SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
การเพาะเห็ด
ในวิชาการเกษตรดาเนินกิจกรรมการศึกษาทดสอบการเพาะเห็ดเ
ศรษฐกิจชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฮังการี เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดขอนขาว
เห็ดยานางิ(เห็ดโคนญี่ปุ่น) เป็นต้น
และขยายผลสู่เกษตรกรในพื้นที่ศูนย์ฯ
โดยการนาเกษตรกรที่สนใจเข้ารับการฝึกอบรม
ฝึกปฏิบัติและกลับไปเพาะเห็ดในพื้นที่ของตนเอง
ระยะแรกเกษตรกรก่อตั้งกลุ่มเพาะเห็ดเศรษฐกิจ สมาชิก 4
รายดาเนินการเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อส่งจาหน่ายตลาดในท้องถิ่น
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเพาะเห็ด
ปัจจัยที่ทาให้เกิดดอกเห็ดนอกเหนือไปจากชนิดของวัสดุเพาะ
ความเป็นกรด-ด่าง ของวัสดุเพาะและคุณภาพของหัวเชื้อเห็ดแล้ว
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ผู้เพาะควรให้ความสาคัญเช่
นกัน ได้แก่เรื่องของอุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง อากาศ และสภาพลม
อุณหภูมิ
เป็นสิ่งที่ส่งผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตของเห็ดแต่ละชนิดนับแต่การง
อกของสปอร์ การเจริญเติบโตของเส้นใยไปจนกระทั่งการสร้างดอกเห็ด
ย่อมต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในแต่ละช่วง
ความชื้น ความชื้นสาหรับการเพาะเห็ดจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ
ความชื้นของวัสดุเพาะ
และความชื้นในอากาศหรือที่เรียกว่าความชื้นสัมพัทธ์
โดยทั่วไปแล้วความชื้นของวัสดุเพาะที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดทุกชนิด
จะอยู่ที่ประมาณ 60-65%
ซึ่งมีวิธีการทดสอบขณะผสมวัสดุเพาะได้ง่ายๆ
คือใช้มือบีบวัสดุที่เพะเห็ดเมื่อใช้มือบีบแล้วไม่มีน้าไหลออกมาและเมื่อแ
บมือออกแล้วยังสามารถจับตัวเป็นก้อนหรือแตกออกเพียง 2
ส่วนแสดงว่าใช้ได้
แต่หากมีน้าไหลออกมาตามง่ามมือแสดงว่าชื้นเกินไป
หรือแตกออกจากกันหลายๆ ส่วน แสดงว่าแห้งเกินไป
สาหรับความชื้นสัมพัทธ์
หรือความชื้นในอากาศส่วนใหญ่จะอยู่ที่ประมาณ 70-80%
ยกเว้นเห็ดหูหนูที่ต้องการความชื้นประมาณ 80-90%
ซึ่งความชื้นสัมพัทธ์ นี้จะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับอุณหภูมิ แสงสว่าง
และลม
การเพิ่มความชื้นในอากาศบริเวณที่เพะเห็ดควรใช้น้าสะอาดที่มีสภาพเ
ป็นกลาง เช่น น้าฝน บ้าบาดาล หรือบ่อซึม
ถ้าเป็นน้าประปาควรทิ้งน้าไว้ในภาชนะ 2-3 วัน
เพื่อให้คลอรีนระเหยออกไปก่อนที่จะนาไปใช้รดเห็ด
แสงสว่าง โดยทั่วไปในการเพาะเห็ดแสงเป็นสิ่งที่ต้องควบคุม
โดยเฉพาะแสงสว่างที่เกิดจากดวงอาทิตย์เนื่องจากจะส่งผลโดยตรงต่ออุ
ณหภูมิและความชื้น
แต่เห็ดก็ต้องการแสงเพื่อใช้เป็นตัวกระตุ้นให้เส้นใยเกิดการรวมตัวและ
พัฒนาไปเป็นดอกเห็ดซึ่งอยู่ในช่วงระยะที่ 2
หากได้รับแสงที่เพียงพอจะช่วยให้เห็ดออกดอกดกและสมบูรณ์
อากาศ หมายถึงออกซิเจนที่เห็ดจะใช้ในการหายใจ
การระบายอากาศที่ดีจะช่วยให้การเจริญเติบโตของเส้นใยและการพัฒ
นาไปเป็นดอกเห็ดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เพราะหากมีการสะสมของคาร์บอนไดออกไซด์มากไป
เส้นใยอาจเกิดการหยุดชะงักการเติบโต ทาให้ดอกเห็ดฝ่อหรือเน่าได้
ลม ลมส่งผลต่ออุณหภูมิความชื้นของวัสดุเพาะ
ความชื้นในอากาศ รวมไปถึงโรคแมลงศัตรูเห็ดด้วย
สถานที่เพาะจึงต้องคานึงถึงปัจจัยเรื่องลมเอาไว้ด้วย
การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก
เป็นการเพาะเห็ดกินเอ
งที่ใช้พื้นที่น้อย
ขั้นแรกเราต้องเลือกชนิดขอ
งเห็ดที่เราจะมาเพาะตามที่เร
าชอบ
โดยซื้อก้อนเชื้อเห็ดที่เชื้อเดิ
นเต็มแล้วราคาก้อนละ 5-15 บาท ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของเห็ด
จากนั้นเรานามาเปิดดอก
วิธีแรก เป็นการเพาะเห็ดที่ง่ายสุด คือ
เรานาก้อนเชื้อมาเปิดดอกในห้องน้า ที่มีความชื้น
มีการระบายอากาศที่ดี ไม่อับ หลังจากเปิดถุงประมาณ 7-10 วัน
จะเกิดตุ่มดอก อีก 5-7 วันก็เริ่มเก็บดอกไปบริโภคได้
จากนั้นเห็ดจะหยุดพักตัว ต้องรอไปอีก 15-20 วัน
เห็ดถึงจะให้ผลผลิตออกมา ซึ่งเห็ดจะออกดอกเช่นนี้ไปเรื่อย ประมาณ
3-6 เดือนก้อนเห็ดก็จะหมดสภาพ โดยการให้น้า
ต้องระวังอย่าให้น้าเข้าไปในถุงได้ ควรรดน้าแต่ภายนอกถุง
วิธีที่สอง เป็นการเปิดดอกในโรงเห็ดขนาดเล็ก
ซึ่งเราต้องมีพื้นที่ประมาณ 1ตารางเมตร จะใช้โรงเรือนต้นแบบที่พัฒนา
โดยศูนย์รวมสวนเห็ดบ้านอรัญญิกก็ได้ที่สามารถเพาะเห็ดได้ถึง 100
ก้อน หรือใครจะทาขึ้นมาใหม่ก็ได้ วิธีนี้เราจะมีเห็ดไว้บริโภคทุกวัน
วันหนึ่งจะเก็บเห็ดได้ 2-3 ขีด โดยเราค่อย ๆ
ทยอยนาก้อนเห็ดเข้าโรงเรือนไปเปิดดอกครั้งละ 20 ก้อน ทุก 3-5 วัน
แล้วเราคอยดูแลรดน้า คุมความชื้นให้เหมาะสมกับเห็ดแต่ละชนิด
จากนั้นก็มีเห็ดออกดอกมาให้เก็บทุกวัน จนกว่าก้อนเชื้อจะหมดสภาพ
การเพาะเห็ดในถุงปัญหาที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากสิ่งต่างๆ ดังนี้
1. ถุงพลาสติกมักมีตาหนิทาให้มีเชื้อปนเปื้อนสูง
2. การนึ่งยังไม่ได้มาตรฐาน ทาให้มีเชื้อปนเปื้อนมาก
3. โรงพักก้อนเชื้อไม่สะอาด มีไรไข่ปลาระบาดทั่วไปในก้อนถุง
4. ก้อนเชื้อรดน้ามาก น้าเข้าไปขังแฉะทาให้ก้อนเชื้อภายในถุงเน่า
หนอนแมลงวันวางไข่ ตัวอ่อนกัดกินทาลายเส้ยใยและดอกเห็ด
5. โรงเพาะเห็ดมีการถ่ายเทอากาศไม่เพียงพอ
ความชื้นสูงมีราเมือกระบาด
6. ไม่มีการพักโรงเรือนเพาะเห็ด ทาให้มีศัตรูเห็ดสะสม
การเพาะเห็ดในท่อนไม้
การเพาะเห็ดในท่อนไม้เป็นวิธีการเก่าแก่
โดยชาวจีนเป็นชนชาติแรกที่มีการเพาะเห็ดในท่อนไม้
วิธีการเพาะเห็ดบนท่อนไม้ ไว้บริโภคเองนี้
ค่อนข้างจะยุ่งยากกว่าเพาะในถุงพลาสติก เราต้องใช้ฝีมือนิดหน่อย
และต้องมีพื้นที่พอสมควรในการนากิ่งไม้มากองสุมกัน
และเราต้องมีกิ่งไม้มาเป็นวัสดุเพาะด้วย หรือถ้าบ้านใครที่มีต้นมะม่วง
เวลาตัดแต่งกิ่ง ถ้ามีขนาดเท่าแขนขึ้นไป เราก็นามาเพาะเห็ดได้
หรือจะเป็นไม้อื่น ๆก็ใช้ได้เช่นกัน เช่น ไม้แค ไม้ขนุน ก้ามปู ไม้นกยูง
ไม้นุ่น ไม้เงี้ยว ไม้ยาง หรือไม้เนื้ออ่อนอื่น ๆ
เมื่อได้ไม้แล้ว นามาตัดเป็นท่อน ๆให้ยาว 1 เมตร
ควรเป็นไม้ที่ตัดมาใหม่ ๆ ถ้ามียางก็ทิ้งไว้ให้ยางหยุดไหลเสียก่อน
นามาเจาะด้วยดอกสว่าน ให้ขนาดรูมีความกว้าง ½ นิ้ว ลึก 1 นิ้ว
แต่ละรูห่างประมาณ 3-4 นิ้ว จากนั้นก็เอาเชื้อเห็ดใส่ลงไปให้เต็ม
ปิดทับด้วยพลาสติก (มีจาหน่ายโดยเฉพาะ) ถ้าหาไม่ได้
ก็ให้ใช้ตุ๊ดตู่ที่ใหญ่กว่ารู ตอกไปที่เปลือกไม้เพื่อนามาปิดรู
หรือถ้าไม่มีก็นาเทียนมาผสมกับน้ามันพืชหลอมให้ละลาย
เมื่อใกล้เย็นก็ให้ทาเป็นแผ่นไปปิดทับรู
จากนั้นนาไปวางกองรวมกันไว้แบบคอกหมู ในที่ร่ม
โดยพื้นด้านล่างปูพลาสติกไว้กันแมลงกันหนอนมารบกวน
ด้านข้างพันพลาสติกไว้ให้รอบ ด้านบนปล่อยให้มีอากาศถ่ายเทได้บ้าง
หมั่นรดน้าทุกเช้า ที่ขอนไม้วันละครั้ง ภายใน 1 เดือน
ก็เริ่มจะมีเห็ดให้เก็บกิน สามารถเก็บกินได้จนท่อนไม้ผุพัง
เป็นปีหรือสองปี การเพาะเห็ดในท่อนไม้
สามารถเพาะกับเห็ดได้หลายชนิดเช่นเดียวกับ การเพาะในถุงพลาสติก
แต่เห็ดที่เพาะได้ดี คือ เห็ดนางรม เห็ดหูหนู เห็ดขอนขาว เห็ดนางนวล
ยกเว้นเห็ดฟาง
การเพาะเห็ดในท่อซีเมนต์
ขั้นตอนการเพาะเห็
ดคือ นาวงบ่อซีเมนต์
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1
เมตร มาวางพิง ผนัง
ในลักษณะตะแคง
ในพื้นที่ที่แสงแดดส่องไม่
ถึง
สาหรับวงบ่อซีเมนต์ที่นามาใช้ หากเป็นวงบ่อที่มีด้านเปิดด้านเดียว
สามารถวางตั้งได้เลย แต่ถ้าใช้วงบ่อกลวง ให้นาแผ่น ไม้อัด
มาปิดด้านใดด้านหนึ่งไว้ นาทราย 1 ถุง
ใส่ตะกร้าแบนวางไว้ด้านล่างของวงบ่อซีเมนต์ เป็นที่เก็บความชื้น
แล้วนาไม้มาวางพาดขวาง หาซื้อก้อนเห็ดที่เชื้อเดินเต็มถุงแล้ว
(สังเกตเส้นใยจะเดินเต็มก้อนเป็นสีขาว หรือถ้าเป็นสีน้าตาลอ่อนยิ่งดี)
นาก้อนเชื้อเห็ด มาวางเรียงกันในวงบ่อให้เต็ม
คล้ายกับวางก้อนเห็ดในโรงเรือน โดยจะวางก้อนเชื้อเห็ดได้ประมาณ
60 ก้อน เปิดจุกคอขวดแคะเอาเมล็ดข้าวฟ่างออกให้หมด
ปิดด้วยกระสอบ ผ้า หรือวัสดุปิดฝา
และอาจนาแผ่นกระเบื้องวางลงบนวงบ่อซีเมนต์เพื่อบังแสงแดด
การดูแลทาได้โดย ทาการรดน้าเห็ดทุกครั้ง วันละ 1- 2 ครั้ง
แล้วแต่สภาพอากาศ แต่ควรให้ชุ่มชื้นเสมอ ประมาณ 1
สัปดาห์เห็ดนางฟ้าก็จะออกดอกให้ได้เก็บกิน
แนะนาให้ใช้ฮอร์โมนกระตุ้นดอกเห็ดที่เป็นน้าหมักฉีดพ่นทุกๆ 3
วันเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตให้มากขึ้น
การเพาะเห็ดในตะกร้า
นิยมใช้เพาะเห็ดฟาง
ซึ่งวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดนั่นมีอยู่เป็นจานวนมาก เรียกว่า
หันไปทางไหนก็หยิบจับมาใช้เป็นวัสดุในการเพาะได้ ยกตัวอย่างเช่น
ฟางข้าว ถั่ว หรือเปลือกถั่วได้ทุกชนิด เปลือกมันสาปะหลัง
ต้นข้าวโพดแห้ง (นามาสับ
และนาไปแช่น้าก็สามารถนามาเพาะได้เช่นกัน ) ผักตบชวา
ต้นกล้วยหั่นตากแห้ง ทะลายปาล์ม หรือผลปาล์ม
ขี้เลื่อยไม้เนื้ออ่อนทุกชนิด ทั้งนี้ ยังรวมไปถึง
กระดาษก็สามารถนามาเพาะเห็ดได้ นอกจากนี้ ทีผ่านมานิยมนา
กระสอบป่านเก่า ๆ ผ่านการแช่น้ามาแล้ว มาใช้เป็นวัสดุได้เช่นกัน
เรียกได้ว่า อะไรที่มาจากธรรมชาติ และเก็บความชื้นได้ดี
ก็สามารถนามาเป็นวัสดุในการเพาะได้ทั้งสิ้น
ทั้งนี้ ในแต่ละพื้นที่ก็อาจจะมีวัสดุที่แตกต่างกันไป
แต่ที่ได้รับความนิยมในภาคใต้ ก็จะเป็นพวก ขุยมะพร้าว
โดยขุยมะพร้าว 2 ส่วน นามาผสมกับขี้วัว 1 ส่วน
ซึ่งข้อดีของการใช้ขุยมะพร้าวกับขี้วัว ก็คือ
เราจะได้ความชื้นและมีอาหารจากขี้วัว
มาช่วยบารุงให้เห็ดนั้นเติบโตได้เร็วขึ้น
อย่างไรก็ตามที่ผ่านมา เกษตรกร มักจะนิยมใช้ฟางข้าว
บรรพบุรุษของเราจะใช้ฟางข้าวในการเพาะเห็ด หรือ
เห็ดจะขึ้นเองตามกองฟาง แต่ปัจจุบันที่เราไม่พบเห็นเห็ดตามกองฟาง
เหมือนในอดีต เพราะ ฟางข้าวมีสารเคมีตกค้าง
จากการที่เกษตรกรใช้สารพิษ ในการฆ่าแมลง
และใช้ปุ๋ยเคมีในการบารุงข้าว เป็นสาเหตุที่ไม่แนะนาให้ใช้ฟางข้าว
เพราะนอกจากเห็ดจะไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควรเพราะสารเคมีแล้ว
สารพิษที่ตกค้างในฟางข้าวยังซึมผ่านเส้นใยของเห็ด
เมื่อเราบริโภคเห็ดเข้าไปก็รับสารพิษเข้าไปด้วย
การเพาะเห็ดในโอ่ง
หลายปัจจัยที่ทาให้การทาเกษตรโดยทั่วไป
ถูกปรับเปลี่ยนวิธีการและใช้แนวคิดใหม่ๆ นอกกรอบ
สืบเนื่องจากปัญหาและอุปสรรคอย่างแรกคือ พื้นที่เพาะปลูก
รายจ่ายในอุปกรณ์อื่นๆ ที่ต้องซื้อหา รวมทั้งระยะเวลา
และสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่อาจเป็นอุปสรรคในการให้ผลผลิต
เป็นผลให้เกิดนวัตรกรรมทางความคิด ทาให้ได้รูปแบบใหม่ๆ
ในด้านการเกษตร
เห็ดโอ่ง เป็นหนึ่งในนวัตรกรรม
ที่แตกแขนงออกมาเนื่องจากอุปสรรคที่กล่าวมาข้างต้น
ทาให้เกิดวิธีการใหม่ๆ ที่ให้ผลผลิตไม่แพ้การเพาะเห็ดในแบบปกติ
เรามาดูกันว่า การเพาะเห็ดโอ่ง
เค้ามีกรรมวิธีทากันอย่างไรให้ได้ผลผลิตกันแบบเห็นๆ
เลยกับอาชีพยอดนิยมที่สร้างรายได้ ที่รวดเร็ว การเพาะเห็ดในโอ่ง
เพื่อบริโภคในครัวเรือนและการป
ลูกผักปลอดสารพิษในกระสอบเป็
นอาชีพเกษตรกรรมที่ทาง่ายและ
ลงทุนไม่สูงมาก
เพราะโดยทั่วไปการเพาะเห็
ดจะต้องสร้างโรงเรือน
ใช้เงินทุนสูงพอสมควร
และถ้าจะเพาะในเชิงพาณิชย์ต้องตววจสอบเรื่องการตลาดให้ดีเสียก่อน
แต่ถ้าจะเพาะเพื่อการบริโภคในครัวเรือนแบบเศรษฐกิจพอเพียง
ลดความยุ่งยากและไม่ต้องลงทุนสร้างโรงเรือน
อีกทั้งใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนมาใช้ให้เกิดประโยชน์คือ โอ่งแตก
หรือโอ่งร้าว สามารถนามาเพาะเห็ดได้ จึงได้เกิดวิธีการ
เพาะเห็ดโอ่งไม่ต้องใช้โรงเรือน
แถมได้บริโภคในครัวเรือนอย่างเพียงพอ ได้เห็ดที่มีความสด คุณภาพดี
และรสชาติอร่อยไม่แพ้การเพาะจากวิธีอื่น
กรรมวิธีก็โดยใช้โอ่งเก่า โอ่งแตก หรือโอ่งร้าว เป็นที่เพาะเห็ด
สาหรับวัสดุอื่นก็ไม่ยุ่งยาก
เพียงแต่ซื้อก้อนเชื้อเห็ดถุงชนิดที่ต้องการจะเพาะ
กระสอบป่านใส่ข้าวสารหรือตาข่ายพรางแสงสีดาและบัวรดน้าเท่านั้น
ขั้นตอนการเพาะอันดับแรกจะต้องเลือกสถานที่ใช้เพาะควรเป็นใต้ร่มไม้
หรือบริเวณที่มีร่มเงา
1. ขั้นตอนการทาคือนาไม้ที่เตรียมไว้สาหรับทาฐานรองโอ่งด้านนอก
มาตีล้อมกรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
โดยให้มีพื้นที่ว่างระหว่างกรอบไม้เพียงพอต่อการวางพื้นที่ผิวของโอ่งที่
จะวางในแนวนอน ไม่ให้โอ่งกลิ้ง
2. นาโอ่งมานอนลง จัดหาสถานที่เหมาะๆ ใต้ร่มไม้หรือที่มีร่มเงา
ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกขึ้น
3. นาทรายหยาบมาเทรองพื้นโอ่งที่วางไว้ในแนวนอน
กะให้มีความหนาประมาณ 2-3 นิ้ว เพื่อกักเก็บความชื้น
4. นาตะแกรงไม้ไผ่ที่เตรียมไว้มาวางด้านในโอ่ง
ทาเป็นแผงสาหรับวางก้อนเชื้อเห็ด
โดยให้มีพื้นที่ว่างด้านบนมากกว่าพื้นที่ว่างด้านล่าง
5. นาก้อนเชื้อเห็ดที่ต้องการเพาะมาเรียงไว้จนเต็ม และทาการเปิดดอก
ด้วยวิธีการเปิดจุกก้อนเชื้อด้านบน บังคับให้ดอกออกเป็นกระจุกด้านบน
ก่อนวางเรียงก้อนเชื้อเห็ดจนเต็ม
6. ปิดปากโอ่งด้วยกระสอบป่านหรือตาข่ายพรางแสง
แล้วใช้เชือกผูกยึดกระสอบกับขอบปากโอ่งให้แน่น
โดยปล่อยชายกระสอบให้สามารถเปิดขึ้นลงได้
7. รดน้าบนก้อนเชื้อเห็ด เช้า-กลางวัน-เย็น
ถ้าพบว่ากองเห็ดแห้งเกินไป ควรเพิ่มความชื้นโดยใช้กระบอกฉีดน้า
พ่นน้าให้เป็นฝอยในโอ่ง เพื่อเป็นการให้ความชื้นแก่ก้อนเห็ด
แล้วปิดปากโอ่งไว้ดังเดิม
ข้อแนะนาสาหรับการเพาะเห็ดโอ่ง
ควรระมัดระวังในช่วงวันที่ 1-3 ถ้าร้อนเกินไป
ให้เปิดกระสอบป่านหรือตาข่ายพรางแสงเพื่อระบายความร้อน
หลังเพาะประมาณ 1 สัปดาห์ จะเริ่มมองเห็นตุ่มสีขาวเล็กๆ
เกิดขึ้นบนก้อนเชื้อเห็ด ในช่วงนี้ต้องระวังเรื่องการรดน้า
อย่าให้ดอกเห็ดโดนน้าเป็นอันขาด มิฉะนั้นดอกจะฝ่อและเน่าเสียหาย
แต่ยังคงต้องพ่นน้าให้ความชื้นอยู่ทุกวัน
ประมาณ 7-10 วัน เห็ดจะออกดอกเก็บรับประทานได้
สามารถเก็บดอกเห็ดมารับประทานได้แล้วทุกวัน
จนกว่าดอกเห็ดจะหมดไป ใช้เวลาประมาณ 1-3 เดือน
น้าที่ใช้สาหรับการรดก้อนเชื้อเห็ดจะต้องเป็นน้าที่จืด มีค่า pH
เป็นกลาง ไม่มีคลอรีนเจือปน เรื่องน้าที่ใช้รดก้อนเห็ดนั้นสาคัญมาก
ถ้าน้ากร่อยหรือเค็มจะส่งผลให้เห็ดไม่ออกดอก
น้าที่ดีที่สุดคือ น้าฝน
หรือจะใช้น้าประปาที่ผ่านการขจัดคลอรีนออกแล้วก็ได้ผลดีเช่นกัน
(การรองน้าประปาตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน
จะช่วยขจัดคลอรีนออกไปได้
สาหรับการเพาะเห็ดในโอ่ง
เป็นการนาเอาของใช้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
เป็นแนวทางในการประหยัดต้นทุน
และสามารถนาไปเพาะได้ทุกครัวเรือน
เห็ดที่จะนามาใช้ในการเพาะแต่ละชนิดนั้น
จะมีความต้องการและลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน เช่น
เห็ดประเภทนางรม หูหนู และเป๋าฮื้อ
จะต้องการสภาพอากาศที่ร้อนชื้นจนถึงสภาพอากาศตามปกติ
ส่วนเห็ดนางฟ้า เห็ดหอม
จะต้องการอากาศที่ค่อนข้างเย็นในการเจริญเติบโต
การเพาะเลี้ยงเห็ดชนิดใดๆ
ควรจะมีการจัดการสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเ
ห็ดชนิดนั้นๆ
ในการผลิตดอกเห็ดแต่ละฤดูก็ควรมีการจัดการชนิดของเห็ดที่จะผลิตคว
บคู่ไปด้วย
การดูแลรักษาเห็ดโอ่ง
ข้อระวัง น้าที่ใช้รดเห็ดจะต้องเป็นน้าจืด ไม่มีคลอรีนเจือปน
ไม่เป็นน้ากร่อย น้าเค็ม ระวังน้าเค็มไม่สามารถจะใช้รดเห็ดได้
เพราะเห็ดจะไม่ออกดอก
เห็ดแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการผลิตดอกเห็ดไม่เ
หมือนกัน เห็ดนางรม เห็ดเป๋าฮื้อ และเห็ดหูหนู
ต้องการอุณหภูมิธรรมดาในช่วงฤดูร้อนหรือฤดูฝน
ส่วนเห็ดนางฟ้าและเห็ดหอม ต้องการอุณหภูมิค่อนข้างเย็น

Contenu connexe

Tendances

ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Isการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย IsM Mild Charinrat Aloha
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชlukhamhan school
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6juckit009
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตKan Pan
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7chunkidtid
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8chunkidtid
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 

Tendances (20)

ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Isการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is
 
โครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนมโครงงาน54แหนม
โครงงาน54แหนม
 
Is แผ่นพับ
Is แผ่นพับIs แผ่นพับ
Is แผ่นพับ
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืชหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การเพาะปลูกพืช
 
แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6แผนการเรียนรู้เกษตร6
แผนการเรียนรู้เกษตร6
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8
 
farmland
farmlandfarmland
farmland
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 

การเพาะเห็ดภายในบ้าน

  • 1. การเพาะเห็ด ในวิชาการเกษตรดาเนินกิจกรรมการศึกษาทดสอบการเพาะเห็ดเ ศรษฐกิจชนิดต่างๆ เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดฮังการี เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดขอนขาว เห็ดยานางิ(เห็ดโคนญี่ปุ่น) เป็นต้น และขยายผลสู่เกษตรกรในพื้นที่ศูนย์ฯ โดยการนาเกษตรกรที่สนใจเข้ารับการฝึกอบรม ฝึกปฏิบัติและกลับไปเพาะเห็ดในพื้นที่ของตนเอง ระยะแรกเกษตรกรก่อตั้งกลุ่มเพาะเห็ดเศรษฐกิจ สมาชิก 4 รายดาเนินการเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อส่งจาหน่ายตลาดในท้องถิ่น สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเพาะเห็ด ปัจจัยที่ทาให้เกิดดอกเห็ดนอกเหนือไปจากชนิดของวัสดุเพาะ ความเป็นกรด-ด่าง ของวัสดุเพาะและคุณภาพของหัวเชื้อเห็ดแล้ว สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ผู้เพาะควรให้ความสาคัญเช่ นกัน ได้แก่เรื่องของอุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง อากาศ และสภาพลม อุณหภูมิ เป็นสิ่งที่ส่งผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตของเห็ดแต่ละชนิดนับแต่การง อกของสปอร์ การเจริญเติบโตของเส้นใยไปจนกระทั่งการสร้างดอกเห็ด ย่อมต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในแต่ละช่วง ความชื้น ความชื้นสาหรับการเพาะเห็ดจะแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ความชื้นของวัสดุเพาะ และความชื้นในอากาศหรือที่เรียกว่าความชื้นสัมพัทธ์ โดยทั่วไปแล้วความชื้นของวัสดุเพาะที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดทุกชนิด จะอยู่ที่ประมาณ 60-65% ซึ่งมีวิธีการทดสอบขณะผสมวัสดุเพาะได้ง่ายๆ คือใช้มือบีบวัสดุที่เพะเห็ดเมื่อใช้มือบีบแล้วไม่มีน้าไหลออกมาและเมื่อแ บมือออกแล้วยังสามารถจับตัวเป็นก้อนหรือแตกออกเพียง 2
  • 2. ส่วนแสดงว่าใช้ได้ แต่หากมีน้าไหลออกมาตามง่ามมือแสดงว่าชื้นเกินไป หรือแตกออกจากกันหลายๆ ส่วน แสดงว่าแห้งเกินไป สาหรับความชื้นสัมพัทธ์ หรือความชื้นในอากาศส่วนใหญ่จะอยู่ที่ประมาณ 70-80% ยกเว้นเห็ดหูหนูที่ต้องการความชื้นประมาณ 80-90% ซึ่งความชื้นสัมพัทธ์ นี้จะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับอุณหภูมิ แสงสว่าง และลม การเพิ่มความชื้นในอากาศบริเวณที่เพะเห็ดควรใช้น้าสะอาดที่มีสภาพเ ป็นกลาง เช่น น้าฝน บ้าบาดาล หรือบ่อซึม ถ้าเป็นน้าประปาควรทิ้งน้าไว้ในภาชนะ 2-3 วัน เพื่อให้คลอรีนระเหยออกไปก่อนที่จะนาไปใช้รดเห็ด แสงสว่าง โดยทั่วไปในการเพาะเห็ดแสงเป็นสิ่งที่ต้องควบคุม โดยเฉพาะแสงสว่างที่เกิดจากดวงอาทิตย์เนื่องจากจะส่งผลโดยตรงต่ออุ ณหภูมิและความชื้น แต่เห็ดก็ต้องการแสงเพื่อใช้เป็นตัวกระตุ้นให้เส้นใยเกิดการรวมตัวและ พัฒนาไปเป็นดอกเห็ดซึ่งอยู่ในช่วงระยะที่ 2 หากได้รับแสงที่เพียงพอจะช่วยให้เห็ดออกดอกดกและสมบูรณ์ อากาศ หมายถึงออกซิเจนที่เห็ดจะใช้ในการหายใจ การระบายอากาศที่ดีจะช่วยให้การเจริญเติบโตของเส้นใยและการพัฒ นาไปเป็นดอกเห็ดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากมีการสะสมของคาร์บอนไดออกไซด์มากไป เส้นใยอาจเกิดการหยุดชะงักการเติบโต ทาให้ดอกเห็ดฝ่อหรือเน่าได้ ลม ลมส่งผลต่ออุณหภูมิความชื้นของวัสดุเพาะ ความชื้นในอากาศ รวมไปถึงโรคแมลงศัตรูเห็ดด้วย สถานที่เพาะจึงต้องคานึงถึงปัจจัยเรื่องลมเอาไว้ด้วย
  • 3. การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก เป็นการเพาะเห็ดกินเอ งที่ใช้พื้นที่น้อย ขั้นแรกเราต้องเลือกชนิดขอ งเห็ดที่เราจะมาเพาะตามที่เร าชอบ โดยซื้อก้อนเชื้อเห็ดที่เชื้อเดิ นเต็มแล้วราคาก้อนละ 5-15 บาท ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของเห็ด จากนั้นเรานามาเปิดดอก วิธีแรก เป็นการเพาะเห็ดที่ง่ายสุด คือ เรานาก้อนเชื้อมาเปิดดอกในห้องน้า ที่มีความชื้น มีการระบายอากาศที่ดี ไม่อับ หลังจากเปิดถุงประมาณ 7-10 วัน จะเกิดตุ่มดอก อีก 5-7 วันก็เริ่มเก็บดอกไปบริโภคได้ จากนั้นเห็ดจะหยุดพักตัว ต้องรอไปอีก 15-20 วัน เห็ดถึงจะให้ผลผลิตออกมา ซึ่งเห็ดจะออกดอกเช่นนี้ไปเรื่อย ประมาณ 3-6 เดือนก้อนเห็ดก็จะหมดสภาพ โดยการให้น้า ต้องระวังอย่าให้น้าเข้าไปในถุงได้ ควรรดน้าแต่ภายนอกถุง วิธีที่สอง เป็นการเปิดดอกในโรงเห็ดขนาดเล็ก ซึ่งเราต้องมีพื้นที่ประมาณ 1ตารางเมตร จะใช้โรงเรือนต้นแบบที่พัฒนา โดยศูนย์รวมสวนเห็ดบ้านอรัญญิกก็ได้ที่สามารถเพาะเห็ดได้ถึง 100 ก้อน หรือใครจะทาขึ้นมาใหม่ก็ได้ วิธีนี้เราจะมีเห็ดไว้บริโภคทุกวัน วันหนึ่งจะเก็บเห็ดได้ 2-3 ขีด โดยเราค่อย ๆ ทยอยนาก้อนเห็ดเข้าโรงเรือนไปเปิดดอกครั้งละ 20 ก้อน ทุก 3-5 วัน
  • 4. แล้วเราคอยดูแลรดน้า คุมความชื้นให้เหมาะสมกับเห็ดแต่ละชนิด จากนั้นก็มีเห็ดออกดอกมาให้เก็บทุกวัน จนกว่าก้อนเชื้อจะหมดสภาพ การเพาะเห็ดในถุงปัญหาที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากสิ่งต่างๆ ดังนี้ 1. ถุงพลาสติกมักมีตาหนิทาให้มีเชื้อปนเปื้อนสูง 2. การนึ่งยังไม่ได้มาตรฐาน ทาให้มีเชื้อปนเปื้อนมาก 3. โรงพักก้อนเชื้อไม่สะอาด มีไรไข่ปลาระบาดทั่วไปในก้อนถุง 4. ก้อนเชื้อรดน้ามาก น้าเข้าไปขังแฉะทาให้ก้อนเชื้อภายในถุงเน่า หนอนแมลงวันวางไข่ ตัวอ่อนกัดกินทาลายเส้ยใยและดอกเห็ด 5. โรงเพาะเห็ดมีการถ่ายเทอากาศไม่เพียงพอ ความชื้นสูงมีราเมือกระบาด 6. ไม่มีการพักโรงเรือนเพาะเห็ด ทาให้มีศัตรูเห็ดสะสม การเพาะเห็ดในท่อนไม้ การเพาะเห็ดในท่อนไม้เป็นวิธีการเก่าแก่ โดยชาวจีนเป็นชนชาติแรกที่มีการเพาะเห็ดในท่อนไม้ วิธีการเพาะเห็ดบนท่อนไม้ ไว้บริโภคเองนี้ ค่อนข้างจะยุ่งยากกว่าเพาะในถุงพลาสติก เราต้องใช้ฝีมือนิดหน่อย และต้องมีพื้นที่พอสมควรในการนากิ่งไม้มากองสุมกัน และเราต้องมีกิ่งไม้มาเป็นวัสดุเพาะด้วย หรือถ้าบ้านใครที่มีต้นมะม่วง เวลาตัดแต่งกิ่ง ถ้ามีขนาดเท่าแขนขึ้นไป เราก็นามาเพาะเห็ดได้ หรือจะเป็นไม้อื่น ๆก็ใช้ได้เช่นกัน เช่น ไม้แค ไม้ขนุน ก้ามปู ไม้นกยูง ไม้นุ่น ไม้เงี้ยว ไม้ยาง หรือไม้เนื้ออ่อนอื่น ๆ เมื่อได้ไม้แล้ว นามาตัดเป็นท่อน ๆให้ยาว 1 เมตร ควรเป็นไม้ที่ตัดมาใหม่ ๆ ถ้ามียางก็ทิ้งไว้ให้ยางหยุดไหลเสียก่อน
  • 5. นามาเจาะด้วยดอกสว่าน ให้ขนาดรูมีความกว้าง ½ นิ้ว ลึก 1 นิ้ว แต่ละรูห่างประมาณ 3-4 นิ้ว จากนั้นก็เอาเชื้อเห็ดใส่ลงไปให้เต็ม ปิดทับด้วยพลาสติก (มีจาหน่ายโดยเฉพาะ) ถ้าหาไม่ได้ ก็ให้ใช้ตุ๊ดตู่ที่ใหญ่กว่ารู ตอกไปที่เปลือกไม้เพื่อนามาปิดรู หรือถ้าไม่มีก็นาเทียนมาผสมกับน้ามันพืชหลอมให้ละลาย เมื่อใกล้เย็นก็ให้ทาเป็นแผ่นไปปิดทับรู จากนั้นนาไปวางกองรวมกันไว้แบบคอกหมู ในที่ร่ม โดยพื้นด้านล่างปูพลาสติกไว้กันแมลงกันหนอนมารบกวน ด้านข้างพันพลาสติกไว้ให้รอบ ด้านบนปล่อยให้มีอากาศถ่ายเทได้บ้าง หมั่นรดน้าทุกเช้า ที่ขอนไม้วันละครั้ง ภายใน 1 เดือน ก็เริ่มจะมีเห็ดให้เก็บกิน สามารถเก็บกินได้จนท่อนไม้ผุพัง เป็นปีหรือสองปี การเพาะเห็ดในท่อนไม้ สามารถเพาะกับเห็ดได้หลายชนิดเช่นเดียวกับ การเพาะในถุงพลาสติก แต่เห็ดที่เพาะได้ดี คือ เห็ดนางรม เห็ดหูหนู เห็ดขอนขาว เห็ดนางนวล ยกเว้นเห็ดฟาง การเพาะเห็ดในท่อซีเมนต์ ขั้นตอนการเพาะเห็ ดคือ นาวงบ่อซีเมนต์ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร มาวางพิง ผนัง ในลักษณะตะแคง ในพื้นที่ที่แสงแดดส่องไม่ ถึง สาหรับวงบ่อซีเมนต์ที่นามาใช้ หากเป็นวงบ่อที่มีด้านเปิดด้านเดียว สามารถวางตั้งได้เลย แต่ถ้าใช้วงบ่อกลวง ให้นาแผ่น ไม้อัด มาปิดด้านใดด้านหนึ่งไว้ นาทราย 1 ถุง
  • 6. ใส่ตะกร้าแบนวางไว้ด้านล่างของวงบ่อซีเมนต์ เป็นที่เก็บความชื้น แล้วนาไม้มาวางพาดขวาง หาซื้อก้อนเห็ดที่เชื้อเดินเต็มถุงแล้ว (สังเกตเส้นใยจะเดินเต็มก้อนเป็นสีขาว หรือถ้าเป็นสีน้าตาลอ่อนยิ่งดี) นาก้อนเชื้อเห็ด มาวางเรียงกันในวงบ่อให้เต็ม คล้ายกับวางก้อนเห็ดในโรงเรือน โดยจะวางก้อนเชื้อเห็ดได้ประมาณ 60 ก้อน เปิดจุกคอขวดแคะเอาเมล็ดข้าวฟ่างออกให้หมด ปิดด้วยกระสอบ ผ้า หรือวัสดุปิดฝา และอาจนาแผ่นกระเบื้องวางลงบนวงบ่อซีเมนต์เพื่อบังแสงแดด การดูแลทาได้โดย ทาการรดน้าเห็ดทุกครั้ง วันละ 1- 2 ครั้ง แล้วแต่สภาพอากาศ แต่ควรให้ชุ่มชื้นเสมอ ประมาณ 1 สัปดาห์เห็ดนางฟ้าก็จะออกดอกให้ได้เก็บกิน แนะนาให้ใช้ฮอร์โมนกระตุ้นดอกเห็ดที่เป็นน้าหมักฉีดพ่นทุกๆ 3 วันเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตให้มากขึ้น การเพาะเห็ดในตะกร้า นิยมใช้เพาะเห็ดฟาง ซึ่งวัสดุที่ใช้เพาะเห็ดนั่นมีอยู่เป็นจานวนมาก เรียกว่า หันไปทางไหนก็หยิบจับมาใช้เป็นวัสดุในการเพาะได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ถั่ว หรือเปลือกถั่วได้ทุกชนิด เปลือกมันสาปะหลัง ต้นข้าวโพดแห้ง (นามาสับ และนาไปแช่น้าก็สามารถนามาเพาะได้เช่นกัน ) ผักตบชวา ต้นกล้วยหั่นตากแห้ง ทะลายปาล์ม หรือผลปาล์ม ขี้เลื่อยไม้เนื้ออ่อนทุกชนิด ทั้งนี้ ยังรวมไปถึง กระดาษก็สามารถนามาเพาะเห็ดได้ นอกจากนี้ ทีผ่านมานิยมนา
  • 7. กระสอบป่านเก่า ๆ ผ่านการแช่น้ามาแล้ว มาใช้เป็นวัสดุได้เช่นกัน เรียกได้ว่า อะไรที่มาจากธรรมชาติ และเก็บความชื้นได้ดี ก็สามารถนามาเป็นวัสดุในการเพาะได้ทั้งสิ้น ทั้งนี้ ในแต่ละพื้นที่ก็อาจจะมีวัสดุที่แตกต่างกันไป แต่ที่ได้รับความนิยมในภาคใต้ ก็จะเป็นพวก ขุยมะพร้าว โดยขุยมะพร้าว 2 ส่วน นามาผสมกับขี้วัว 1 ส่วน ซึ่งข้อดีของการใช้ขุยมะพร้าวกับขี้วัว ก็คือ เราจะได้ความชื้นและมีอาหารจากขี้วัว มาช่วยบารุงให้เห็ดนั้นเติบโตได้เร็วขึ้น อย่างไรก็ตามที่ผ่านมา เกษตรกร มักจะนิยมใช้ฟางข้าว บรรพบุรุษของเราจะใช้ฟางข้าวในการเพาะเห็ด หรือ เห็ดจะขึ้นเองตามกองฟาง แต่ปัจจุบันที่เราไม่พบเห็นเห็ดตามกองฟาง เหมือนในอดีต เพราะ ฟางข้าวมีสารเคมีตกค้าง จากการที่เกษตรกรใช้สารพิษ ในการฆ่าแมลง และใช้ปุ๋ยเคมีในการบารุงข้าว เป็นสาเหตุที่ไม่แนะนาให้ใช้ฟางข้าว เพราะนอกจากเห็ดจะไม่เจริญเติบโตเท่าที่ควรเพราะสารเคมีแล้ว สารพิษที่ตกค้างในฟางข้าวยังซึมผ่านเส้นใยของเห็ด เมื่อเราบริโภคเห็ดเข้าไปก็รับสารพิษเข้าไปด้วย การเพาะเห็ดในโอ่ง หลายปัจจัยที่ทาให้การทาเกษตรโดยทั่วไป ถูกปรับเปลี่ยนวิธีการและใช้แนวคิดใหม่ๆ นอกกรอบ สืบเนื่องจากปัญหาและอุปสรรคอย่างแรกคือ พื้นที่เพาะปลูก รายจ่ายในอุปกรณ์อื่นๆ ที่ต้องซื้อหา รวมทั้งระยะเวลา และสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่อาจเป็นอุปสรรคในการให้ผลผลิต เป็นผลให้เกิดนวัตรกรรมทางความคิด ทาให้ได้รูปแบบใหม่ๆ ในด้านการเกษตร
  • 8. เห็ดโอ่ง เป็นหนึ่งในนวัตรกรรม ที่แตกแขนงออกมาเนื่องจากอุปสรรคที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้เกิดวิธีการใหม่ๆ ที่ให้ผลผลิตไม่แพ้การเพาะเห็ดในแบบปกติ เรามาดูกันว่า การเพาะเห็ดโอ่ง เค้ามีกรรมวิธีทากันอย่างไรให้ได้ผลผลิตกันแบบเห็นๆ เลยกับอาชีพยอดนิยมที่สร้างรายได้ ที่รวดเร็ว การเพาะเห็ดในโอ่ง เพื่อบริโภคในครัวเรือนและการป ลูกผักปลอดสารพิษในกระสอบเป็ นอาชีพเกษตรกรรมที่ทาง่ายและ ลงทุนไม่สูงมาก เพราะโดยทั่วไปการเพาะเห็ ดจะต้องสร้างโรงเรือน ใช้เงินทุนสูงพอสมควร และถ้าจะเพาะในเชิงพาณิชย์ต้องตววจสอบเรื่องการตลาดให้ดีเสียก่อน แต่ถ้าจะเพาะเพื่อการบริโภคในครัวเรือนแบบเศรษฐกิจพอเพียง ลดความยุ่งยากและไม่ต้องลงทุนสร้างโรงเรือน อีกทั้งใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนมาใช้ให้เกิดประโยชน์คือ โอ่งแตก หรือโอ่งร้าว สามารถนามาเพาะเห็ดได้ จึงได้เกิดวิธีการ เพาะเห็ดโอ่งไม่ต้องใช้โรงเรือน แถมได้บริโภคในครัวเรือนอย่างเพียงพอ ได้เห็ดที่มีความสด คุณภาพดี และรสชาติอร่อยไม่แพ้การเพาะจากวิธีอื่น กรรมวิธีก็โดยใช้โอ่งเก่า โอ่งแตก หรือโอ่งร้าว เป็นที่เพาะเห็ด สาหรับวัสดุอื่นก็ไม่ยุ่งยาก เพียงแต่ซื้อก้อนเชื้อเห็ดถุงชนิดที่ต้องการจะเพาะ กระสอบป่านใส่ข้าวสารหรือตาข่ายพรางแสงสีดาและบัวรดน้าเท่านั้น ขั้นตอนการเพาะอันดับแรกจะต้องเลือกสถานที่ใช้เพาะควรเป็นใต้ร่มไม้ หรือบริเวณที่มีร่มเงา
  • 9. 1. ขั้นตอนการทาคือนาไม้ที่เตรียมไว้สาหรับทาฐานรองโอ่งด้านนอก มาตีล้อมกรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยให้มีพื้นที่ว่างระหว่างกรอบไม้เพียงพอต่อการวางพื้นที่ผิวของโอ่งที่ จะวางในแนวนอน ไม่ให้โอ่งกลิ้ง 2. นาโอ่งมานอนลง จัดหาสถานที่เหมาะๆ ใต้ร่มไม้หรือที่มีร่มเงา ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกขึ้น 3. นาทรายหยาบมาเทรองพื้นโอ่งที่วางไว้ในแนวนอน กะให้มีความหนาประมาณ 2-3 นิ้ว เพื่อกักเก็บความชื้น 4. นาตะแกรงไม้ไผ่ที่เตรียมไว้มาวางด้านในโอ่ง ทาเป็นแผงสาหรับวางก้อนเชื้อเห็ด โดยให้มีพื้นที่ว่างด้านบนมากกว่าพื้นที่ว่างด้านล่าง 5. นาก้อนเชื้อเห็ดที่ต้องการเพาะมาเรียงไว้จนเต็ม และทาการเปิดดอก ด้วยวิธีการเปิดจุกก้อนเชื้อด้านบน บังคับให้ดอกออกเป็นกระจุกด้านบน ก่อนวางเรียงก้อนเชื้อเห็ดจนเต็ม 6. ปิดปากโอ่งด้วยกระสอบป่านหรือตาข่ายพรางแสง แล้วใช้เชือกผูกยึดกระสอบกับขอบปากโอ่งให้แน่น โดยปล่อยชายกระสอบให้สามารถเปิดขึ้นลงได้ 7. รดน้าบนก้อนเชื้อเห็ด เช้า-กลางวัน-เย็น ถ้าพบว่ากองเห็ดแห้งเกินไป ควรเพิ่มความชื้นโดยใช้กระบอกฉีดน้า พ่นน้าให้เป็นฝอยในโอ่ง เพื่อเป็นการให้ความชื้นแก่ก้อนเห็ด แล้วปิดปากโอ่งไว้ดังเดิม ข้อแนะนาสาหรับการเพาะเห็ดโอ่ง
  • 10. ควรระมัดระวังในช่วงวันที่ 1-3 ถ้าร้อนเกินไป ให้เปิดกระสอบป่านหรือตาข่ายพรางแสงเพื่อระบายความร้อน หลังเพาะประมาณ 1 สัปดาห์ จะเริ่มมองเห็นตุ่มสีขาวเล็กๆ เกิดขึ้นบนก้อนเชื้อเห็ด ในช่วงนี้ต้องระวังเรื่องการรดน้า อย่าให้ดอกเห็ดโดนน้าเป็นอันขาด มิฉะนั้นดอกจะฝ่อและเน่าเสียหาย แต่ยังคงต้องพ่นน้าให้ความชื้นอยู่ทุกวัน ประมาณ 7-10 วัน เห็ดจะออกดอกเก็บรับประทานได้ สามารถเก็บดอกเห็ดมารับประทานได้แล้วทุกวัน จนกว่าดอกเห็ดจะหมดไป ใช้เวลาประมาณ 1-3 เดือน น้าที่ใช้สาหรับการรดก้อนเชื้อเห็ดจะต้องเป็นน้าที่จืด มีค่า pH เป็นกลาง ไม่มีคลอรีนเจือปน เรื่องน้าที่ใช้รดก้อนเห็ดนั้นสาคัญมาก ถ้าน้ากร่อยหรือเค็มจะส่งผลให้เห็ดไม่ออกดอก น้าที่ดีที่สุดคือ น้าฝน หรือจะใช้น้าประปาที่ผ่านการขจัดคลอรีนออกแล้วก็ได้ผลดีเช่นกัน (การรองน้าประปาตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน จะช่วยขจัดคลอรีนออกไปได้ สาหรับการเพาะเห็ดในโอ่ง เป็นการนาเอาของใช้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นแนวทางในการประหยัดต้นทุน และสามารถนาไปเพาะได้ทุกครัวเรือน เห็ดที่จะนามาใช้ในการเพาะแต่ละชนิดนั้น จะมีความต้องการและลักษณะนิสัยที่แตกต่างกัน เช่น เห็ดประเภทนางรม หูหนู และเป๋าฮื้อ จะต้องการสภาพอากาศที่ร้อนชื้นจนถึงสภาพอากาศตามปกติ ส่วนเห็ดนางฟ้า เห็ดหอม จะต้องการอากาศที่ค่อนข้างเย็นในการเจริญเติบโต การเพาะเลี้ยงเห็ดชนิดใดๆ
  • 11. ควรจะมีการจัดการสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเ ห็ดชนิดนั้นๆ ในการผลิตดอกเห็ดแต่ละฤดูก็ควรมีการจัดการชนิดของเห็ดที่จะผลิตคว บคู่ไปด้วย การดูแลรักษาเห็ดโอ่ง ข้อระวัง น้าที่ใช้รดเห็ดจะต้องเป็นน้าจืด ไม่มีคลอรีนเจือปน ไม่เป็นน้ากร่อย น้าเค็ม ระวังน้าเค็มไม่สามารถจะใช้รดเห็ดได้ เพราะเห็ดจะไม่ออกดอก เห็ดแต่ละชนิดต้องการอุณหภูมิที่เหมาะสมในการผลิตดอกเห็ดไม่เ หมือนกัน เห็ดนางรม เห็ดเป๋าฮื้อ และเห็ดหูหนู ต้องการอุณหภูมิธรรมดาในช่วงฤดูร้อนหรือฤดูฝน ส่วนเห็ดนางฟ้าและเห็ดหอม ต้องการอุณหภูมิค่อนข้างเย็น