SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
บ้านโนนเจริญ
บทนา
การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจแล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสือ
อ่านเพิ่มเติมเพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ
ตระหนักให้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับ
เป็นการทาความรู้จักสังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธาน
แห่งชาติและความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคม
มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหา
คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่
หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่ง
ที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการ
ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก
หลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอ
ไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจน
เพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย
1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน)
2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม
3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์
4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง
5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 2
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 1
การกาหนดหัวเรื่อง
การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ
ในหนังสือเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้
1. การสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญ
2. ประวัติบ้านโนนเจริญ
3. ชุมชนบ้านโนนเจริญ
4. โนนเจริญของเรา
5. โนนเจริญศึกษา
6. บ้านโนนเจริญ
เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 6 เรื่อง บ้านโนนเจริญ โดยให้เหตุผล
ว่าเป็นชื่อที่สั้น ชัดเจน เป็นการศึกษาประวัติความเป็นมาเฉพาะเรื่องราวในหมู่บ้านโนนเจริญ
จานวน 5 หมู่ จาก 11 หมู่บ้าน
ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11 หมู่บ้าน
แต่ในหนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 หมู่ในบ้านโนนเจริญ ดังนี้
โนนเจริญ หมู่ที่ 1
โนนเจริญ หมู่ที่ 2
โนนเจริญ หมู่ที่ 3
โนนเจริญ หมู่ที่ 4
โนนเจริญ หมู่ที่ 5
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 3
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
ขั้นตอนที่ 2
การรวบรวมข้อมูล
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์
ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1
2. หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่น
3. เอกสารประกอบการอบรมโดย เรื่อง มรดกล้าค่าพัฒนาสู่การเรียนรู้เอกสาร
ประกอบการอบรมโดย รศ.ดร.สมมาตร์ ผลเกิด
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี
อตีดกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2
ปัจจุบันรองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ
2. นางดอก ศรีนวล อายุ 70 ปี
3. นางบัวเพลิน เครือคา อายุ 74 ปี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 4
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
4. นายเงิน พาชื่นใจ อายุ 60 ปี
5. นายบุญสี เหล็กสี อายุ 49 ปี
6. นางทองสุข ศรีละวรรณ อายุ 89 ปี
7. นางกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี
8. นายบุญเกิด สระหอม อายุ 49 ปี
9. นางบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 64 ปี
ขั้นตอนที่ 3
ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้าน
นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อตีดกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบันรองนายกเทศ
มลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ นางดอก ศรีนวล อายุ 70 ปี นางบัวเพลิน เครือคา อายุ 74 ปี
นายเงิน พาชื่นใจ อายุ 60 ปี นายบุญสี เหล็กสี อายุ 49 ปี นางทองสุข ศรีละวรรณ อายุ 89 ปี
นางกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี นายบุญเกิด สระหอม อายุ 49 ปีและนางบุญศรี เศษสุวรรณ
อายุ 64 ปี สรุปได้ว่าบ้านโนนเจริญก่อตั้งราวปี พ.ศ. 2493 ประชาชนส่วนใหญ่ย้ายมาหาที่
ทากินใหม่เพราะที่อยู่เดิมแออัด มีที่ทากินไม่เพียงพอ
จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า ประชาชนกลุ่มแรกของบ้านโนนเจริญ
มีการย้ายถิ่นมาจาก อาเภอพิมาย จังหวัดเมืองนครราชสีมา ประมาณ ปี พ.ศ. 2493 ซึ่งตรงกับ
รัชกาลที่ 9 (ขึ้นครองราชย์ ฯ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) บ้านโนนเจริญได้ก่อตั้งหลัง
เหตุการณ์รัฐประหาร พ.ศ. 2490 ขณะนั้นมี นายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 5
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีพร้อมทั้งจัดตั้งคณะรัฐบาล การบริหารงานของรัฐาบลชุดนี้
หย่อนสมรรถภาพ เกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวง (ดนัย ไชยโยธา, 2548, 263) ทาให้ประชาชน
ได้รับความเดือดร้อน ซึ่งมีผลมาจากข้อตกลงสมบูรณ์แบบที่ทาไว้กับอังกฤษ ประชาชนจึงหา
แหล่งที่ดินทากินใหม่ อพยพถิ่นฐานมุ่งไปที่ชายแดนไทยกัมพูชา แม้ว่าจะเป็นพื้นที่เสี่ยง
อันตรายจากโจรเขมร แต่เพื่อที่ดิน ทากินใหม่ ๆ ก็พร้อมที่จะเผชิญ ต่อสู้และสร้างบ้านแปง
เมืองจนเป็นชุมชนใหญ่ในปัจจุบัน
ขั้นตอนที่ 4
วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล
1. ประชาชกลุ่มแรก ย้ายเข้าเมื่อปี พ.ศ. 2493 ได้มีบุคคลกลุ่มหนึ่งได้เดินทางมาจาก
บ้านดอนมัน บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เดินทางมาโดยใช้
เส้นทางลัด ตามทางเกวียนมุ่งหน้าสู่กิ่งอาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ เดินทางด้วยเกวียนเป็น
พาหนะทั้งหมด10 เล่ม สาหรับบรรทุกสัมภาระ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2493 เนื่องจาก
ได้รับข้อมูลจากสิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ว่าบริเวณชายแดนไทยกัมพูชา มีที่ดินรกร้าง
ว่างเปล่ากว้างขวางบ้านเมืองยังไม่เจริญ สัตว์ป่านานาชนิดมากมาย ที่ดินอุดมสมบูรณ์มาก จึง
ได้เดินทางจากหมู่บ้านเดิม บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดย
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 6
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
การนาของพ่ออึ่ง มารศรี มีบุคคลที่เดินทางติดตามมาด้วย คือ พ่อริน มารศรี พ่อทองดี เนื้อไม้
หอม พ่อพุ่ม ชี้กลาง พ่อหลง สิริสุนทร พ่อหมาก สดชื่น พ่อหม้อ อุยไขพันธุ์ พ่อเหมา เหล็ก
ลิ้ม พ่อชอ พาชื่นใจ พ่อสิมมา พาชื่นใจ พ่อสวน พาชื่นใจและพ่อนวล พาชื่นใจ การเดินทางใช้
เวลา 10 วัน 10 คืน ข้ามแม่น้าลาคลองมาเรื่อย ๆ ผ่านบ้านหินลาด พัก 3 วัน ได้รับความ
ช่วยเหลือจาก นายแมน แซวประโคน กานันตาบลบ้านกรวด มีข้าราชการตารวจ 2 ท่าน คือ
สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน และสิบตารวจเอกประสิทธิ์ ดูแล แนะนา
2. ประชนกลุ่มที่ 2 ย้ายมาจากอาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่
หมู่ที่ 2 และขยายไปหมู่ที่ 4 เพื่อออกเรือน
3. ประชนกลุ่มที่ 3 ย้ายมาจากอาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่
หมู่ที่ 2 และขยายไปหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 เพื่อสร้างครอบครัวใหม่
4. ประชาชนที่ย้ายตามเข้ามาส่วนใหญ่เป็นอีสานตอน เช่น ร้อยเอ็ด สารคาม ยโสธร
ส่วนจังหวัดอื่น ๆ มีบาง เช่น ศรีสะเกษและอุบลราชธานี
ขั้นตอนที่ 5
การตีความหลักฐาน
จากการศึกษาประวัติความเป็นมาบ้านโนนเจริญโดยใช้แบบสอบถามการสัมภาษณ์
และการสังเกตการณ์พบว่า “โนนเจริญ” เป็นหมู่บ้านตั้งใหม่ประมาณ 60 ปี ในยุคที่นายควง
อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประชาชนกลุ่มแรกที่เดินทางเข้ามาบุกเบิกที่ทากินนั้น ได้ย้ายถิ่น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 7
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
มาจากอาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา คาดว่า เป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรหนาแน่น ขาดที่
ทากินเป็นของตนเอง จึงดิ้นรนหาที่ดินทากินประกอบกับรู้จักเจ้าที่ตารวจตระเวนชายแดนว่า
มีที่ดินรกร้างว่างเปล่า สามารถจับจองได้โดยไม่ต้องซื้อจึงได้เดินทางมุ่งสู่ชายแดนไทยกัมพูชา
โดยไม่เกรงอันตราย กลุ่มที่ 2 ที่เดินทางเข้ามาบ้านโนนเจริญ มีเหตุผล เช่นเดียวกันกับกลุ่มแรก
แต่กลุ่มนี้มีการซื้อขายที่ดิน ที่นาละ 10 บาท (ยังไม่รู้จักการขายแบบเป็นไร่) แต่พอถึง กลุ่มที่ 3
และกลุ่มที่ 4 เดินทางเข้ามาบ้านโนนเจริญ พบว่า บ้านเมืองเจริญขึ้นมากแล้ว มีผู้ใหญ่บ้าน มี
วัดที่เป็นศูนย์รวมจริงใจ มีโรงเรียน มีถนนและเจ้าที่ของบ้านเมืองเข้ามาดูแล ประชาชนจึงรู้สึก
ปลอดภัยยิ่งขึ้น มีการซื้อขายที่ดินที่แพงขึ้นเนื่องจากกลุ่มหลังๆ ที่ย้ายเข้ามานั้นได้ย้ายมาจาก
ถิ่นที่เจริญแล้ว มีทรัพย์สินที่สามารถขายได้และนามาลงทุนที่บ้านโนนเจริญ ประชาชนกลุ่มนี้
รู้จักการแบ่งขายที่ดินที่มีหน่วยเป็นไร่
เมื่อมีคนจากหลายจังหวัดมาอยู่รวมกัน ด้วยประเพณี ความเชื่อ ภาษา ที่แตกต่างกัน
อาจก่อปัญหาความขัดแย้ง ผู้นาชุมชนจึงหากลยุทธ์ในการสร้างความรัก ความสามัคคี โดยใช้
ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อของท้องถิ่น เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจให้ประชาชนทุกหมู่เหล่า
สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 8
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
..............................................................
ความเป็นมาของจังหวัดบุรีรัมย์
บุรีรัมย์ เป็นเมืองแห่งความรื่นรมย์ตามความหมายของชื่อเมืองที่น่าอยู่ และเป็น
เมืองที่น่ามาเยือนสาหรับคนต่างถิ่น เมืองปราสาทหินในจังหวัดบุรีรัมย์มากมีไปด้วยปราสาท
หินใหญ่น้อยอัน หมายถึง ความรุ่งเรืองการอยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์
มาแต่อดีตปรากฏหลักฐานชัดเจน ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ว่าบุรีรัมย์มีฐานะเป็น เมือง ๆ หนึ่ง
เรียกว่า เมืองแปะ ประมาณปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหรือต้น
รัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เปลี่ยนชื่อ เมืองแปะเป็น บุรีรัมย์ ด้วย
ปรากฏว่าได้มีการแต่งตั้ง พระสาแดงฤทธิรงค์เป็นพระนครภักดีศรีนครา ผู้สาเร็จราชการ
เมืองบุรีรัมย์ ขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา ต่อมาได้มีการตรา พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
แห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 ขึ้น ยุบมณฑลนครราชสีมาจัดระเบียบบริหารราชการ
ส่วนภูมิภาคออกเป็นจังหวัด และอาเภอ เมืองบุรีรัมย์จึงมีฐานะเป็น จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งแต่นั้น
เป็นต้นมา
1. บุรีรัมย์ในสมัยอยุธยา
เมืองบุรีรัมย์ในสมัยนี้ มีหัวเมืองที่สาคัญ 3 แห่ง คือ เมืองพุทไธสง เมืองตลุง
(อาเภอประโคนชัยในปัจจุบัน) เมืองนางรอง อยู่ใต้อานาจการปกครองของกรุงศรีอยุธยา
โดยขึ้นกับข้าหลวงใหญ่เมืองนครราชสีมา ซึ่งเป็นข้าหลวงต่างพระองค์ ในรัชสมัยสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราชได้แต่งตั้งพระยายมราช (สังข์) ครองเมืองนครราชสีมา มีเมืองขึ้น
5 เมือง คือ นครจันทึก ชัยภูมิ พิมาย เมืองแปะและนางรอง
2. บุรีรัมย์ในสมัยธนบุรี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 9
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ในปี พ.ศ. 2321 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เจ้าเมือง
นางรองคบคิดกับเจ้าโอ เจ้าอิน เจ้าเมืองจาปาศักดิ์ พากันแข็งเมือง สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชจึงโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาจักรี (พระยศของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ขณะนั้น) ยกกองทัพมาเกลี้ยกล่อมแต่ไม่สาเร็จ จึงยกทัพเข้าปราบปราม ในการยกทัพ
ไปในครั้งนั้นระหว่างเดินทัพกลับจากเมืองจาปาศักดิ์ เจ้าพระยาจักรีได้พบเมืองไผทสมัน
(หรืประทาสมัน) เห็นว่าบริเวณเมืองร้างนี้มีชัยภูมิดี มีคูน้าคันดินใช้ป้องกันข้าศึกศัตรูได้เป็น
อย่างดี เหมาะที่จะได้สร้างบ้านแปลงเมืองขึ้นใหม่ให้เป็นปึกแผ่น จึงแต่งตั้งบุตรเมืองไผทสมัน
เป็นเจ้าเมืองมีศูนย์กลางการปกครองอยู่บริเวณที่ตั้งศาลหลักเมืองบุรีรัมย์ในปัจจุบัน และ
บริเวณนั้นมีต้นไม้ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งชาวบ้านเรียกว่า ต้นแปะ จึงตั้งชื่อเมืองที่ตั้งขึ้นใหม่นั้น
ว่าเมืองแปะตั้งแต่นั้นมา ประกอบดินแดนแถวนี้นี้มีภัยจากเขมร
ที่มักยกทัพมาตีไทยเสมอเมื่อไทยทาสงครามกับพม่า เจ้าพระยาจักรีจึงมีบัญชาให้ชักชวนชาว
เขมรป่าดงให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานกันมากขึ้น
จากนั้นชาวเขมรป่าดงจึงได้ทยอยอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เมืองตลุง
และเมืองร้าง บริเวณลาห้วยจระเข้มาก อันประกอบด้วยบ้านโคกหัวช้าง บ้านทะมาน
(ปัจจุบันคือที่ตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ) จากสภาพภูมิประเทศของเมืองแปะที่มี
แหล่งน้าอุดมสมบูรณ์อยู่ใกล้กับประเทศกัมพูชา มีช่องทางที่สามารถใช้ในการคมนาคม
ในการติดต่อค้าขายในยามสงครามสงบกับประเทศกัมพูชาและเมืองต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่บริเวณ
ลาห้วยจระเข้มาก จึงเป็นแรงดึงดูดให้ประชาชนจากท้องที่อื่น ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน
ที่เมืองแปะอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นเมืองขนาดใหญ่และมีความสาคัญในทางยุทธศาสตร์
ทาให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นมั่นคงเป็นลาดับ
3. บุรีรัมย์ในสมัยรัตนโกสินทร์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 10
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ในปี พ.ศ. 2370 ตรงกับรัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เจ้า
อนุวงศ์ ผู้ปกครองเมืองเวียงจันทร์ ยกกองทัพมาตีหัวเมืองต่าง ๆ รวมทั้งเมืองแปะและเมือง
นางรอง พระนครภักดี (หงส์) เจ้าเมืองแปะ ได้ต่อสู้แต่ไม่สามารถต้านทานกองทัพของเจ้า
อนุวงศ์ ได้ จึงหลบหนีไป กองทัพเวียงจันทร์ตามไปทันที่ช่องเสม็ด บริเวณเทือกเขาบรรทัด
พรมแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา และนาไปจาจองที่ค่ายราชวงศ์ ณ ทุ่งสุวรรณภูมิ (ปัจจุบัน
เป็นหนึ่งในจังหวัดร้อยเอ็ด) คืนวันหนึ่งพระนครภักดีได้คบคิดกับชาวเมืองแปะลุกขึ้นต่อสู้ จึง
ถูกฆ่าตายหมดเหลือแต่พระนครภักดี ซึ่งเป็นผู้มีวิชาคงกระพันฟันแทงไม่เข้าทหารจึงเอาหลาว
เสียบแทงเข้าทางทวารหนักจนถึงแก่ความตาย นับได้ว่าเป็นผู้ที่มีจิตใจกล้าหาญ มีความ
จงรักภักดีต่อพื้นแผ่นมาตุภูมิเป็นอย่างยิ่ง (เอกสารประกอบการอบรมโครงการ “มรดกล้าค่า
พัฒนาสู่การเรียนรู้” โดยรองศาสตรา ดร.สมมาตร ผลเกิด คณบดีคณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์)
จากการศึกษาประวัติ ความเป็นมาของจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ประชาชนกลุ่มแรก
ของบ้านโนนเจริญ มีการย้ายถิ่นมาจาก อาเภอพิมาย จังหวัดเมืองนครราชสีมา ประมาณ
ปี พ.ศ. 2493 ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 9 (ขึ้นครองราชย์ ฯ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
บ้านโนนเจริญได้ก่อตั้งหลังเหตุการณ์รัฐประหาร พ.ศ. 2490 ขณะนั้นมี นายควง อภัยวงศ์
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีพร้อมทั้งจัดตั้งคณะรัฐบาล
การบริหารงานของรัฐาบลชุดนี้หย่อนสมรรถภาพ เกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวง (ดนัย ไชยโยธา,
2548, 263) ทาให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน ซึ่งมีผลมาจากข้อตกลงสมบูรณ์แบบที่ทาไว้
กับอังกฤษ ประชาชนจึงหาแหล่งที่ดินทากินใหม่ อพยพถิ่นฐานมุ่งไปที่ชายแดนไทยกัมพูชา
แม้ว่าจะเป็นพื้นที่เสี่ยงอันตรายจากโจรเขมร แต่เพื่อที่ดิน ทากินใหม่ ๆ ก็พร้อมที่จะเผชิญ ต่อสู้
และสร้างบ้านแปงเมืองจนเป็นชุมชนใหญ่ในปัจจุบัน
การสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญนั้น เกิดจากการย้ายถิ่นฐานมารวมกัน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 11
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ของประชาชนจากทั่วสารทิศ โดยมีจุดประสงค์เดียวกันคือ เพื่อมาบุกเบิกแผ่นดินที่รกร้าง
ว่างเปล่า เพื่อทาการเกษตรใช้ประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองและครอบครัว ข้อมูลดังกล่าวได้จาก
บุคคลสาคัญหลายท่าน ดังนี้
นายแหลม พาชื่นใจ และคณะ ( 2548, 4-8) นายแหลม พาชื่นใจ อายุ 74 ปี
ได้รวบรวมข้อมูลประวัติ ความเป็นมา ของการก่อตั้งบ้านโนนเจริญ โดยการประชุมคัดกรอง
เนื้อหาสาระจากบุคคลหลายอาชีพ เพื่อจัดทาเป็นหนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิ พ่อสิมมา พา
ชื่นใจ ในวันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2548 ไว้ว่า เมื่อปี พ.ศ. 2493 ได้มีบุคคลกลุ่มหนึ่งได้
เดินทางมาจากบ้านดอนมัน บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
เดินทางมาโดยใช้เส้นทางลัด ตามทางเกวียนมุ่งหน้าสู่กิ่งอาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
เดินทางด้วยเกวียนเป็นพาหนะทั้งหมด10 เล่ม สาหรับบรรทุกสัมภาระ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม
พ.ศ. 2493 เนื่องจากได้รับข้อมูลจากสิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ว่าบริเวณชายแดนไทย
กัมพูชา มีที่ดินรกร้างว่างเปล่ากว้างขวางบ้านเมืองยังไม่เจริญ สัตว์ป่านานาชนิดมากมาย ที่ดิน
อุดมสมบูรณ์มาก จึงได้เดินทางจากหมู่บ้านเดิม บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย
จังหวัดนครราชสีมา โดยการนาของพ่ออึ่ง มารศรี มีบุคคลที่เดินทางติดตามมาด้วย คือ พ่อริน
มารศรี พ่อทองดี เนื้อไม้หอม พ่อพุ่ม ชี้กลาง พ่อหลง สิริสุนทร พ่อหมาก สดชื่น พ่อหม้อ อุย
ไขพันธุ์ พ่อเหมา เหล็กลิ้ม พ่อชอ พาชื่นใจ พ่อสิมมา พาชื่นใจ พ่อสวน พาชื่นใจและพ่อนวล
พาชื่นใจ การเดินทางใช้เวลา 10 วัน 10 คืน ข้ามแม่น้าลาคลองมาเรื่อย ๆ ผ่านบ้านหินลาด
พัก 3 วัน ได้รับความช่วยเหลือจาก นายแมน แซวประโคน กานันตาบลบ้านกรวด มี
ข้าราชการตารวจ 2 ท่าน คือ สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน และสิบตารวจเอกประสิทธิ์ ดูแล
แนะนา และเป็นผู้นาทางจนมาถึงที่ตั้งบ้านโนนเจริญในปัจจุบันได้ชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านหนอง
เจริญ” ตามลักษณะภูมิประเทศที่มีหนองน้าที่อุดมสมบูรณ์ ถึง 4 แห่ง ต่อมา
ราวปี พ.ศ. 2502 นายชื่น ไมยรัตน์ นายอาเภอบ้านกรวด ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “บ้านโนนเจริญ”
ด้วยเหตุผลว่า หนองน้าทั้ง 4 แห่ง มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเรื่อย ๆ ไม่เหมือนเดิม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 12
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
แหล่งสาคัญทั้ง 4 แห่ง มีชื่อเรียกต่างกัน ดังนี้
1. หนองกังหันหนองสิม ปัจจุบันอยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน
2. หนองตระลอก ปัจจุบันอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน
3. หนองสังข์ ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน
4. หนองบ้าน (หนองหลวงปู่ฌาน) ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของหมู่บ้าน
ชื่อภาพ : แหล่งน้าสาคัญ ทั้ง 4 แหล่งเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้าน
ภาพโดย : นายอภิชาญ ฉลาดล้น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 13
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
นายเงิน พาชื่นใจ อายุ 60 ปี ท่านเป็นบุตรของนายสิมมา พาชื่นใจ ปัจจุบัน
ดารงตาแหน่ง สมาชิกอบต. หมู่ที่ 1 ตาบลโนนเจริญให้สัมภาษณ์ว่า ท่านเกิดที่โนนเจริญในปี
ที่บิดา มารดาย้ายมาถึงหมู่บ้านโนนเจริญพอดีคือปี 2493 จึงไม่ได้ร่วมเดินทางขณะย้ายถิ่นมา
จากบ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา แต่ได้เป็นสมาชิกในวันที่มี
การประชุม คัดกรองเนื้อหาสาระเพื่อจัดทาเป็นหนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิ พ่อสิมมา พา
ชื่นใจ ในวันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2548 จึงรู้รายละเอียด การย้ายถิ่นฐานของบิดา
มารดา และเพื่อนบ้าน โดยคาชักชวนของสิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ให้ย้ายถิ่นเพื่อหาที่
ทากินใหม่ ขณะมาถึงหมู่บ้านโนนเจริญนั้นไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ก่อนเลย เป็นประชาชนกลุ่มแรกที่
เดินทางมาถึงและเป็นกลุ่มแรกที่บุกเบิกที่ทากิน จานวน 10 ครอบครัว
ชื่อภาพ : นายเงิน พาชื่นใจ
ภาพโดย : นายอภิชาญ ฉลาดล้น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 14
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
หลังปี พ.ศ. 2500 บ้านโนนเจริญมีประชาชนอีกหลายกลุ่มย้ายเข้าอีกหลายจังหวัด
โดยคาดหวังว่าจะมีที่ทากินเป็นของตนเองหรือหาที่อยู่ใหม่ที่กว้างใหญ่กว่าเดิม กลุ่มคนที่
เข้ามาแรก ๆ จะได้พื้นที่ทากินมาโดยการเถ้าถาง แต่กลุ่มที่ตามมาต้องซื้อขายที่ดิน
จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องในหมู่บ้านพอสรุปได้ดังนี้
นายบุญสี เหล็กสี อายุ 49 ปี (ปี พ.ศ. 2552) ปัจจุบันเป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4
ให้ข้อมูลว่า นายอ่อนสา เหล็กสี เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 1 ของบ้านโนนเจริญ เกี่ยวข้อง
กับตนเอง เพราะท่านเป็น คุณลุงได้ย้ายถิ่นฐานจากบ้านกอก อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์
เป็นประชาชนกลุ่มที่ 2 ที่เดินทางมาถึงบ้านโนนเจริญ เหตุผลที่ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านเนื่องจาก
ความสามัคคีของประชาชนที่ย้ายมาพร้อมกันมีจานวนมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ จึงได้รับการเสนอชื่อ
และรับเลือกเป็นผู้นาหมู่บ้านคนแรก
ชื่อภาพ : นายบุญสี เหล็กสี
ภาพโดย : นายอภิชาญ ฉลาดล้น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 15
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2494 ได้มีผู้ย้ายถิ่นมาจากต่างจังหวัดเพิ่มขึ้นเป็นลาดับประมาณ
30 ครอบครัว เจ้าหน้าที่อาเภอ เจ้าหน้าที่จากสถานีตารวจภูธรอาเภอบ้านกรวด ตารวจ
ตระเวรชายแดนชื่อ สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน และกานันแมน แซวประโคน
ได้มาเยี่ยมประชาชนชาวบ้านโนนเจริญ แล้วย้ายที่ตั้งหมู่บ้านที่เก่าบริเวณทุ่งหญ้าป่าทึบ
(ปัจจุบันคือที่ตั้งหมู่ 4) ไปที่ใหม่ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งวัดสุภัทรบูรพาราม) ตั้งชื่อว่าบ้านหนอง
เจริญ แปลว่า บ้านหนองหลาย เพราะมีหนองนาถึง 4 แห่ง ทาให้มีความอุดมสมบูรณ์
(ปัจจุบันนี้ได้ถูกพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปแล้ว) แล้วชาวบ้านได้ตั้งสานักสงฆ์ขึ้น 1 หลัง ชื่อว่าวัด
บ้านโนนเจริญ (ปัจจุบันชื่อว่า วัดสุภัทรบูรพาราม) เมื่อปี พ.ศ. 2502 ได้นิมนต์พระสงฆ์
จากกิ่งอาเภอบ้านกรวด จานวน 5 รูป มีหลวงพ่อตั้ง เป็นเจ้าอาวาส มีนายอ่อนสา เหล็กสี
เป็นผู้นาในการพัฒนา ดูแลลูกบ้านโดยใช้หลักธรรมในการปกครอง ริเริ่มงานใหม่ ๆ
เพื่อพัฒนาการอยู่ดี กินดีของลูกบ้านเท่าที่จะทาได้ เช่น ขุดบ่อน้าให้ลึกให้มีน้าไว้เพียงพอ
สาหรับดื่มในหน้าแล้ง สร้างครกกระเดื่องแทนครกมือเพื่อให้ได้ปริมาณข้าวสารมากขึ้น
การสร้างศาลาการเปรียณในวัดตามค่านิยมและความเชื่อของคนอีสาน (ภาษาถิ่นลาว)
ที่ชอบสร้างอาคารหลังใหญ่ ใต้ถุนสูง หลังคาเหลี่ยมต่า เพื่อใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย
พระสงฆ์ทากิจของสงฆ์บนศาลา ส่วนใต้ถุนศาลาใช้สาหรับเป็นที่ประชุมของชาวบ้าน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 16
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
การที่คนเราจะมาอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนได้นั้นต้องมาจากหลากหลายถิ่นกาเนิด
แต่เมื่อมาอยู่ร่วมกันแล้วก็ต้องตั้งถิ่นฐานขึ้นใหม่จนเกิดเป็นชุมชน ปัจจุบันมีชุมชนหลายแห่ง
อาจเกิดจากครัวเรือนมาเป็นหมู่บ้านจนกระทั่งเป็นตาบลเป็นอาเภอหรือจังหวัดก็ได้ ดังนั้นเมื่อ
มาอยู่ร่วมกันเราก็ควรจะมีผู้นาหมู่บ้านหรือชุมชนรวมถึงการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
การศึกษาเรื่องของหมู่บ้านจึงจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อสะท้อนถึงเอกลักษณ์ชองชุมชนซึ่งในเล่มนี้จะ
กล่าวถึงประวัติหมู่บ้านในหมู่บ้านโนนเจริญ จานวน 5 หมู่บ้าน
1. ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตาบลโนนเจริญ
บ้านโนนเจริญเดิมอยู่ในการปกครองตาบลบ้านกรวด เป็นหมู่บ้านที่มีเนินภูเขาเล็ก ๆ
ตรงกลางหมู่บ้าน (ปัจจุบัน คือ บริเวณวัดบ้านโนนเจริญ) มีสระน้าโบราณใหญ่ 2 แห่ง ชื่อว่า
สระหนองสังข์และสระบ้าน ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีต้นไม้มากมาย มีทางเดิน
ของสัตว์ป่าลงมาดื่มน้าในสระเป็นประจา ชาวบ้านจึงพากันเรียกเนินเล็ก ๆ นี้ว่า “โนนเจริญ”
ตามลักษณะความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ ต่อมาได้แยกตั้งเป็นตาบลโนนเจริญ เมื่อปี พ.ศ. 2497
เทศบาลตาบลโนนเจริญเดิมเป็นสภาตาบลโนนเจริญ ต่อมามีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะ
ของสภาตาบล พ.ศ.2537 เป็นผลให้สภาตาบลโนนเจริญเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นองค์การบริหาร
ส่วนตาบลโนนเจริญ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2540 และกระทรวงมหาดไทยประกาศให้องค์การ
บริหารส่วนตาบลโนนเจริญยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลโนนเจริญ ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2552
เทศบาลตาบลโนนเจริญมีอาคารสานักงานสาหรับใช้บริการประชาชนที่มาติดต่อ
ราชการได้ด้วยความสะดวก สานักการทางานตั้งอยู่ที่เลขที่ 95 หมู่ที่ 1 ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ (http://www.thaitambon.com)
ปีพ.ศ. 2493 ก่อตั้งหมู่บ้านชื่อว่า บ้านโนนเจริญ
ปีพ.ศ. 2537 ยกฐานะเป็น ตาบลโนนเจริญ
ปีพ.ศ. 2552 ยกฐานะเป็น เทศบาลตาบลโนนเจริญ ตามพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. 2496
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 17
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ผู้นาหมู่บ้าน
ผู้นาหมู่บ้านคนแรก ตาแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน ชื่อนายอ่อนสา เหล็กสี
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 1 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายนวล พาชื่นใจ
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 2 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายมุข ศักดิ์ศรีท้าว
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 3 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายซาน พายุพัด
ผู้นาระดับตาบลคนที่ 4 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายประกาย ศรีเหมือน (2554-ปัจจุบัน)
ผู้นาระดับตาบล
ตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นคนที่ 1 ชื่อนายสาลี ธรรมนาม
ตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นคนที่ 2 ชื่อนายสมศักดิ์ สุมาลี
ผู้นาระดับเทศบาลตาบล
ตาแหน่งนายกเทศมนตรี คนที่ 1 ชื่อนายสมศักดิ์ สุมาลี ( พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน)
ชื่อภาพ : องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 18
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
2. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 1
บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 มีประชาชนย้ายถิ่นมากลุ่มแรก จานวน 10 ครอบครัว
ตั้งชื่อตามลักษณะภูมิประเทศที่มีแหล่งน้าตามธรรมชาติหลายแห่งว่า “บ้านหนองเจริญ”
ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นบ้านโนนเจริญ ด้วยเหตุผลว่าหนองน้าทั้ง 4 แห่ง มีการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างไปเรื่อย ๆ ไม่เหมือนเดิม ซึ่งมีตามลักษณะภูมิประเทศที่มีภูเขาลูกเล็ก ๆ อยู่ใจกลาง
หมู่บ้านและบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 เป็นหมู่บ้านที่อยู่ใจกลางของหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่ จึงให้
ความสาคัญลักษณะภูมิประเทศที่มีภูเขาลูกเล็ก ๆ บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ
มีผู้นาหมู่บ้านคนแรก ตาแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ชื่อนายอ่อนสา เหล็กสี ผู้นาตาแหน่งกานัน
ปกครองหมู่บ้าน จานวน 2 คน คือ นายนวล พาชื่นใจและนายซาน พายุพัด ปัจจุบัน
นายประกาศิต กัญหา รับตาแหน่งผู้ใหญ่บ้านปี พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน ประชากร 965 ครัวเรือน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 19
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
2. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 2
บ้านโนนเจริญ หมู่ 2 เป็นหมู่บ้านเดียวกันกับบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 เนื่องจากมีการ
ย้ายถิ่นเข้ามาจานวนมาก หลังปี พ.ศ. 2500 บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 มีครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น
ประมาณ 200 หลังคาเรือน จึงได้แยกตัวเป็นหมู่ที่ 2 เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2516 ในการ
แยกตัวครั้งนั้นมีจานวนครัวเรือนทั้งหมด 70 หลังคาเรือน เมื่อได้ตั้งตัวเป็นหมู่บ้านแล้วได้มีการ
เลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านคนใหม่ ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกคือ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว นอกจากท่านจะ
ได้รับคัดเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้านแล้วท่านยังได้รับการคัดเลือกเป็นกานันประจาตาบลโนนเจริญ มา
จนถึงปัจจุบัน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 20
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
3. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 3
บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 3 แยกออกจากหมู่ที่ 1 เป็นหมู่ที่ 17 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 3
มีการย้ายถิ่นมาจากนครราชสีมา เช่นเดียวกับบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 1 และมีการย้ายถิ่นเพิ่มมา
เรื่อยจากจังหวัดมหาสารคาม ร้อยเอ็ดและอาเภอตึก จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อแยกออกจากโนน
เจริญหมู่ที่ 1 มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านคนแรกชื่อนายแถว เล็กสิงโต เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 17
ในขณะนั้นบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 3 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,300ไร่ มีทั้งหมด 160 หลังคาเรือน มี
ประชากรทั้งหมด 835 คน เพื่อให้การแบ่งเขตดูแลให้ง่ายยิ่งขึ้นตาบลโนนเจริญแยกออกจาก
ตาบลบ้านหินลาดจึงแบ่งเขตใหม่เป็นหมู่ที่ 3 ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 ชื่อนายไพศาล ทันไธสง
เมื่อเกษียณอายุได้มีการเลือกตั้งใหม่ นายสนับ ศิลป์โสภา เป็นผู้ใหญ่บ้านจนถึงปัจจุบัน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 21
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
4. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 4
จากการสัมภาษณ์นายจันทร์ภูมิ วงศ์อามาตย์ ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานเป็นคนแรกในหมู่
ที่ 4 ในปี พ.ศ.2514 เพื่อบุกเบิกที่ดินทากิน ครอบครัวแรกที่ย้ายถิ่นเข้ามาได้ย้ายมาจาก
จังหวัดสุรินทร์และทยอยย้ายตามกันมาจากทั่วสารทิศตามคาชวนของเพื่อนบ้านที่ย้ายมาก่อน
และซื้อที่ดินต่อ ๆ กันมา บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 แยกออกจากหมู่ที่ 2 ผ่านมา 40 ปี
ซึ่งหมู่ที่ 4 ในขณะนั้นยังคงเป็นป่ารกทึบ มีความอุดมสมบูรณ์ทั้งพืชผัก สัตว์ป่ามากมาย
หลังจากนั้นมีผู้คนเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจานวนมากจึงแยกตัวออกจาก บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 2
เป็นบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 ปัจจุบัน มีจานวน 144 หลังคาเรือน มีประชากรทั้งหมด 652 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 22
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
5. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 5
หลังปี พ.ศ. 2500 มีประชากรย้ายถิ่นเข้ามาบุกเบิกที่ทากินจานวนมากประมาณ
ปี พ.ศ. 2516 หมู่บ้านโนนเจริญ มีประชากรและครัวเรือนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมีนโยบาย
ให้แยกบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 2 ออกเป็นหมู่ที่ 15 เมื่อปีพ.ศ. 2537 บ้านโนนเจริญยกฐานะ
เป็นตาบลโนนเจริญ จึงแบ่งเขตการปกครองใหม่ให้ง่ายแก่การปกครองเป็น บ้านโนนเจริญ
หมู่ที่ 5 มีผู้ใหญ่คนแรกชื่อนายจิระศักดิ์ แสงแก้ว นายสน ช่องาม เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2
นายบุญช่วย เกสรชื่น เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 และนายอุทร ธรรมนามเป็นผู้ใหญ่บ้านคน
ปัจจุบัน บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 5 มี 207 หลังคาเรือน มีประชากรทั้งหมด 960 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 23
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ตัวอย่างบุคคลที่ย้ายถิ่นเข้ามาบ้านโนนเจริญ
1. จังหวัดร้อยเอ็ด
ชื่อคุณยายทองสุข ศรีละวรรณ อายุ 89 ปี ที่อยู่ 65 หมู่ 2 ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนจะย้ายบ้านโนนเจริญอยู่ที่ อาเภอพนมไพร
ตาบลหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด
สาเหตุที่ย้ายบ้านเพราะที่อยู่มันคับแคบที่นาเล็กที่ทากินไม่พอต่อประชาชนจึงทาให้
คุณยายย้ายไปที่อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ โดยอาศัย เกวียนเป็นพาหนะ เมื่อมาถึงอาเภอส
ตึกพบปัญหามีโจรจานวนมาก จึงต้องย้ายถิ่นฐานมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญราวปี พ.ศ. 2508
ขณะนั้นย้ายมาเพียงครอบครัวเดียว หลังจากนั้นผู้คนย้ายตามมาจานวนมาก ปัจจุบัน
ครอบครัวท่านได้แยกย้ายกันอยู่ตามหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่
ชื่อภาพ : คุณยา ทองสุข ศรีละวรรณ
ภาพโดย : นางสาวปาลิตา ราชมงคล
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 24
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
2. จังหวัดบุรีรัมย์
ชื่อคุณยายกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 64 หมู่ ที่ 2
ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนจะย้ายมาบ้านโนนเจริญอยู่
บ้านค้อ ตาบลทุ่งวัง อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์
สาเหตุที่ย้ายถิ่นมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญเพราะ ที่อยู่เดิมมีจานวนประชาชนแออัด
หน้าที่การงานไม่ค่อยดี ท่านเดินทางมาโดย สาหรับผู้หญิงมารถทหารส่วนผู้ชายเดินไล่วัว
ไล่ควายมา เดินทางมาที่บ้านโนเจริญใช้เวลา 3 วัน 3 คืน ย้ายมามากกว่า 6 ครอบครัว
ราวปีพ.ศ. 2508 มีผู้ติดตามมาด้วย ดังนี้
1. ครอบครัวคุณตากัญหา นามไพร
2. ครอบครัวคุณเรนู ศรีเจริญ
3. ครอบครัวคุณพ่อนม สูงหางหว้า
4. ครอบครัวคุณตาโม่ง จาปาเหล็ก
5. ครอบครัวคุณยายทองมา เหล็กสี
6. ครอบครัวคุณตาปุ๋ย ศรีนวล
ปัจจุบันได้แยกย้ายกันสร้างครอบครัวและยังอาศัยอยู่ในหมู่บ้านโนนเจริญแต่กระจาย
กันอยู่และให้ข้อมูลว่าราคาที่ดินสร้างบ้านขณะนั้นราคาไร่ละ 150 บาท
ชื่อภาพ : คุณยายกองศรี ศรีเจริญ
ภาพโดย : นายพงศธร บุญครอง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 25
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
3. จังหวัดสุรินทร์
นายบุญเกิด สระหอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 หมู่ที่ 4 ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ
ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ ให้ข้อมูลว่า บิดามารดาของท่านย้ายมาหมู่บ้านโนนเจริญเป็น
กลุ่มที่ 3 โดยมี นายสี ป่าโสม เป็นผู้นาในการย้ายถิ่น ย้ายเข้ามาเมื่อ ปีพ.ศ. 2503 ย้ายถิ่นมา
จาก อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ มาประมาณ 10 ครอบครัว ใช้เกวียนบรรทุกสิ่งของ
สัมภาระมาถึงหมู่บ้านโนนเจริญ พบว่า มีผู้คนอยู่ก่อนแล้ว แต่ไม่มากนักจึงเข้าจับจองที่ดินและ
ทาการบุกเบิกไร่นาเพื่อใช้เป็นที่ทาการเกษตร
กลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาในยุคนี้ มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหมู่บ้านหลายท่านโดยเฉพาะ
บุคคลที่มีนามสกุล จันทร์แก้ว ธรรมนาม จะมีลักษณะความเป็นผู้นาสูง มีความขยัน
และอดออม
ชื่อภาพ : นายบุญเกิด สระหอม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 26
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
4. จังหวัดยโสธร
ชื่อคุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 64 ปี ที่อยู่ปัจจุบัน 51 หมู่ที่ 4 ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ที่อยู่เดิมบ้านคาน้าสร้าง ตาบลครือเหนือ อาเภอเมือง
จังหวัดยโสธร
สาเหตุที่ย้ายถิ่นมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญเพราะที่อยู่เดิมชุนชนแออัด เพื่อหาที่ทากิน
ที่กว้างใหญ่ขึ้นและมีราคาถูกกว่าที่เดิม การเดินทางมาโดยรถบัสประจาทาง มา 7 ครอบครัว
แต่ท่านจาได้แค่ 4 ครอบครัว ดังนี้
1. ครอบครัวยายบุญศรี เศษสุวรรณ
2. ครอบครัวตาสน สมใจ
3. ครอบครัวตาถนอม เหลาทอง
4. ครอบครัวตาหม่อน สมใจ
ชื่อภาพ : คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ
นางสาวอรณิชา คงศิริ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 27
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
5. จังหวัดอุบลราชธานี
ชื่อนางบัวเพลิน เครือคา อายุ 74 ปี ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 99 หมู่ที่ 1
บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ย้ายมาจาก บ้านพอก
ตาบลเกษม อาเภอตะการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ย้ายมาตั้งแต่ พ.ศ 2514
สาเหตุที่ย้ายเพราะว่าสถานที่ทามาหากินคับแคบชุมชนแออัด จึงต้องย้ายมาหา
ที่ทากินใหม่ที่มีราคาถูกกว่าและมีความอุดมสมบูรณ์กว่าย้ายมาราว 40 ปี เดินทางมาโดยรถ
ประจาทาง ย้ายมา เพียงลาพัง 1 ครอบครัว เนื่องจากมีญาติที่ซื้อที่ปลูกบ้านและที่ทากินไว้แล้ว
ในหมู่บ้าน
ชื่อภาพ : บัวเพลิน เครือคา
ภาพโดย : นางสาวอรณิชา คงศิริ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 28
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
6. จังหวัดนครราชสีมา
ชื่อนางดอก ศรีนวล อายุ 70 ปี ที่อยู่ปัจจุบันบ้านเลขที่ 163 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ
ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนจะย้ายมาอยู่บ้านโนนเจริญอยู่จังหวัด
นครราชสีมา เดินทางโดยเกวียนมาราวปี พ.ศ. 2482 เดินทางถึง 8 วัน รวมเวลาที่ย้ายมาที่
บ้านโนนเจริญ 62 ปี
ท่านเล่าประวัติความเป็นมาของการย้ายถิ่นมาที่บ้านโนนเจริญสรุปได้ว่าเมื่อก่อน
อาบ้านกรวดเป็นที่ดินว่างเปล่าพ่อสิมมา พาชื่นใจ ซึ่งเป็นบิดาของนางดอกได้พาครอบครัว
อพยพย้ายถิ่นฐานมาที่ อาเภอบ้านกรวดซึ่งเป็นที่ลาลือว่าเป็นที่อุดมสมบูรณ์น่าอยู่ไร่นาทากิน
เยอะอยากได้เท่าไร่ก็เอาจอบถางเอา โดยมีกานันแมนเป็นผู้นา บ้านเรือนอยู่แบบง่าย ๆโดย
สร้างเป็นกระท่อมมุงหลังคา อยู่ได้ไม่ถึงปีก็มีโจรเขมรมาปล้น เอาวัวควายทรัพย์สิน
ของชาวบ้านไปพ่อสิมมา พ่อขุน พ่อเสมอ นาพักพวกติดตามและแจ้งตารวจที่กิ่งอาเภอ
บ้านกรวดให้นากังลังพลมาช่วยอีกทางหนึ่ง พวกโจรเดินข้ามลาน้าได้ปล่อยวัวควายลงน้ากิน
อาหาร นาปืนมากองรวมกันไว้ใต้ต้นไม้ และฉลองความสาเร็จกันดื่มเหล้าเมามาย
หารู้ไม่ว่า ตารวจที่พ่อสิมมาไปแจ้งไว้ได้นาเจ้าหน้าที่ติดตามมาจนทันและซุ่มอยู่ใกล้ ๆ
มีการสู้รบกันเป็นเวลานานในที่สุดฝ่ายไทยชนะกลุ่มโจรเขมรวิ่งหนี้กระเจิดกระเจิงเข้าป่า ดยใน
ที่สุดชาวบ้านก็ได้ทรัพย์สินกลับคืนมาและได้นาทรัพย์สินไปคืนชาวบ้านหลังจากนั้นเป็นต้นมา
ผู้คนเริ่มอุ่นใจจึงได้เล่าปากต่อปากและชักชวนกันย้ายถิ่นเข้ามาอยู่เริ่มเรื่อย ๆ
จนกลายเป็นสังคมชุมชนขนาดใหญ่ และอบอุ่นในปัจจุบันนี้
ชื่อภาพ : นางดอก ศรีนวล
โดย : นางสาวอรณิชา คงศิริ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 29
สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2546). การจัดการสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.
________. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ :
สานักงานปฏิรูปการศึกษา.
________. (2544 ก). คู่มือหลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
โอ.เอส พริ้นติ้ง เฮาส์.
แหลม พาชื่นใจ และคณะ . (2548). หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่นใจ.
บุรีรัมย์ : เรวัตการพิมพ์.
สมมาตร์ ผลเกิด. (2552). มรดกล้าค่า พัฒนาสู่การเรียนรู้. เอกสารประกอบการอบรม
มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯsompoy
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยNakhon Pathom Rajabhat University
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012Namthip Theangtrong
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์jeeraporn
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 

What's hot (20)

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012การรับรู้และตอบสนอง2012
การรับรู้และตอบสนอง2012
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 

Similar to เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ

เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
5675575757575555755555555555555555555555
56755757575755557555555555555555555555555675575757575555755555555555555555555555
5675575757575555755555555555555555555555BallGamerTV
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นหรร 'ษๅ
 
Open letters to PM Yingluck
Open letters to PM YingluckOpen letters to PM Yingluck
Open letters to PM YingluckCharnvit Ks
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำหรร 'ษๅ
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าnongtaoschool
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาThongsawan Seeha
 

Similar to เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ (17)

เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัย
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
History
HistoryHistory
History
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
5675575757575555755555555555555555555555
56755757575755557555555555555555555555555675575757575555755555555555555555555555
5675575757575555755555555555555555555555
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
 
File
FileFile
File
 
Open letters to PM Yingluck
Open letters to PM YingluckOpen letters to PM Yingluck
Open letters to PM Yingluck
 
เล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำเล่มที่ 3 ผู้นำ
เล่มที่ 3 ผู้นำ
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
 
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
 

More from หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 

More from หรร 'ษๅ (20)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 

เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) บ้านโนนเจริญ บทนา การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม ครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสารวจแล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสือ อ่านเพิ่มเติมเพื่อสะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ ตระหนักให้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจเป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับ เป็นการทาความรู้จักสังคมของตนเอง ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธาน แห่งชาติและความเข้าใจวัฒนธรรมประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคม มนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหา คาตอบด้วยตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่ หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่ง ที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการ ต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจาก หลักฐานทุกชิ้นด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอ ไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้อื่นตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไร ช่วงเวลาใด ที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
  • 2. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 2 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดหัวเรื่อง การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ ในหนังสือเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้ 1. การสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญ 2. ประวัติบ้านโนนเจริญ 3. ชุมชนบ้านโนนเจริญ 4. โนนเจริญของเรา 5. โนนเจริญศึกษา 6. บ้านโนนเจริญ เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 6 เรื่อง บ้านโนนเจริญ โดยให้เหตุผล ว่าเป็นชื่อที่สั้น ชัดเจน เป็นการศึกษาประวัติความเป็นมาเฉพาะเรื่องราวในหมู่บ้านโนนเจริญ จานวน 5 หมู่ จาก 11 หมู่บ้าน ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11 หมู่บ้าน แต่ในหนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 หมู่ในบ้านโนนเจริญ ดังนี้ โนนเจริญ หมู่ที่ 1 โนนเจริญ หมู่ที่ 2 โนนเจริญ หมู่ที่ 3 โนนเจริญ หมู่ที่ 4 โนนเจริญ หมู่ที่ 5
  • 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 3 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554 ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. หนังสือการสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญโดยคณะยุววิจัยประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น กลุ่มที่ 1 2. หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่น 3. เอกสารประกอบการอบรมโดย เรื่อง มรดกล้าค่าพัฒนาสู่การเรียนรู้เอกสาร ประกอบการอบรมโดย รศ.ดร.สมมาตร์ ผลเกิด หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อตีดกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบันรองนายกเทศมลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ 2. นางดอก ศรีนวล อายุ 70 ปี 3. นางบัวเพลิน เครือคา อายุ 74 ปี
  • 4. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 4 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 4. นายเงิน พาชื่นใจ อายุ 60 ปี 5. นายบุญสี เหล็กสี อายุ 49 ปี 6. นางทองสุข ศรีละวรรณ อายุ 89 ปี 7. นางกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี 8. นายบุญเกิด สระหอม อายุ 49 ปี 9. นางบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 64 ปี ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้าน นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว อายุ 64 ปี อตีดกานันตาบลโนนเจริญ คนที่ 2 ปัจจุบันรองนายกเทศ มลตรีเทศบาลตาบลโนนเจริญ นางดอก ศรีนวล อายุ 70 ปี นางบัวเพลิน เครือคา อายุ 74 ปี นายเงิน พาชื่นใจ อายุ 60 ปี นายบุญสี เหล็กสี อายุ 49 ปี นางทองสุข ศรีละวรรณ อายุ 89 ปี นางกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี นายบุญเกิด สระหอม อายุ 49 ปีและนางบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 64 ปี สรุปได้ว่าบ้านโนนเจริญก่อตั้งราวปี พ.ศ. 2493 ประชาชนส่วนใหญ่ย้ายมาหาที่ ทากินใหม่เพราะที่อยู่เดิมแออัด มีที่ทากินไม่เพียงพอ จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า ประชาชนกลุ่มแรกของบ้านโนนเจริญ มีการย้ายถิ่นมาจาก อาเภอพิมาย จังหวัดเมืองนครราชสีมา ประมาณ ปี พ.ศ. 2493 ซึ่งตรงกับ รัชกาลที่ 9 (ขึ้นครองราชย์ ฯ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) บ้านโนนเจริญได้ก่อตั้งหลัง เหตุการณ์รัฐประหาร พ.ศ. 2490 ขณะนั้นมี นายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
  • 5. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 5 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีพร้อมทั้งจัดตั้งคณะรัฐบาล การบริหารงานของรัฐาบลชุดนี้ หย่อนสมรรถภาพ เกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวง (ดนัย ไชยโยธา, 2548, 263) ทาให้ประชาชน ได้รับความเดือดร้อน ซึ่งมีผลมาจากข้อตกลงสมบูรณ์แบบที่ทาไว้กับอังกฤษ ประชาชนจึงหา แหล่งที่ดินทากินใหม่ อพยพถิ่นฐานมุ่งไปที่ชายแดนไทยกัมพูชา แม้ว่าจะเป็นพื้นที่เสี่ยง อันตรายจากโจรเขมร แต่เพื่อที่ดิน ทากินใหม่ ๆ ก็พร้อมที่จะเผชิญ ต่อสู้และสร้างบ้านแปง เมืองจนเป็นชุมชนใหญ่ในปัจจุบัน ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 1. ประชาชกลุ่มแรก ย้ายเข้าเมื่อปี พ.ศ. 2493 ได้มีบุคคลกลุ่มหนึ่งได้เดินทางมาจาก บ้านดอนมัน บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เดินทางมาโดยใช้ เส้นทางลัด ตามทางเกวียนมุ่งหน้าสู่กิ่งอาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ เดินทางด้วยเกวียนเป็น พาหนะทั้งหมด10 เล่ม สาหรับบรรทุกสัมภาระ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2493 เนื่องจาก ได้รับข้อมูลจากสิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ว่าบริเวณชายแดนไทยกัมพูชา มีที่ดินรกร้าง ว่างเปล่ากว้างขวางบ้านเมืองยังไม่เจริญ สัตว์ป่านานาชนิดมากมาย ที่ดินอุดมสมบูรณ์มาก จึง ได้เดินทางจากหมู่บ้านเดิม บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดย
  • 6. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 6 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) การนาของพ่ออึ่ง มารศรี มีบุคคลที่เดินทางติดตามมาด้วย คือ พ่อริน มารศรี พ่อทองดี เนื้อไม้ หอม พ่อพุ่ม ชี้กลาง พ่อหลง สิริสุนทร พ่อหมาก สดชื่น พ่อหม้อ อุยไขพันธุ์ พ่อเหมา เหล็ก ลิ้ม พ่อชอ พาชื่นใจ พ่อสิมมา พาชื่นใจ พ่อสวน พาชื่นใจและพ่อนวล พาชื่นใจ การเดินทางใช้ เวลา 10 วัน 10 คืน ข้ามแม่น้าลาคลองมาเรื่อย ๆ ผ่านบ้านหินลาด พัก 3 วัน ได้รับความ ช่วยเหลือจาก นายแมน แซวประโคน กานันตาบลบ้านกรวด มีข้าราชการตารวจ 2 ท่าน คือ สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน และสิบตารวจเอกประสิทธิ์ ดูแล แนะนา 2. ประชนกลุ่มที่ 2 ย้ายมาจากอาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ หมู่ที่ 2 และขยายไปหมู่ที่ 4 เพื่อออกเรือน 3. ประชนกลุ่มที่ 3 ย้ายมาจากอาเภอสนม จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ หมู่ที่ 2 และขยายไปหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 เพื่อสร้างครอบครัวใหม่ 4. ประชาชนที่ย้ายตามเข้ามาส่วนใหญ่เป็นอีสานตอน เช่น ร้อยเอ็ด สารคาม ยโสธร ส่วนจังหวัดอื่น ๆ มีบาง เช่น ศรีสะเกษและอุบลราชธานี ขั้นตอนที่ 5 การตีความหลักฐาน จากการศึกษาประวัติความเป็นมาบ้านโนนเจริญโดยใช้แบบสอบถามการสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์พบว่า “โนนเจริญ” เป็นหมู่บ้านตั้งใหม่ประมาณ 60 ปี ในยุคที่นายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ประชาชนกลุ่มแรกที่เดินทางเข้ามาบุกเบิกที่ทากินนั้น ได้ย้ายถิ่น
  • 7. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 7 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) มาจากอาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา คาดว่า เป็นเมืองใหญ่ที่มีประชากรหนาแน่น ขาดที่ ทากินเป็นของตนเอง จึงดิ้นรนหาที่ดินทากินประกอบกับรู้จักเจ้าที่ตารวจตระเวนชายแดนว่า มีที่ดินรกร้างว่างเปล่า สามารถจับจองได้โดยไม่ต้องซื้อจึงได้เดินทางมุ่งสู่ชายแดนไทยกัมพูชา โดยไม่เกรงอันตราย กลุ่มที่ 2 ที่เดินทางเข้ามาบ้านโนนเจริญ มีเหตุผล เช่นเดียวกันกับกลุ่มแรก แต่กลุ่มนี้มีการซื้อขายที่ดิน ที่นาละ 10 บาท (ยังไม่รู้จักการขายแบบเป็นไร่) แต่พอถึง กลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 เดินทางเข้ามาบ้านโนนเจริญ พบว่า บ้านเมืองเจริญขึ้นมากแล้ว มีผู้ใหญ่บ้าน มี วัดที่เป็นศูนย์รวมจริงใจ มีโรงเรียน มีถนนและเจ้าที่ของบ้านเมืองเข้ามาดูแล ประชาชนจึงรู้สึก ปลอดภัยยิ่งขึ้น มีการซื้อขายที่ดินที่แพงขึ้นเนื่องจากกลุ่มหลังๆ ที่ย้ายเข้ามานั้นได้ย้ายมาจาก ถิ่นที่เจริญแล้ว มีทรัพย์สินที่สามารถขายได้และนามาลงทุนที่บ้านโนนเจริญ ประชาชนกลุ่มนี้ รู้จักการแบ่งขายที่ดินที่มีหน่วยเป็นไร่ เมื่อมีคนจากหลายจังหวัดมาอยู่รวมกัน ด้วยประเพณี ความเชื่อ ภาษา ที่แตกต่างกัน อาจก่อปัญหาความขัดแย้ง ผู้นาชุมชนจึงหากลยุทธ์ในการสร้างความรัก ความสามัคคี โดยใช้ ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อของท้องถิ่น เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจให้ประชาชนทุกหมู่เหล่า สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา
  • 8. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 8 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ .............................................................. ความเป็นมาของจังหวัดบุรีรัมย์ บุรีรัมย์ เป็นเมืองแห่งความรื่นรมย์ตามความหมายของชื่อเมืองที่น่าอยู่ และเป็น เมืองที่น่ามาเยือนสาหรับคนต่างถิ่น เมืองปราสาทหินในจังหวัดบุรีรัมย์มากมีไปด้วยปราสาท หินใหญ่น้อยอัน หมายถึง ความรุ่งเรืองการอยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาแต่อดีตปรากฏหลักฐานชัดเจน ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ว่าบุรีรัมย์มีฐานะเป็น เมือง ๆ หนึ่ง เรียกว่า เมืองแปะ ประมาณปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหรือต้น รัชกาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เปลี่ยนชื่อ เมืองแปะเป็น บุรีรัมย์ ด้วย ปรากฏว่าได้มีการแต่งตั้ง พระสาแดงฤทธิรงค์เป็นพระนครภักดีศรีนครา ผู้สาเร็จราชการ เมืองบุรีรัมย์ ขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา ต่อมาได้มีการตรา พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร แห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 ขึ้น ยุบมณฑลนครราชสีมาจัดระเบียบบริหารราชการ ส่วนภูมิภาคออกเป็นจังหวัด และอาเภอ เมืองบุรีรัมย์จึงมีฐานะเป็น จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา 1. บุรีรัมย์ในสมัยอยุธยา เมืองบุรีรัมย์ในสมัยนี้ มีหัวเมืองที่สาคัญ 3 แห่ง คือ เมืองพุทไธสง เมืองตลุง (อาเภอประโคนชัยในปัจจุบัน) เมืองนางรอง อยู่ใต้อานาจการปกครองของกรุงศรีอยุธยา โดยขึ้นกับข้าหลวงใหญ่เมืองนครราชสีมา ซึ่งเป็นข้าหลวงต่างพระองค์ ในรัชสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชได้แต่งตั้งพระยายมราช (สังข์) ครองเมืองนครราชสีมา มีเมืองขึ้น 5 เมือง คือ นครจันทึก ชัยภูมิ พิมาย เมืองแปะและนางรอง 2. บุรีรัมย์ในสมัยธนบุรี
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 9 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ในปี พ.ศ. 2321 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เจ้าเมือง นางรองคบคิดกับเจ้าโอ เจ้าอิน เจ้าเมืองจาปาศักดิ์ พากันแข็งเมือง สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชจึงโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาจักรี (พระยศของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ขณะนั้น) ยกกองทัพมาเกลี้ยกล่อมแต่ไม่สาเร็จ จึงยกทัพเข้าปราบปราม ในการยกทัพ ไปในครั้งนั้นระหว่างเดินทัพกลับจากเมืองจาปาศักดิ์ เจ้าพระยาจักรีได้พบเมืองไผทสมัน (หรืประทาสมัน) เห็นว่าบริเวณเมืองร้างนี้มีชัยภูมิดี มีคูน้าคันดินใช้ป้องกันข้าศึกศัตรูได้เป็น อย่างดี เหมาะที่จะได้สร้างบ้านแปลงเมืองขึ้นใหม่ให้เป็นปึกแผ่น จึงแต่งตั้งบุตรเมืองไผทสมัน เป็นเจ้าเมืองมีศูนย์กลางการปกครองอยู่บริเวณที่ตั้งศาลหลักเมืองบุรีรัมย์ในปัจจุบัน และ บริเวณนั้นมีต้นไม้ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งชาวบ้านเรียกว่า ต้นแปะ จึงตั้งชื่อเมืองที่ตั้งขึ้นใหม่นั้น ว่าเมืองแปะตั้งแต่นั้นมา ประกอบดินแดนแถวนี้นี้มีภัยจากเขมร ที่มักยกทัพมาตีไทยเสมอเมื่อไทยทาสงครามกับพม่า เจ้าพระยาจักรีจึงมีบัญชาให้ชักชวนชาว เขมรป่าดงให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานกันมากขึ้น จากนั้นชาวเขมรป่าดงจึงได้ทยอยอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เมืองตลุง และเมืองร้าง บริเวณลาห้วยจระเข้มาก อันประกอบด้วยบ้านโคกหัวช้าง บ้านทะมาน (ปัจจุบันคือที่ตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ) จากสภาพภูมิประเทศของเมืองแปะที่มี แหล่งน้าอุดมสมบูรณ์อยู่ใกล้กับประเทศกัมพูชา มีช่องทางที่สามารถใช้ในการคมนาคม ในการติดต่อค้าขายในยามสงครามสงบกับประเทศกัมพูชาและเมืองต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่บริเวณ ลาห้วยจระเข้มาก จึงเป็นแรงดึงดูดให้ประชาชนจากท้องที่อื่น ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ที่เมืองแปะอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นเมืองขนาดใหญ่และมีความสาคัญในทางยุทธศาสตร์ ทาให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นมั่นคงเป็นลาดับ 3. บุรีรัมย์ในสมัยรัตนโกสินทร์
  • 10. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 10 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ในปี พ.ศ. 2370 ตรงกับรัชกาลสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เจ้า อนุวงศ์ ผู้ปกครองเมืองเวียงจันทร์ ยกกองทัพมาตีหัวเมืองต่าง ๆ รวมทั้งเมืองแปะและเมือง นางรอง พระนครภักดี (หงส์) เจ้าเมืองแปะ ได้ต่อสู้แต่ไม่สามารถต้านทานกองทัพของเจ้า อนุวงศ์ ได้ จึงหลบหนีไป กองทัพเวียงจันทร์ตามไปทันที่ช่องเสม็ด บริเวณเทือกเขาบรรทัด พรมแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา และนาไปจาจองที่ค่ายราชวงศ์ ณ ทุ่งสุวรรณภูมิ (ปัจจุบัน เป็นหนึ่งในจังหวัดร้อยเอ็ด) คืนวันหนึ่งพระนครภักดีได้คบคิดกับชาวเมืองแปะลุกขึ้นต่อสู้ จึง ถูกฆ่าตายหมดเหลือแต่พระนครภักดี ซึ่งเป็นผู้มีวิชาคงกระพันฟันแทงไม่เข้าทหารจึงเอาหลาว เสียบแทงเข้าทางทวารหนักจนถึงแก่ความตาย นับได้ว่าเป็นผู้ที่มีจิตใจกล้าหาญ มีความ จงรักภักดีต่อพื้นแผ่นมาตุภูมิเป็นอย่างยิ่ง (เอกสารประกอบการอบรมโครงการ “มรดกล้าค่า พัฒนาสู่การเรียนรู้” โดยรองศาสตรา ดร.สมมาตร ผลเกิด คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์) จากการศึกษาประวัติ ความเป็นมาของจังหวัดบุรีรัมย์ พบว่า ประชาชนกลุ่มแรก ของบ้านโนนเจริญ มีการย้ายถิ่นมาจาก อาเภอพิมาย จังหวัดเมืองนครราชสีมา ประมาณ ปี พ.ศ. 2493 ซึ่งตรงกับรัชกาลที่ 9 (ขึ้นครองราชย์ ฯ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) บ้านโนนเจริญได้ก่อตั้งหลังเหตุการณ์รัฐประหาร พ.ศ. 2490 ขณะนั้นมี นายควง อภัยวงศ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีพร้อมทั้งจัดตั้งคณะรัฐบาล การบริหารงานของรัฐาบลชุดนี้หย่อนสมรรถภาพ เกิดการฉ้อราษฎร์บังหลวง (ดนัย ไชยโยธา, 2548, 263) ทาให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน ซึ่งมีผลมาจากข้อตกลงสมบูรณ์แบบที่ทาไว้ กับอังกฤษ ประชาชนจึงหาแหล่งที่ดินทากินใหม่ อพยพถิ่นฐานมุ่งไปที่ชายแดนไทยกัมพูชา แม้ว่าจะเป็นพื้นที่เสี่ยงอันตรายจากโจรเขมร แต่เพื่อที่ดิน ทากินใหม่ ๆ ก็พร้อมที่จะเผชิญ ต่อสู้ และสร้างบ้านแปงเมืองจนเป็นชุมชนใหญ่ในปัจจุบัน การสร้างบ้านแปงเมืองบ้านโนนเจริญนั้น เกิดจากการย้ายถิ่นฐานมารวมกัน
  • 11. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 11 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ของประชาชนจากทั่วสารทิศ โดยมีจุดประสงค์เดียวกันคือ เพื่อมาบุกเบิกแผ่นดินที่รกร้าง ว่างเปล่า เพื่อทาการเกษตรใช้ประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองและครอบครัว ข้อมูลดังกล่าวได้จาก บุคคลสาคัญหลายท่าน ดังนี้ นายแหลม พาชื่นใจ และคณะ ( 2548, 4-8) นายแหลม พาชื่นใจ อายุ 74 ปี ได้รวบรวมข้อมูลประวัติ ความเป็นมา ของการก่อตั้งบ้านโนนเจริญ โดยการประชุมคัดกรอง เนื้อหาสาระจากบุคคลหลายอาชีพ เพื่อจัดทาเป็นหนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิ พ่อสิมมา พา ชื่นใจ ในวันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2548 ไว้ว่า เมื่อปี พ.ศ. 2493 ได้มีบุคคลกลุ่มหนึ่งได้ เดินทางมาจากบ้านดอนมัน บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เดินทางมาโดยใช้เส้นทางลัด ตามทางเกวียนมุ่งหน้าสู่กิ่งอาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ เดินทางด้วยเกวียนเป็นพาหนะทั้งหมด10 เล่ม สาหรับบรรทุกสัมภาระ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2493 เนื่องจากได้รับข้อมูลจากสิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ว่าบริเวณชายแดนไทย กัมพูชา มีที่ดินรกร้างว่างเปล่ากว้างขวางบ้านเมืองยังไม่เจริญ สัตว์ป่านานาชนิดมากมาย ที่ดิน อุดมสมบูรณ์มาก จึงได้เดินทางจากหมู่บ้านเดิม บ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา โดยการนาของพ่ออึ่ง มารศรี มีบุคคลที่เดินทางติดตามมาด้วย คือ พ่อริน มารศรี พ่อทองดี เนื้อไม้หอม พ่อพุ่ม ชี้กลาง พ่อหลง สิริสุนทร พ่อหมาก สดชื่น พ่อหม้อ อุย ไขพันธุ์ พ่อเหมา เหล็กลิ้ม พ่อชอ พาชื่นใจ พ่อสิมมา พาชื่นใจ พ่อสวน พาชื่นใจและพ่อนวล พาชื่นใจ การเดินทางใช้เวลา 10 วัน 10 คืน ข้ามแม่น้าลาคลองมาเรื่อย ๆ ผ่านบ้านหินลาด พัก 3 วัน ได้รับความช่วยเหลือจาก นายแมน แซวประโคน กานันตาบลบ้านกรวด มี ข้าราชการตารวจ 2 ท่าน คือ สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน และสิบตารวจเอกประสิทธิ์ ดูแล แนะนา และเป็นผู้นาทางจนมาถึงที่ตั้งบ้านโนนเจริญในปัจจุบันได้ชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านหนอง เจริญ” ตามลักษณะภูมิประเทศที่มีหนองน้าที่อุดมสมบูรณ์ ถึง 4 แห่ง ต่อมา ราวปี พ.ศ. 2502 นายชื่น ไมยรัตน์ นายอาเภอบ้านกรวด ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “บ้านโนนเจริญ” ด้วยเหตุผลว่า หนองน้าทั้ง 4 แห่ง มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปเรื่อย ๆ ไม่เหมือนเดิม
  • 12. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 12 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) แหล่งสาคัญทั้ง 4 แห่ง มีชื่อเรียกต่างกัน ดังนี้ 1. หนองกังหันหนองสิม ปัจจุบันอยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน 2. หนองตระลอก ปัจจุบันอยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน 3. หนองสังข์ ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน 4. หนองบ้าน (หนองหลวงปู่ฌาน) ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของหมู่บ้าน ชื่อภาพ : แหล่งน้าสาคัญ ทั้ง 4 แหล่งเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้าน ภาพโดย : นายอภิชาญ ฉลาดล้น
  • 13. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 13 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) นายเงิน พาชื่นใจ อายุ 60 ปี ท่านเป็นบุตรของนายสิมมา พาชื่นใจ ปัจจุบัน ดารงตาแหน่ง สมาชิกอบต. หมู่ที่ 1 ตาบลโนนเจริญให้สัมภาษณ์ว่า ท่านเกิดที่โนนเจริญในปี ที่บิดา มารดาย้ายมาถึงหมู่บ้านโนนเจริญพอดีคือปี 2493 จึงไม่ได้ร่วมเดินทางขณะย้ายถิ่นมา จากบ้านห้วยเหี้ย ตาบลชีวาน อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา แต่ได้เป็นสมาชิกในวันที่มี การประชุม คัดกรองเนื้อหาสาระเพื่อจัดทาเป็นหนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิ พ่อสิมมา พา ชื่นใจ ในวันอาทิตย์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2548 จึงรู้รายละเอียด การย้ายถิ่นฐานของบิดา มารดา และเพื่อนบ้าน โดยคาชักชวนของสิบตารวจโทนาม ทัวประโคน ให้ย้ายถิ่นเพื่อหาที่ ทากินใหม่ ขณะมาถึงหมู่บ้านโนนเจริญนั้นไม่มีผู้คนอาศัยอยู่ก่อนเลย เป็นประชาชนกลุ่มแรกที่ เดินทางมาถึงและเป็นกลุ่มแรกที่บุกเบิกที่ทากิน จานวน 10 ครอบครัว ชื่อภาพ : นายเงิน พาชื่นใจ ภาพโดย : นายอภิชาญ ฉลาดล้น
  • 14. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 14 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) หลังปี พ.ศ. 2500 บ้านโนนเจริญมีประชาชนอีกหลายกลุ่มย้ายเข้าอีกหลายจังหวัด โดยคาดหวังว่าจะมีที่ทากินเป็นของตนเองหรือหาที่อยู่ใหม่ที่กว้างใหญ่กว่าเดิม กลุ่มคนที่ เข้ามาแรก ๆ จะได้พื้นที่ทากินมาโดยการเถ้าถาง แต่กลุ่มที่ตามมาต้องซื้อขายที่ดิน จากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องในหมู่บ้านพอสรุปได้ดังนี้ นายบุญสี เหล็กสี อายุ 49 ปี (ปี พ.ศ. 2552) ปัจจุบันเป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 ให้ข้อมูลว่า นายอ่อนสา เหล็กสี เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 1 ของบ้านโนนเจริญ เกี่ยวข้อง กับตนเอง เพราะท่านเป็น คุณลุงได้ย้ายถิ่นฐานจากบ้านกอก อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นประชาชนกลุ่มที่ 2 ที่เดินทางมาถึงบ้านโนนเจริญ เหตุผลที่ได้เป็นผู้ใหญ่บ้านเนื่องจาก ความสามัคคีของประชาชนที่ย้ายมาพร้อมกันมีจานวนมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ จึงได้รับการเสนอชื่อ และรับเลือกเป็นผู้นาหมู่บ้านคนแรก ชื่อภาพ : นายบุญสี เหล็กสี ภาพโดย : นายอภิชาญ ฉลาดล้น
  • 15. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 15 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2494 ได้มีผู้ย้ายถิ่นมาจากต่างจังหวัดเพิ่มขึ้นเป็นลาดับประมาณ 30 ครอบครัว เจ้าหน้าที่อาเภอ เจ้าหน้าที่จากสถานีตารวจภูธรอาเภอบ้านกรวด ตารวจ ตระเวรชายแดนชื่อ สิบตารวจโทนาม ทัวประโคน และกานันแมน แซวประโคน ได้มาเยี่ยมประชาชนชาวบ้านโนนเจริญ แล้วย้ายที่ตั้งหมู่บ้านที่เก่าบริเวณทุ่งหญ้าป่าทึบ (ปัจจุบันคือที่ตั้งหมู่ 4) ไปที่ใหม่ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งวัดสุภัทรบูรพาราม) ตั้งชื่อว่าบ้านหนอง เจริญ แปลว่า บ้านหนองหลาย เพราะมีหนองนาถึง 4 แห่ง ทาให้มีความอุดมสมบูรณ์ (ปัจจุบันนี้ได้ถูกพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปแล้ว) แล้วชาวบ้านได้ตั้งสานักสงฆ์ขึ้น 1 หลัง ชื่อว่าวัด บ้านโนนเจริญ (ปัจจุบันชื่อว่า วัดสุภัทรบูรพาราม) เมื่อปี พ.ศ. 2502 ได้นิมนต์พระสงฆ์ จากกิ่งอาเภอบ้านกรวด จานวน 5 รูป มีหลวงพ่อตั้ง เป็นเจ้าอาวาส มีนายอ่อนสา เหล็กสี เป็นผู้นาในการพัฒนา ดูแลลูกบ้านโดยใช้หลักธรรมในการปกครอง ริเริ่มงานใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาการอยู่ดี กินดีของลูกบ้านเท่าที่จะทาได้ เช่น ขุดบ่อน้าให้ลึกให้มีน้าไว้เพียงพอ สาหรับดื่มในหน้าแล้ง สร้างครกกระเดื่องแทนครกมือเพื่อให้ได้ปริมาณข้าวสารมากขึ้น การสร้างศาลาการเปรียณในวัดตามค่านิยมและความเชื่อของคนอีสาน (ภาษาถิ่นลาว) ที่ชอบสร้างอาคารหลังใหญ่ ใต้ถุนสูง หลังคาเหลี่ยมต่า เพื่อใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย พระสงฆ์ทากิจของสงฆ์บนศาลา ส่วนใต้ถุนศาลาใช้สาหรับเป็นที่ประชุมของชาวบ้าน
  • 16. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 16 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน การที่คนเราจะมาอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นชุมชนได้นั้นต้องมาจากหลากหลายถิ่นกาเนิด แต่เมื่อมาอยู่ร่วมกันแล้วก็ต้องตั้งถิ่นฐานขึ้นใหม่จนเกิดเป็นชุมชน ปัจจุบันมีชุมชนหลายแห่ง อาจเกิดจากครัวเรือนมาเป็นหมู่บ้านจนกระทั่งเป็นตาบลเป็นอาเภอหรือจังหวัดก็ได้ ดังนั้นเมื่อ มาอยู่ร่วมกันเราก็ควรจะมีผู้นาหมู่บ้านหรือชุมชนรวมถึงการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การศึกษาเรื่องของหมู่บ้านจึงจาเป็นอย่างยิ่งเพื่อสะท้อนถึงเอกลักษณ์ชองชุมชนซึ่งในเล่มนี้จะ กล่าวถึงประวัติหมู่บ้านในหมู่บ้านโนนเจริญ จานวน 5 หมู่บ้าน 1. ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตาบลโนนเจริญ บ้านโนนเจริญเดิมอยู่ในการปกครองตาบลบ้านกรวด เป็นหมู่บ้านที่มีเนินภูเขาเล็ก ๆ ตรงกลางหมู่บ้าน (ปัจจุบัน คือ บริเวณวัดบ้านโนนเจริญ) มีสระน้าโบราณใหญ่ 2 แห่ง ชื่อว่า สระหนองสังข์และสระบ้าน ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีต้นไม้มากมาย มีทางเดิน ของสัตว์ป่าลงมาดื่มน้าในสระเป็นประจา ชาวบ้านจึงพากันเรียกเนินเล็ก ๆ นี้ว่า “โนนเจริญ” ตามลักษณะความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ ต่อมาได้แยกตั้งเป็นตาบลโนนเจริญ เมื่อปี พ.ศ. 2497 เทศบาลตาบลโนนเจริญเดิมเป็นสภาตาบลโนนเจริญ ต่อมามีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะ ของสภาตาบล พ.ศ.2537 เป็นผลให้สภาตาบลโนนเจริญเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นองค์การบริหาร ส่วนตาบลโนนเจริญ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2540 และกระทรวงมหาดไทยประกาศให้องค์การ บริหารส่วนตาบลโนนเจริญยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลโนนเจริญ ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2552 เทศบาลตาบลโนนเจริญมีอาคารสานักงานสาหรับใช้บริการประชาชนที่มาติดต่อ ราชการได้ด้วยความสะดวก สานักการทางานตั้งอยู่ที่เลขที่ 95 หมู่ที่ 1 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ (http://www.thaitambon.com) ปีพ.ศ. 2493 ก่อตั้งหมู่บ้านชื่อว่า บ้านโนนเจริญ ปีพ.ศ. 2537 ยกฐานะเป็น ตาบลโนนเจริญ ปีพ.ศ. 2552 ยกฐานะเป็น เทศบาลตาบลโนนเจริญ ตามพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496
  • 17. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 17 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ผู้นาหมู่บ้าน ผู้นาหมู่บ้านคนแรก ตาแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน ชื่อนายอ่อนสา เหล็กสี ผู้นาระดับตาบลคนที่ 1 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายนวล พาชื่นใจ ผู้นาระดับตาบลคนที่ 2 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายมุข ศักดิ์ศรีท้าว ผู้นาระดับตาบลคนที่ 3 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายซาน พายุพัด ผู้นาระดับตาบลคนที่ 4 ตาแหน่งกานัน ชื่อนายประกาย ศรีเหมือน (2554-ปัจจุบัน) ผู้นาระดับตาบล ตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นคนที่ 1 ชื่อนายสาลี ธรรมนาม ตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นคนที่ 2 ชื่อนายสมศักดิ์ สุมาลี ผู้นาระดับเทศบาลตาบล ตาแหน่งนายกเทศมนตรี คนที่ 1 ชื่อนายสมศักดิ์ สุมาลี ( พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน) ชื่อภาพ : องค์การบริหารส่วนตาบลโนนเจริญ
  • 18. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 18 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 2. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 มีประชาชนย้ายถิ่นมากลุ่มแรก จานวน 10 ครอบครัว ตั้งชื่อตามลักษณะภูมิประเทศที่มีแหล่งน้าตามธรรมชาติหลายแห่งว่า “บ้านหนองเจริญ” ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นบ้านโนนเจริญ ด้วยเหตุผลว่าหนองน้าทั้ง 4 แห่ง มีการเปลี่ยนแปลง รูปร่างไปเรื่อย ๆ ไม่เหมือนเดิม ซึ่งมีตามลักษณะภูมิประเทศที่มีภูเขาลูกเล็ก ๆ อยู่ใจกลาง หมู่บ้านและบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 เป็นหมู่บ้านที่อยู่ใจกลางของหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่ จึงให้ ความสาคัญลักษณะภูมิประเทศที่มีภูเขาลูกเล็ก ๆ บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ มีผู้นาหมู่บ้านคนแรก ตาแหน่งผู้ใหญ่บ้าน ชื่อนายอ่อนสา เหล็กสี ผู้นาตาแหน่งกานัน ปกครองหมู่บ้าน จานวน 2 คน คือ นายนวล พาชื่นใจและนายซาน พายุพัด ปัจจุบัน นายประกาศิต กัญหา รับตาแหน่งผู้ใหญ่บ้านปี พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน ประชากร 965 ครัวเรือน
  • 19. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 19 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 2. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ หมู่ 2 เป็นหมู่บ้านเดียวกันกับบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 เนื่องจากมีการ ย้ายถิ่นเข้ามาจานวนมาก หลังปี พ.ศ. 2500 บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 1 มีครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ประมาณ 200 หลังคาเรือน จึงได้แยกตัวเป็นหมู่ที่ 2 เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2516 ในการ แยกตัวครั้งนั้นมีจานวนครัวเรือนทั้งหมด 70 หลังคาเรือน เมื่อได้ตั้งตัวเป็นหมู่บ้านแล้วได้มีการ เลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านคนใหม่ ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกคือ นายประมุข ศักดิ์ศรีท้าว นอกจากท่านจะ ได้รับคัดเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้านแล้วท่านยังได้รับการคัดเลือกเป็นกานันประจาตาบลโนนเจริญ มา จนถึงปัจจุบัน
  • 20. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 20 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 3. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 3 แยกออกจากหมู่ที่ 1 เป็นหมู่ที่ 17 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 3 มีการย้ายถิ่นมาจากนครราชสีมา เช่นเดียวกับบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 1 และมีการย้ายถิ่นเพิ่มมา เรื่อยจากจังหวัดมหาสารคาม ร้อยเอ็ดและอาเภอตึก จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อแยกออกจากโนน เจริญหมู่ที่ 1 มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านคนแรกชื่อนายแถว เล็กสิงโต เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 17 ในขณะนั้นบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 3 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,300ไร่ มีทั้งหมด 160 หลังคาเรือน มี ประชากรทั้งหมด 835 คน เพื่อให้การแบ่งเขตดูแลให้ง่ายยิ่งขึ้นตาบลโนนเจริญแยกออกจาก ตาบลบ้านหินลาดจึงแบ่งเขตใหม่เป็นหมู่ที่ 3 ผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 ชื่อนายไพศาล ทันไธสง เมื่อเกษียณอายุได้มีการเลือกตั้งใหม่ นายสนับ ศิลป์โสภา เป็นผู้ใหญ่บ้านจนถึงปัจจุบัน
  • 21. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 21 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 4. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 4 จากการสัมภาษณ์นายจันทร์ภูมิ วงศ์อามาตย์ ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานเป็นคนแรกในหมู่ ที่ 4 ในปี พ.ศ.2514 เพื่อบุกเบิกที่ดินทากิน ครอบครัวแรกที่ย้ายถิ่นเข้ามาได้ย้ายมาจาก จังหวัดสุรินทร์และทยอยย้ายตามกันมาจากทั่วสารทิศตามคาชวนของเพื่อนบ้านที่ย้ายมาก่อน และซื้อที่ดินต่อ ๆ กันมา บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 แยกออกจากหมู่ที่ 2 ผ่านมา 40 ปี ซึ่งหมู่ที่ 4 ในขณะนั้นยังคงเป็นป่ารกทึบ มีความอุดมสมบูรณ์ทั้งพืชผัก สัตว์ป่ามากมาย หลังจากนั้นมีผู้คนเข้ามาอาศัยอยู่เป็นจานวนมากจึงแยกตัวออกจาก บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 2 เป็นบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 4 ปัจจุบัน มีจานวน 144 หลังคาเรือน มีประชากรทั้งหมด 652 คน
  • 22. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 22 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 5. ประวัติความเป็นมาของบ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 5 หลังปี พ.ศ. 2500 มีประชากรย้ายถิ่นเข้ามาบุกเบิกที่ทากินจานวนมากประมาณ ปี พ.ศ. 2516 หมู่บ้านโนนเจริญ มีประชากรและครัวเรือนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมีนโยบาย ให้แยกบ้านโนนเจริญหมู่ที่ 2 ออกเป็นหมู่ที่ 15 เมื่อปีพ.ศ. 2537 บ้านโนนเจริญยกฐานะ เป็นตาบลโนนเจริญ จึงแบ่งเขตการปกครองใหม่ให้ง่ายแก่การปกครองเป็น บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 5 มีผู้ใหญ่คนแรกชื่อนายจิระศักดิ์ แสงแก้ว นายสน ช่องาม เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายบุญช่วย เกสรชื่น เป็นผู้ใหญ่บ้านคนที่ 3 และนายอุทร ธรรมนามเป็นผู้ใหญ่บ้านคน ปัจจุบัน บ้านโนนเจริญหมู่ที่ 5 มี 207 หลังคาเรือน มีประชากรทั้งหมด 960 คน
  • 23. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 23 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ตัวอย่างบุคคลที่ย้ายถิ่นเข้ามาบ้านโนนเจริญ 1. จังหวัดร้อยเอ็ด ชื่อคุณยายทองสุข ศรีละวรรณ อายุ 89 ปี ที่อยู่ 65 หมู่ 2 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนจะย้ายบ้านโนนเจริญอยู่ที่ อาเภอพนมไพร ตาบลหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด สาเหตุที่ย้ายบ้านเพราะที่อยู่มันคับแคบที่นาเล็กที่ทากินไม่พอต่อประชาชนจึงทาให้ คุณยายย้ายไปที่อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ โดยอาศัย เกวียนเป็นพาหนะ เมื่อมาถึงอาเภอส ตึกพบปัญหามีโจรจานวนมาก จึงต้องย้ายถิ่นฐานมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญราวปี พ.ศ. 2508 ขณะนั้นย้ายมาเพียงครอบครัวเดียว หลังจากนั้นผู้คนย้ายตามมาจานวนมาก ปัจจุบัน ครอบครัวท่านได้แยกย้ายกันอยู่ตามหมู่บ้านทั้ง 5 หมู่ ชื่อภาพ : คุณยา ทองสุข ศรีละวรรณ ภาพโดย : นางสาวปาลิตา ราชมงคล
  • 24. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 24 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 2. จังหวัดบุรีรัมย์ ชื่อคุณยายกองศรี ศรีเจริญ อายุ 75 ปี ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 64 หมู่ ที่ 2 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนจะย้ายมาบ้านโนนเจริญอยู่ บ้านค้อ ตาบลทุ่งวัง อาเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ สาเหตุที่ย้ายถิ่นมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญเพราะ ที่อยู่เดิมมีจานวนประชาชนแออัด หน้าที่การงานไม่ค่อยดี ท่านเดินทางมาโดย สาหรับผู้หญิงมารถทหารส่วนผู้ชายเดินไล่วัว ไล่ควายมา เดินทางมาที่บ้านโนเจริญใช้เวลา 3 วัน 3 คืน ย้ายมามากกว่า 6 ครอบครัว ราวปีพ.ศ. 2508 มีผู้ติดตามมาด้วย ดังนี้ 1. ครอบครัวคุณตากัญหา นามไพร 2. ครอบครัวคุณเรนู ศรีเจริญ 3. ครอบครัวคุณพ่อนม สูงหางหว้า 4. ครอบครัวคุณตาโม่ง จาปาเหล็ก 5. ครอบครัวคุณยายทองมา เหล็กสี 6. ครอบครัวคุณตาปุ๋ย ศรีนวล ปัจจุบันได้แยกย้ายกันสร้างครอบครัวและยังอาศัยอยู่ในหมู่บ้านโนนเจริญแต่กระจาย กันอยู่และให้ข้อมูลว่าราคาที่ดินสร้างบ้านขณะนั้นราคาไร่ละ 150 บาท ชื่อภาพ : คุณยายกองศรี ศรีเจริญ ภาพโดย : นายพงศธร บุญครอง
  • 25. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 25 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 3. จังหวัดสุรินทร์ นายบุญเกิด สระหอม อายุ 49 ปี บ้านเลขที่ 112 หมู่ที่ 4 ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ ให้ข้อมูลว่า บิดามารดาของท่านย้ายมาหมู่บ้านโนนเจริญเป็น กลุ่มที่ 3 โดยมี นายสี ป่าโสม เป็นผู้นาในการย้ายถิ่น ย้ายเข้ามาเมื่อ ปีพ.ศ. 2503 ย้ายถิ่นมา จาก อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ มาประมาณ 10 ครอบครัว ใช้เกวียนบรรทุกสิ่งของ สัมภาระมาถึงหมู่บ้านโนนเจริญ พบว่า มีผู้คนอยู่ก่อนแล้ว แต่ไม่มากนักจึงเข้าจับจองที่ดินและ ทาการบุกเบิกไร่นาเพื่อใช้เป็นที่ทาการเกษตร กลุ่มคนที่ย้ายเข้ามาในยุคนี้ มีอิทธิพลต่อการพัฒนาหมู่บ้านหลายท่านโดยเฉพาะ บุคคลที่มีนามสกุล จันทร์แก้ว ธรรมนาม จะมีลักษณะความเป็นผู้นาสูง มีความขยัน และอดออม ชื่อภาพ : นายบุญเกิด สระหอม
  • 26. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 26 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 4. จังหวัดยโสธร ชื่อคุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ อายุ 64 ปี ที่อยู่ปัจจุบัน 51 หมู่ที่ 4 ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ที่อยู่เดิมบ้านคาน้าสร้าง ตาบลครือเหนือ อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร สาเหตุที่ย้ายถิ่นมาอยู่ที่บ้านโนนเจริญเพราะที่อยู่เดิมชุนชนแออัด เพื่อหาที่ทากิน ที่กว้างใหญ่ขึ้นและมีราคาถูกกว่าที่เดิม การเดินทางมาโดยรถบัสประจาทาง มา 7 ครอบครัว แต่ท่านจาได้แค่ 4 ครอบครัว ดังนี้ 1. ครอบครัวยายบุญศรี เศษสุวรรณ 2. ครอบครัวตาสน สมใจ 3. ครอบครัวตาถนอม เหลาทอง 4. ครอบครัวตาหม่อน สมใจ ชื่อภาพ : คุณยายบุญศรี เศษสุวรรณ นางสาวอรณิชา คงศิริ
  • 27. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 27 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 5. จังหวัดอุบลราชธานี ชื่อนางบัวเพลิน เครือคา อายุ 74 ปี ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 99 หมู่ที่ 1 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ย้ายมาจาก บ้านพอก ตาบลเกษม อาเภอตะการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ย้ายมาตั้งแต่ พ.ศ 2514 สาเหตุที่ย้ายเพราะว่าสถานที่ทามาหากินคับแคบชุมชนแออัด จึงต้องย้ายมาหา ที่ทากินใหม่ที่มีราคาถูกกว่าและมีความอุดมสมบูรณ์กว่าย้ายมาราว 40 ปี เดินทางมาโดยรถ ประจาทาง ย้ายมา เพียงลาพัง 1 ครอบครัว เนื่องจากมีญาติที่ซื้อที่ปลูกบ้านและที่ทากินไว้แล้ว ในหมู่บ้าน ชื่อภาพ : บัวเพลิน เครือคา ภาพโดย : นางสาวอรณิชา คงศิริ
  • 28. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 28 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 6. จังหวัดนครราชสีมา ชื่อนางดอก ศรีนวล อายุ 70 ปี ที่อยู่ปัจจุบันบ้านเลขที่ 163 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนจะย้ายมาอยู่บ้านโนนเจริญอยู่จังหวัด นครราชสีมา เดินทางโดยเกวียนมาราวปี พ.ศ. 2482 เดินทางถึง 8 วัน รวมเวลาที่ย้ายมาที่ บ้านโนนเจริญ 62 ปี ท่านเล่าประวัติความเป็นมาของการย้ายถิ่นมาที่บ้านโนนเจริญสรุปได้ว่าเมื่อก่อน อาบ้านกรวดเป็นที่ดินว่างเปล่าพ่อสิมมา พาชื่นใจ ซึ่งเป็นบิดาของนางดอกได้พาครอบครัว อพยพย้ายถิ่นฐานมาที่ อาเภอบ้านกรวดซึ่งเป็นที่ลาลือว่าเป็นที่อุดมสมบูรณ์น่าอยู่ไร่นาทากิน เยอะอยากได้เท่าไร่ก็เอาจอบถางเอา โดยมีกานันแมนเป็นผู้นา บ้านเรือนอยู่แบบง่าย ๆโดย สร้างเป็นกระท่อมมุงหลังคา อยู่ได้ไม่ถึงปีก็มีโจรเขมรมาปล้น เอาวัวควายทรัพย์สิน ของชาวบ้านไปพ่อสิมมา พ่อขุน พ่อเสมอ นาพักพวกติดตามและแจ้งตารวจที่กิ่งอาเภอ บ้านกรวดให้นากังลังพลมาช่วยอีกทางหนึ่ง พวกโจรเดินข้ามลาน้าได้ปล่อยวัวควายลงน้ากิน อาหาร นาปืนมากองรวมกันไว้ใต้ต้นไม้ และฉลองความสาเร็จกันดื่มเหล้าเมามาย หารู้ไม่ว่า ตารวจที่พ่อสิมมาไปแจ้งไว้ได้นาเจ้าหน้าที่ติดตามมาจนทันและซุ่มอยู่ใกล้ ๆ มีการสู้รบกันเป็นเวลานานในที่สุดฝ่ายไทยชนะกลุ่มโจรเขมรวิ่งหนี้กระเจิดกระเจิงเข้าป่า ดยใน ที่สุดชาวบ้านก็ได้ทรัพย์สินกลับคืนมาและได้นาทรัพย์สินไปคืนชาวบ้านหลังจากนั้นเป็นต้นมา ผู้คนเริ่มอุ่นใจจึงได้เล่าปากต่อปากและชักชวนกันย้ายถิ่นเข้ามาอยู่เริ่มเรื่อย ๆ จนกลายเป็นสังคมชุมชนขนาดใหญ่ และอบอุ่นในปัจจุบันนี้ ชื่อภาพ : นางดอก ศรีนวล โดย : นางสาวอรณิชา คงศิริ
  • 29. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส32201 29 สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2546). การจัดการสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. ________. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : สานักงานปฏิรูปการศึกษา. ________. (2544 ก). คู่มือหลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ โอ.เอส พริ้นติ้ง เฮาส์. แหลม พาชื่นใจ และคณะ . (2548). หนังสืออนุสรณ์ในงานฉลองอัฐิพ่อสิมมา พาชื่นใจ. บุรีรัมย์ : เรวัตการพิมพ์. สมมาตร์ ผลเกิด. (2552). มรดกล้าค่า พัฒนาสู่การเรียนรู้. เอกสารประกอบการอบรม มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.