมาธิในการรักษาโรค

                            ได้เปรียบเทียบคลื่นของสมองกับระดับของการฝึกสมาธิไว้ ดังนี้


1. คลื่นเบต้า คือ คลื่นสมองของคนที่ไม่ได้ฝึกสมาธิ ซึ่งก็คือปุถุชนธรรมดา

2. คลื่นอัลฟา คือ คลื่นสมองของคนที่เริ่มฝึกสมาธิแบบ “ขณิกสมาธิ” (คือสมาธิที่เป็นไปชั่วคราว)

3. คลื่นเธต้า คือ คลื่นสมองของคนที่จิตสงบมากจนเกือบถึงขั้นจะเป็น “อุปจารสมาธิ”

4. คลื่นเดลต้า คือ คลื่นสมองของคนทีมีจิตสงบมากขึน
                                   ่            ้

5. คลื่นคอสมิก คือ คลื่นสมองของคนทีมีจิตใจสงบมากเทียบได้กับระดับ “อัปปนาสมาธิ”
                                   ่
ประโยชน์ของการทาให้คลื่นสมอง Brain Wave มีความถี่ต่า

คลื่นสมองที่อยู่ในระดับ Alpha Brainwave ( ความถี่ระหว่าง 8 – 13 Hz )
ทาให้เป็นคนจิตใจสงบ เยือกเย็น สุขุม มีอารมณ์ดี เบิกบาน ความคิดสร้างสรรค์สูง สมาธิสูง มี
ความจาดี และมีพลังความคิดด้านบวกสูง มองโลกในแง่ดี มักพบในนักบวช พระสงฆ์ ผู้ปฏิบัติธรรม
ผู้ที่กาลังมีความสุข ผู้ที่กาลังสวดมนต์
วิธีการทาให้คลื่นสมอง Brain Wave มีความถี่ต่า

1.   การฟังดนตรีปรับคลืนสมองต่า โดยการฟังเพลงหรือดนตรีทมีท่วงทานองซึงส่งผลต่อคลื่นสมองให้
                           ่                           ี่           ่
     ต่าลง (หรือที่เรียกว่า Celestial Kiirtan)

2. โยคะ วิธีการปฏิบัติเพื่อพัฒนาจิตใจ มีพื้นฐานอยู่บนหลักของโยคะศาสตร์ (โยคะ แปลว่า UNION
   หรือความเป็นอันหนึงอันเดียวกัน)
                       ่

3. สมาธิ กระบวนการปฏิบัติทางจิตใจ ระหว่างการทาสมาธิควรหลับตา หายใจลึก ๆ ช้า ๆ และผ่อน
   คลายทุกส่วนในร่างกาย

4. การอยู่ทามกลางหรือใกล้ชิดธรรมชาติ อาทิ ต้นไม้ พืชพันธุ์ ทะเล น้าตก ภูเขา
           ่
คุณประโยชน์ของการปฏิบัตินั่งสมาธิ
1. ทางร่างกาย
1.1 อัตราการหายใจลดลง คาร์บอนไดออกไซด์น้อยลง เป็นผลดีตอปอด        ่
1.2 อัตราเต้นของหัวใจน้อยลงเป็นผลดีตอหัวใจ ่
1.3 ปริมาณ กรดแลคเตท ในเลือด ซึ่งเกี่ยวกับความคิด ความวิตกกังวล จะลดลงเป็นลาดับทาให้คิดรอบคอบมากขึ้น
ก่อนที่จะทาอะไรลงไป
1.4 เลือดจะมีความเป็นกรดสูงขึ้นเล็กน้อย แสดงถึงสุขภาพที่ดี
1.5 คลื่นสมองของผูนั่งสมาธิ จะมีความราบเรียบ และทิ้งช่วงห่างมากกว่าผู้ที่นอนหลับปกติ
                         ้
1.6 ความต้านทานของผิวหนังสูงขึ้นทันทีที่เริ่มมีสมาธิ
1.7 อายุยืน
2. ทางจิตใจ
2.1 ทาให้ลดทิฐิ ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตนเอง
2.2 ทาให้จิตใจได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ผ่องใส เกิดความสงบเยือกเย็น
2.3 ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการศึกษาเล่าเรียนและในการทางานต่าง ๆ
2.4 ทาให้เป็นผู้มีความเมตตากรุณา และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
2.5 เป็นผู้ที่มีสติ ไม่หลงลืม มีความรู้สึกตัวอยู่เสมอว่า กาลังทาอะไรอยู่
2.6 เป็นผู้มีศีล คือทาดี ไม่ทาชั่ว
2.7 ทาให้เป็นผู้ที่มีจิตใจมั่นคง
2.8 ทาให้เป็นผู้มีปัญญา คือ รอบรู้ในสิ่งต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์และโทษภัยต่าง ๆ
2.9 เป็นกุศล นาไปสูสุคติ ไม่ตกไปสู่อบาย
                       ่
การทาสมาธิมีผลกับสมองอย่างไร                                  (งานวิจัย#2)

Luders และคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย UCLA
ได้รายงานไว้ในวารสาร NeuroImage เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2009
เกี่ยวกับการใช้เครื่องถ่ายภาพแม่เหล็กกาทอน (magnetic resonance imaging : MRI)
สแกนสมองของผู้ร่วมการทดลอง 44 คน

โดย 22 คน ไม่เคยฝึกการทาสมาธิ
และอีก 22 คน ผ่านการฝึกสมาธิแบบต่างๆ มาแล้ว เช่น เซ็น, สมถะ และ วิปัสสนา ประสบการณ์ในการทาสมาธิอยู่
ระหว่าง 5-46 ปี เฉลียที่ 24 ปี ซึ่งส่วนใหญ่ทาสมาธิทุกวัน วันละ 10-90 นาที
                    ่

พบว่า การทาสมาธิจะส่งผลให้สมองส่วน hippocampus, สมองภายในส่วน orbito-frontal cortex ,
ส่วน thalamus และ inferior temporal gyrus ของกลุ่มผู้นงสมาธิมีขนาดใหญ่กว่าสมองของผู้ที่ไม่
                                                             ั่
มีประสบการณ์การทาสมาธิเลย โดยสมองในส่วนดังกล่าวข้างต้น จะทาหน้าที่ควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก และส่งผล
ให้ผู้ฝึกทาสมาธิเป็นคนอารมณ์ดี มีสติและมีความมั่นคงทางอารมณ์
การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร                                       (งานวิจัย#3)
งานวิจัยของ Luders และคณะสอดคล้องกับ
งานวิจัยของ Sara Lazar และคณะจากโรงเรียนแพทย์ Harvard
ที่ใช้การถ่ายภาพแม่เหล็กกาทอน (magnetic resonance imaging, MRI)

ทดสอบกับสมองของคนจานวน 15 คนที่ไม่เคยฝึกนังสมาธิมาก่อน
                                          ่
กับคนที่ฝกนังสมาธิแบบพุทธศาสนาจานวน 20 คน
         ึ ่

พวกเขาพบว่าพื้นที่สมองที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและประมวลผลทางการรับสัมผัสในคนที่ฝกนังสมาธิจะหนา
                                                                                          ึ ่
กว่าคนไม่ฝึกนังสมาธิ ความหนาขึ้นที่เห็นได้ชัดเจนจะพบได้ในคนนั่งสมาธิที่อายุมากในส่วนเปลือกสมองชั้นนอก
              ่
(outer cortex) ที่เชือกันว่าเกียวข้องกับการประมวลผลด้านอารมณ์และการรับรู้ให้สมบูรณ์ขึ้น
                      ่          ่

สิ่งนี้บ่งชี้ว่าการฝึกนั่งสมาธิอย่างสม่าเสมออาจจะช่วยลดการบางลงของพืนที่สมองทีมีความสาคัญในการรับรู้
                                                                    ้         ่
และการประมวลผลด้านอารมณ์เมื่ออายุมากขึ้นได้

ดังนั้น การทาสมาธิเป็นประจา สามารถช่วยพัฒนาสมองในส่วนทีมีความสาคัญต่อความคิด ความเข้าใจ การจัดการ
                                                       ่
อารมณ์ความรู้สึกและความสงบสุขของชีวิตได้ การทาสมาธิ นอกจากจะทาให้เกิดผลดีทางจิตใจแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อ
ร่างกายด้วย
ผลจากการศึกษาของนักวิจัยยืนยันว่า กลุ่มตัวอย่างที่ฝึกสมาธิเพียงช่วงเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 10 นาที มี
  คลื่นสมองแบบแอลฟา เกิดขึ้น ซึ่งเป็นคลื่นสมองของความผ่อนคลายในระดับที่สูงขึ้น ช่วยลดความ
  วิตกกังวล คลายความหม่นหมองในจิตใจลงได้

        ดังนั้น การทาสมาธิเพื่อให้เกิดผลดีต่อร่างกายและจิตใจ จึงไม่ใช่เรื่องยากและใช้เวลา
  มากมายอย่างที่คิด ขอให้เริ่มต้นหลับตา พิจารณาลมหายใจเข้าออก ภาวนาหรือสวดมนต์ตามที่
  เหมาะกับตนเอง ปฏิบัติทุกวัน อย่างน้อยวันละ 10 นาที สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น เป็นสิ่งที่
  บุคคลผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นและรู้ได้ด้วยตนเองว่า สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ถูกต้องเพียงใด ขอเป็น
  กาลังใจให้ทุกคนลงมือทาสมาธิ ตั้งแต่วันนี้และตลอดไป


หมายเหตุ :: บทความนี้ เรียบเรียงโดย นายศักดิ์อนันต์ อนันตสุข
เอกสารอ้างอิง
1. Meditation increases brain gray matter. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.physorg.com/news161355537.html
2. Meditation found to increase brain size. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.physorg.com/news10312.html
3.The science of meditation. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้
จาก http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1005349,00.html
#ixzz1XdL0L7fy
4. Neuroscience Quarterly : FY 2006 Annual Progress Report. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้จาก
http://www.sfn.org/skins/main/pdf/nq/fall_06.pdf
5. Brain waves-science of meditation. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 14 กันยายน 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.chicministry.com/print_t2article.html
6. Enhance Your Life And Mind In As Little As 10 Minutes A Day. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 14 กันยายน 2554] : เข้าถึงได้จาก
http://www.finerminds.com/meditation/meditate-enhance-life-and-mind/
7. เคล็ดลับของการเพิ่มพลังปัญญาด้วยตนเอง.[ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 23 กันยายน 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.vcharkarn.com/vcafe/109978

Contenu connexe

Tendances

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7tassanee chaicharoen
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์Thanawut Rattanadon
 
ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemพัน พัน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Tendances (20)

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7แผนการเรียนรู้ที่ 7
แผนการเรียนรู้ที่ 7
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
หน้าที่และบทบาท
หน้าที่และบทบาทหน้าที่และบทบาท
หน้าที่และบทบาท
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
การโต้วาที
การโต้วาทีการโต้วาที
การโต้วาที
 
ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory system
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 

En vedette

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์Prachyanun Nilsook
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 

En vedette (14)

พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 

Similaire à สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์

จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2maymymay
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 

Similaire à สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์ (20)

จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 

สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์

  • 1. คนที่มีความสุขมากที่สุดในโลก หนังสือ time magazine บอกว่าที่อเมริกา ได้มีงานวิจัย พบว่า คนที่มีความสุขมาก ที่สุดในโลก ก็คือ พระในทางพุทธศาสนา โดยทดสอบด้วยการสแกนสมองของพระที่ทา สมาธิ และได้ผลลัพธ์ ออกมาว่าเป็นจริง... เหตุที่ทาให้เกิดความสุข คือ อยู่กับปัจจุบันขณะ ปล่อยวางได้ในสิ่ง ที่เกิดขึ้นแล้ว ควบคุมความอยากที่ไม่มีสิ้นสุด ไม่ใช้ความรุนแรง ไม่ทะเลาะ และใช้หลัก เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร ให้อภัย ตัวเอง และผู้อื่น มีจิตใจเมตตากรุณา และเสียสละเพื่อผูอื่น ้ อริยะสัจ 4 สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ ประกอบด้วย ทุกข์ สมุทัย มรรค นิโรธ แท้จริงแล้วก็คือ ทางเดินไปหาคาว่า " ความสุข " เพราะถ้าเมื่อไรเรากาจัด " ความทุกข์ " ได้แล้ว ความสุขก็จะ เกิดขึ้นทันที อุปสรรคของความสุข ก็คือ แรงปรารถนา และตัณหา พระอาจารย์ บอกว่า คนเราจะมีความสุขมันไม่มีขึ้นอยู่กับว่า " มีเท่าไร " แต่ นิตยสาร TIME ขึ้นอยู่ที่ว่าเรา " พอเมื่อไร " ความสุขไม่ได้ขึ้นกับจานวนสิ่งของที่ ฉบับวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2003 เรามีหรือเราได้...
  • 2. คนที่มีความสุขมากที่สุดในโลก (ต่อ) - การมองทุกอย่างในแง่บวก ถ้าอยากจะมีความสุข ต้องเริ่มมองแต่สงดี-ดี มองให้เป็นบวก ิ่ - ข้อสุดท้าย คือ การให้ หมายรวมถึงการให้ในรูปแบบสิ่งของหรือเงิน เรียกว่า บริจาค และ การให้ความเมตตา กรุณา ต่อกันให้อภัยต่อเองและคนอื่น ความเอ๋ย ความสุข ใครๆ ทุกคน ชอบเจ้า เฝ้าวิ่งหา “แกก็สุข ฉันก็สุข ทุกเวลา” แต่ดูหน้า ตาแห้ง ยังแคลงใจ ถ้าเราเผา ตัวตัณหา ก็น่าจะสุข ถ้ามันเผา เราก็ “สุก” หรือเกรียมได้ เขาว่าสุข สุขเน้อ อย่าเห่อไป มันสุขเย็น หรือสุกไหม้ ให้แน่เอยฯ ท่านพุทธทาสภิกขุ ขอบคุณหนังสือธรรมะ ดี-ดี ที่ชื่อว่า "พอ"
  • 3. เกร็ดความรู้ คลื่นสมอง เกร็ดความรู้ สมองของเราประกอบด้วยเส้นใยสมองที่เรียกว่า “นิวโรน” มากมาย เซลล์ต่างๆและนิวโรน มีการผลิตกระแสไฟฟ้าน้อยๆที่วิ่งไปมาระหว่างระหว่างประจุบวกและลบบนนิวโรนเหล่านี้ ซึ่งรวมกัน แล้วทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือคลื่นสมอง มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับขบวนความคิดและ ความรู้สึกตัวของเรา ปัจจุบันยังไม่มีผู้ใดรู้จริงถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณและคุณภาพของข้อมูลต่อปริมาณ กระแสไฟฟ้าเหล่านี้ แต่สาหรับบุคคลที่มีสมาธิดีนั้นจักสามารถจัดกระบวนการคิดได้เป็นเรื่อง เป็นราว จนผลรวมของกระแสไฟฟ้าดังกล่าวจะมีความชัดเจนส่งผลให้ สนามแม่เหล็ก (คลื่นสมอง) ที่เกิดขึ้นมีความเข้มขึ้นตามกันไป ดังนั้นการใช้ประโยชน์จากคลื่นสมองจึงต้องมี การฝึกให้ผู้ใช้งานรู้จักขบวนการสร้างกิจกรรมจากความนึกคิดของตน มีผู้รู้หลายท่านเชื่อว่าคลื่น สมองเหล่านี้นี้แหละที่ทาให้มนุษย์เราเกิดความรู้สึกตัว (Consciousness) นั่นเอง
  • 4. การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร (งานวิจัย#1) งานของ Richard Davidson แห่งมหาวิทยาลัย วิสคอนซินเมดิสัน สหรัฐอเมริกา - ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างสมองกับการทาสมาธิ - ค้นพบว่าสมองของเรานั้นประกอบด้วยเซลล์จานวนมาก แต่ละเซลล์นั้นได้สร้าง กระแสไฟฟ้าเล็กๆขึ้น ซึงรวมกันแล้วทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือคลื่นสมอง ซึ่ง ่ เปลี่ยนไปตามความเปลี่ยนแปลงของจิตหรือของอารมณ์ การศึกษาได้เปรียบเทียบการทางานของสมองของพระภิกษุทเบต จานวน 8 รูป ิ อายุเฉลี่ย 49 ปี ประสบการณ์ในการนังสมาธิ 15-40 ปี นับเป็นชั่วโมง ่ มากกว่า 10,000 ชั่วโมง กับ กลุ่มนักศึกษาอายุเฉลี่ย 21 ปี จานวน 10 คน ซึงส่วนใหญ่ไม่เคยมี ่ ประสบการณ์ในการทาสมาธิ แต่ได้รับการอบรมเรื่องการทาสมาธิเพียง 1 สัปดาห์ก่อนการทดลอง ผู้วิจัยใช้เครื่อง EEG - Electroencephalogram machines วัดระดับ คลื่นแกมมา ซึ่งคลืนดังกล่าวแสดงผลรวมไปถึงการทางานของสมองส่วนที่ ่ ควบคุมด้านความรู้สก และ จิตใจ ความทรงจาเกี่ยวกับเรื่องการงาน และ การ ึ เรียนรู้การเข้าใจ จากนิตยสาร TIME ฉบับวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2003
  • 5. การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร (งานวิจัย#1) ผลการวิจัยพบว่า 1. ในช่วงก่อนการทาสมาธิ กลุ่มพระภิกษุมีคลื่น สมองแกมมาในระดับสูงกว่า กลุ่มนักศึกษา แสดงให้เห็นว่า สมองได้มีการพัฒนา นักศึกษา พระทิเบต อย่างถาวร หากได้ฝึกทาสมาธิ ติดต่อกันมาเป็นเวลานาน 2. คลื่นสมองแกมมานีจะยิงสูงขึ้น และยิงเห็น ้ ่ ่ ความแตกต่างกันมากขึ้น ระหว่างการนัง ่ สมาธิ เป็นคลื่นระดับที่สูงที่สุดตังแต่เคยมีการ ้ สารวจคลืนสมองมา ไม่เพียงเท่านัน กลุ่ม ่ ้ ดังกล่าวต่อมาก็ยังมีการพัฒนาอยู่เรื่อยๆเช่น พัฒนาด้านความรู้สึกที่เป็นสุข จากการทดลอง พบว่า สิ่งที่เป็นตัวแปรสาคัญคือ ระยะเวลาประสบการณ์ในการฝึกสมาธิ และปัจจัยสาคัญหนึงที่ ่ ต้องทาการศึกษากันต่อไปก็คือ กระบวนการทางานของสมองที่ได้เปลี่ยนแปลงไปนันเป็นเพราะการฝึกสมาธิมาเป็น ้ เวลานาน หรือ เป็นความสามารถเฉพาะตัวของแต่ละคนก่อนที่จะได้รับการฝึก
  • 6. การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร (งานวิจัย#1) ภาพแสดงผลการทดลองของ Richard Davidson (กราฟบน) ระหว่างการนั่งสมาธิ พระทิเบต เหล่านี้สามารถเพิ่มคลื่นแกมมาเป็นสองเท่า นักศึกษา พระทิเบต (ดอกจันสีดา) หรือสามเท่า (ดอกจันสีส้ม) จากช่วงก่อนทาสมาธิ รูปด้านล่าง แสดงถึงพื้นที่สมองที่เกิดคลื่นแกมมา นักศึกษาที่เพิ่งเรียนรู้ถึงวิธีนงสมาธิถือเป็นกลุ่มควบคุม (รูปล่างซ้าย) แสดงให้เห็นว่ามีคลื่น ั่ แกมมาเกิดขึ้นน้อยมากเมื่อเทียบกับพระทิเบต (รูปล่างขวา) (ที่มา : http://www.bloggang.com/data/duen/picture/1174382749.jpg)
  • 7. บทความเรื่อง “The Science of Meditation” “คนอเมริกันมากกว่าสิบล้านคน นังสมาธิอย่างสม่าเสมอ ซึ่ง ่ เพิ่มเป็นสองเท่าของเมื่อสิบปีก่อน สถานทีหลายแห่งในนิวยอร์ก ่ เปลี่ยนเป็นทีนั่งสมาธิ จนมีการเรียกสถานที่เหล่านันว่า เป็น “แถบของ ่ ้ ชาวพุทธ (Buddhist Belt)” นักเรียนนังสมาธิก่อนเข้าห้องเรียนทุก ่ เช้า นักกฎหมาย นักธุรกิจ คนทางานสาขาอาชีพต่าง ๆ นังสมาธิ ตามที่ ่ หน่วยงานของตนจัดไว้อย่างสม่าเสมอ ดารา นักการเมือง นักเขียน ต่างก็ นังสมาธิ คนเหล่านีนงสมาธิ เพราะเชื่อว่าช่วยทาให้รางกายและจิตใจ ่ ้ ั่ ่ ผ่อนคลาย สุขภาพจิตดีขึ้น แพทย์ก็แนะนาให้คนไข้นงสมาธิ ผลการทดลองการสแกนคลืน ั่ ่ สมอง พบว่า สมองส่วนควบคุมด้านอารมณ์และความจาดีขน ทาให้อัตรา ึ้ การเต้นของหัวใจ ลมหายใจ และการเผาผลาญในร่างกายเป็นปกติ รวมถึงช่วยทาให้รางกายสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้มากขึน สามารถรักษาโรค ่ ้ ร้ายแรงเรื้อรังได้ เช่น โรคหัวใจ เอดส์ มะเร็ง ความดันโลหิตสูง โรคใจสัน ่ นิตยสาร TIME และสมาธิจะช่วยรักษาจิตใจที่ปนป่วน กดดัน สมาธิสน วุ่นวายไม่อยู่นง ั่ ั้ ิ่ ฉบับวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 2003 ของคนไข้ได้ และนักเขียนที่เคยกินยาแก้เครียดมาเกือบจะตลอดชีวิต เมื่อนั่งสมาธิก็ไม่จาเป็นต้องพึงยาอีกต่อไป” ่
  • 8. การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร สาหรับการใช้เครื่อง Electroencephalograms (EEG) วัดระดับคลื่นสมองของมนุษย์นั้น สามารถแบ่งระดับของคลื่นสมองของมนุษย์ได้ 4 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1. เบต้า (Beta) มีจังหวะรวดเร็วไม่สม่าเสมอ บอกถึงความสับสนวุ่นวายทางความคิด เป็น สภาวะของคนปกติทั่วไป 2. แอลฟา (Alpha) โค้งเป็นคลื่น มีขนาดใหญ่ กว่า มีจังหวะช้ากว่า และมีพลังงานมากกว่า คลื่นเบต้า บอกถึงความสงบนิ่ง และมีสมาธิ ผู้ที่ มีจิตใจสงบเยือกเย็นหรือผู้ที่เริ่มทาการฝึก สมาธิจะมีคลื่นสมองลักษณะเช่นนี้เกิดขึ้น มี ความคิดสร้างสรรค์ เป็นสภาวะที่จิตมี ประสิทธิภาพสูง 3. เธต้า (Theta) เมื่อคลื่นแอลฟามีจังหวะช้าลงและมีพลังงานสูงขึ้น สมองจะส่งเป็นคลื่นเธต้าออกมาแต่จะเป็นเพียงช่วง สั้นๆ เท่านั้น สมองมักจะปรากฏคลื่นนี้เมื่อร่างกายอยู่ในภาวะครึ่งหลับครึ่งตื่น และอาจเกิดได้บ่อยขึ้นเมื่อมีการฝึกจิตสูงขึ้น 4. เดลต้า (Delta) เป็นคลื่นสมองที่เกิดขึ้นขณะนอนหลับลึก มีความถี่ต่าสุดแต่มีพลังงานสูง มีลักษณะนิ่งเป็นเส้นตรง และ เป็นประโยชน์ต่อส่วนความจาของสมองมาก หากฝึกสมาธิขั้นสูง มีจตใจสงบ ความคิดไม่วนวายก็จะมีโอกาสเกิดคลื่นชนิดนี้ได้ ิ ุ่ มากกว่าคนอื่น
  • 9. การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร ในบางตาราจะจัดให้มี คลื่นแบบที่ 5 เรียกว่า คลื่นคอสมิก โดยในหนังสือ “รู้ตัว รู้ใจ ก็ไปนิพพาน” โดย พระธรรมวิสุทธิกวี หรือ พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ) เรื่องสมาธิในการรักษาโรค ได้เปรียบเทียบคลื่นของสมองกับระดับของการฝึกสมาธิไว้ ดังนี้ 1. คลื่นเบต้า คือ คลื่นสมองของคนที่ไม่ได้ฝึกสมาธิ ซึ่งก็คือปุถุชนธรรมดา 2. คลื่นอัลฟา คือ คลื่นสมองของคนที่เริ่มฝึกสมาธิแบบ “ขณิกสมาธิ” (คือสมาธิที่เป็นไปชั่วคราว) 3. คลื่นเธต้า คือ คลื่นสมองของคนที่จิตสงบมากจนเกือบถึงขั้นจะเป็น “อุปจารสมาธิ” 4. คลื่นเดลต้า คือ คลื่นสมองของคนทีมีจิตสงบมากขึน ่ ้ 5. คลื่นคอสมิก คือ คลื่นสมองของคนทีมีจิตใจสงบมากเทียบได้กับระดับ “อัปปนาสมาธิ” ่
  • 10. ประโยชน์ของการทาให้คลื่นสมอง Brain Wave มีความถี่ต่า คลื่นสมองที่อยู่ในระดับ Alpha Brainwave ( ความถี่ระหว่าง 8 – 13 Hz ) ทาให้เป็นคนจิตใจสงบ เยือกเย็น สุขุม มีอารมณ์ดี เบิกบาน ความคิดสร้างสรรค์สูง สมาธิสูง มี ความจาดี และมีพลังความคิดด้านบวกสูง มองโลกในแง่ดี มักพบในนักบวช พระสงฆ์ ผู้ปฏิบัติธรรม ผู้ที่กาลังมีความสุข ผู้ที่กาลังสวดมนต์
  • 11. วิธีการทาให้คลื่นสมอง Brain Wave มีความถี่ต่า 1. การฟังดนตรีปรับคลืนสมองต่า โดยการฟังเพลงหรือดนตรีทมีท่วงทานองซึงส่งผลต่อคลื่นสมองให้ ่ ี่ ่ ต่าลง (หรือที่เรียกว่า Celestial Kiirtan) 2. โยคะ วิธีการปฏิบัติเพื่อพัฒนาจิตใจ มีพื้นฐานอยู่บนหลักของโยคะศาสตร์ (โยคะ แปลว่า UNION หรือความเป็นอันหนึงอันเดียวกัน) ่ 3. สมาธิ กระบวนการปฏิบัติทางจิตใจ ระหว่างการทาสมาธิควรหลับตา หายใจลึก ๆ ช้า ๆ และผ่อน คลายทุกส่วนในร่างกาย 4. การอยู่ทามกลางหรือใกล้ชิดธรรมชาติ อาทิ ต้นไม้ พืชพันธุ์ ทะเล น้าตก ภูเขา ่
  • 12. คุณประโยชน์ของการปฏิบัตินั่งสมาธิ 1. ทางร่างกาย 1.1 อัตราการหายใจลดลง คาร์บอนไดออกไซด์น้อยลง เป็นผลดีตอปอด ่ 1.2 อัตราเต้นของหัวใจน้อยลงเป็นผลดีตอหัวใจ ่ 1.3 ปริมาณ กรดแลคเตท ในเลือด ซึ่งเกี่ยวกับความคิด ความวิตกกังวล จะลดลงเป็นลาดับทาให้คิดรอบคอบมากขึ้น ก่อนที่จะทาอะไรลงไป 1.4 เลือดจะมีความเป็นกรดสูงขึ้นเล็กน้อย แสดงถึงสุขภาพที่ดี 1.5 คลื่นสมองของผูนั่งสมาธิ จะมีความราบเรียบ และทิ้งช่วงห่างมากกว่าผู้ที่นอนหลับปกติ ้ 1.6 ความต้านทานของผิวหนังสูงขึ้นทันทีที่เริ่มมีสมาธิ 1.7 อายุยืน 2. ทางจิตใจ 2.1 ทาให้ลดทิฐิ ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตนเอง 2.2 ทาให้จิตใจได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ผ่องใส เกิดความสงบเยือกเย็น 2.3 ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการศึกษาเล่าเรียนและในการทางานต่าง ๆ 2.4 ทาให้เป็นผู้มีความเมตตากรุณา และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น 2.5 เป็นผู้ที่มีสติ ไม่หลงลืม มีความรู้สึกตัวอยู่เสมอว่า กาลังทาอะไรอยู่ 2.6 เป็นผู้มีศีล คือทาดี ไม่ทาชั่ว 2.7 ทาให้เป็นผู้ที่มีจิตใจมั่นคง 2.8 ทาให้เป็นผู้มีปัญญา คือ รอบรู้ในสิ่งต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์และโทษภัยต่าง ๆ 2.9 เป็นกุศล นาไปสูสุคติ ไม่ตกไปสู่อบาย ่
  • 13. การทาสมาธิมีผลกับสมองอย่างไร (งานวิจัย#2) Luders และคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย UCLA ได้รายงานไว้ในวารสาร NeuroImage เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2009 เกี่ยวกับการใช้เครื่องถ่ายภาพแม่เหล็กกาทอน (magnetic resonance imaging : MRI) สแกนสมองของผู้ร่วมการทดลอง 44 คน โดย 22 คน ไม่เคยฝึกการทาสมาธิ และอีก 22 คน ผ่านการฝึกสมาธิแบบต่างๆ มาแล้ว เช่น เซ็น, สมถะ และ วิปัสสนา ประสบการณ์ในการทาสมาธิอยู่ ระหว่าง 5-46 ปี เฉลียที่ 24 ปี ซึ่งส่วนใหญ่ทาสมาธิทุกวัน วันละ 10-90 นาที ่ พบว่า การทาสมาธิจะส่งผลให้สมองส่วน hippocampus, สมองภายในส่วน orbito-frontal cortex , ส่วน thalamus และ inferior temporal gyrus ของกลุ่มผู้นงสมาธิมีขนาดใหญ่กว่าสมองของผู้ที่ไม่ ั่ มีประสบการณ์การทาสมาธิเลย โดยสมองในส่วนดังกล่าวข้างต้น จะทาหน้าที่ควบคุมอารมณ์ ความรู้สึก และส่งผล ให้ผู้ฝึกทาสมาธิเป็นคนอารมณ์ดี มีสติและมีความมั่นคงทางอารมณ์
  • 14. การทาสมาธิมีผลกับคลื่นสมองอย่างไร (งานวิจัย#3) งานวิจัยของ Luders และคณะสอดคล้องกับ งานวิจัยของ Sara Lazar และคณะจากโรงเรียนแพทย์ Harvard ที่ใช้การถ่ายภาพแม่เหล็กกาทอน (magnetic resonance imaging, MRI) ทดสอบกับสมองของคนจานวน 15 คนที่ไม่เคยฝึกนังสมาธิมาก่อน ่ กับคนที่ฝกนังสมาธิแบบพุทธศาสนาจานวน 20 คน ึ ่ พวกเขาพบว่าพื้นที่สมองที่เกี่ยวข้องกับความสนใจและประมวลผลทางการรับสัมผัสในคนที่ฝกนังสมาธิจะหนา ึ ่ กว่าคนไม่ฝึกนังสมาธิ ความหนาขึ้นที่เห็นได้ชัดเจนจะพบได้ในคนนั่งสมาธิที่อายุมากในส่วนเปลือกสมองชั้นนอก ่ (outer cortex) ที่เชือกันว่าเกียวข้องกับการประมวลผลด้านอารมณ์และการรับรู้ให้สมบูรณ์ขึ้น ่ ่ สิ่งนี้บ่งชี้ว่าการฝึกนั่งสมาธิอย่างสม่าเสมออาจจะช่วยลดการบางลงของพืนที่สมองทีมีความสาคัญในการรับรู้ ้ ่ และการประมวลผลด้านอารมณ์เมื่ออายุมากขึ้นได้ ดังนั้น การทาสมาธิเป็นประจา สามารถช่วยพัฒนาสมองในส่วนทีมีความสาคัญต่อความคิด ความเข้าใจ การจัดการ ่ อารมณ์ความรู้สึกและความสงบสุขของชีวิตได้ การทาสมาธิ นอกจากจะทาให้เกิดผลดีทางจิตใจแล้ว ยังมีประโยชน์ต่อ ร่างกายด้วย
  • 15. ผลจากการศึกษาของนักวิจัยยืนยันว่า กลุ่มตัวอย่างที่ฝึกสมาธิเพียงช่วงเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 10 นาที มี คลื่นสมองแบบแอลฟา เกิดขึ้น ซึ่งเป็นคลื่นสมองของความผ่อนคลายในระดับที่สูงขึ้น ช่วยลดความ วิตกกังวล คลายความหม่นหมองในจิตใจลงได้ ดังนั้น การทาสมาธิเพื่อให้เกิดผลดีต่อร่างกายและจิตใจ จึงไม่ใช่เรื่องยากและใช้เวลา มากมายอย่างที่คิด ขอให้เริ่มต้นหลับตา พิจารณาลมหายใจเข้าออก ภาวนาหรือสวดมนต์ตามที่ เหมาะกับตนเอง ปฏิบัติทุกวัน อย่างน้อยวันละ 10 นาที สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น เป็นสิ่งที่ บุคคลผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นและรู้ได้ด้วยตนเองว่า สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ถูกต้องเพียงใด ขอเป็น กาลังใจให้ทุกคนลงมือทาสมาธิ ตั้งแต่วันนี้และตลอดไป หมายเหตุ :: บทความนี้ เรียบเรียงโดย นายศักดิ์อนันต์ อนันตสุข เอกสารอ้างอิง 1. Meditation increases brain gray matter. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.physorg.com/news161355537.html 2. Meditation found to increase brain size. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.physorg.com/news10312.html 3.The science of meditation. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้ จาก http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1005349,00.html #ixzz1XdL0L7fy 4. Neuroscience Quarterly : FY 2006 Annual Progress Report. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.sfn.org/skins/main/pdf/nq/fall_06.pdf 5. Brain waves-science of meditation. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 14 กันยายน 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.chicministry.com/print_t2article.html 6. Enhance Your Life And Mind In As Little As 10 Minutes A Day. [ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 14 กันยายน 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.finerminds.com/meditation/meditate-enhance-life-and-mind/ 7. เคล็ดลับของการเพิ่มพลังปัญญาด้วยตนเอง.[ออนไลน์].[อ้างถึงวันที่ 23 กันยายน 2554] : เข้าถึงได้จาก http://www.vcharkarn.com/vcafe/109978