SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
รายงานการวิจัย
     การพัฒนาผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์

     ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา

                            โดยใช้ผงความคิดทางปัญญา
                                   ั




                                 นายณัฐพล บัวอุไร




                  กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาปทุมธานี เขต 2

          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานการวิจัย
     การพัฒนาผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์

     ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา

                            โดยใช้ผงความคิดทางปัญญา
                                   ั




                                 นายณัฐพล บัวอุไร




                  กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาปทุมธานี เขต 2

          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บทคัดย่ อ

คําสําคัญ : แผนทีความคิด

ณัฐพล บัวอุไร : การพัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรี ยน
ชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา โดยใช้ผงความคิดทางปั ญญา
                                                                       ั

โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี

        การวิจยครังนีเป็ นการวิจยเชิ งทดลอง มีแผนการวิจยแบบ One Group Pretest – Posttest Design โดย
              ั                 ั                      ั
มีวตถุประสงค์ของการวิจย คือ 1) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
   ั                  ั
และคอมพิวเตอร์ ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping)
2) ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ระดับชัน
มัธยมศึกษาปี ที 4 โดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยเป็ นนักเรี ยนชัน
                                                                              ั
มัธยมศึกษาปี ที 4/4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึ กษาพัฒนาการ ลําลู กกา ปี การศึ กษา 2553 โดยใช้วิธีการสุ่ ม
ตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) และจัดการเรี ยนการสอนโดยวิธีการแผนทีความคิด

        เครื องมือทีใช้ในการวิจยประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยี
                               ั
สารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ การวิเคราะห์ขอมูลใช้การหาค่าเฉลี ย ส่ วน
                                                            ้
เบียงเบนมาตรฐาน และ t – test

        ผลการวิจยพบว่า
                ั

        1. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องฮาร์ ดแวร์ และ
ซอฟต์แวร์ เรื องการติ ดต่ อสื อสาร ค้น หาข้อมู ล ผ่า นเครื อข่ า ยอิ นเตอร์ เ น็ ต และเรื องการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศนําเสนองาน สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05
                                             ั

        2. ความพึงพอใจของนักเรี ยนทีมีต่อการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ทีเรี ยน
                                                     ่
โดยใช้แผนทีความคิด นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( =3.54, S.D. = 0.84)
สารบัญ

                                                 หน้า
บทคัดย่ อ                                          ก
สารบัญ                                             ข
สารบัญตาราง                                        ค
บทที 1 บทนํา                                       1
  ทีมาและความสําคัญของปั ญหา                       1
  วัตถุประสงค์การวิจย   ั                          2
  ขอบเขตการวิจย       ั                            2
  นิยามศัพท์                                       4
บทที 2 การตรวจเอกสาร                               6
  หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน                6
  วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์             14
  แผนทีความคิด (mind mapping)                     18
  งานวิจยทีเกียวข้อง
          ั                                       21
บทที 3 วิธีดําเนินการวิจัย                        22
  ขันเตรี ยมการ                                   22
  เครื องมือทีใช้ในการวิจย ั                      23
  การสร้างเครื องมือทีใช้ในการวิจย
                                 ั                23
  ขันดําเนิ นการทดลอง                             25
  ขันวิเคราะห์ขอมูลและอภิปรายผล
                  ้                               26
บทที 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล                      27
บทที 5 สรุ ปผล และข้ อเสนอแนะ                     30
  สรุ ปผลการวิจย    ั                             30
  ข้อเสนอแนะ                                      31
บรรณานุกรม                                        32
ภาคผนวก                                           33
  คะแนนนักเรี ยน                                  34
  แบบสอบถามความพึงพอใจ                            37
  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน                39
  ผลงานนักเรี ยน                                  46
สารบัญตาราง

                                                                                               หน้า
ตารางที 1 เกณฑ์การกําหนดค่าระดับความคิดเห็น                                                     24
ตารางที 2 เกณฑ์การแปลความหมายของค่าความคิดเห็น                                                  25
ตารางที 3 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนในภาพรวม ก่อนเรี ยน (pretest) หลังเรี ยน (posttest) ของกลุ่ม
ตัวอย่างทีสอนโดยวิธีการแผนทีความคิด                                                             27
ตารางที 4 การเปรี ย บเที ย บคะแนนผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ย นที เพิ มขึ นของวิ ช าเทคโนโลยี
สารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยวิธีการแผนทีความคิด                               28
ตารางที 5 ระดับความพึงพอใจของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/4 ทีมีต่อการเรี ยนการสอนวิชา         28
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการแผนทีความคิด
1


                                                 บทที 1
                                                  บทนํา


ทีมาและความสํ าคัญของปัญหา
            พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิมเติม พ.ศ. 2545) หมวดที 4 แนวทางการจัด
การศึกษา มาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา
ตนเองได้ และถื อว่าผูเ้ รี ยนมี ความสําคัญที สุ ด กระบวนการจัดการศึ ก ษา ต้องส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนสามารถ
                                                                       ่
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และมาตรา 24 ระบุวา การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้สถานศึกษา
และหน่วยงานทีเกียวข้องดําเนินการจัดเนือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ของผูเ้ รี ยน โดยคํานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดให้มีการฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การ
เผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู ้มาใช้เพือป้ องกันและแก้ไขปั ญหา จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้
จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กการปฏิบติให้ทาได้ คิดเป็ น ทําเป็ น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู ้อย่างต่อเนื อง มีการ
                                           ั       ํ
เรี ยนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู ้ต่างๆ อย่างได้สัดส่ วนสมดุลกัน รวมทังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิ ยมที
ดีงาม และคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื อการเรี ยน และอํานวยความสะดวก
เพือให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ เพือนําไปสู่ เป้ าหมายของการเป็ นคนเก่ง ดี และมีความสุ ข
                                                          ํ
         หลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขันพื นฐาน 2551 ได้ก า หนดสมรรถนะสํ า คัญของผูเ้ รี ย นในด้า น
ความสามารถในการคิด ว่า เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพือนําไปสู่ การสร้ างองค์ความรู ้ หรื อสารสนเทศเพือการ
ตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
            วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เป็ นรายวิชาทีมีเนื อหาเกี ยวกับข้อมูลและสารสนเทศ
ทางคอมพิวเตอร์ ประวัติ วิวฒนาการ อุปกรณ์ หน้าทีของอุปกรณ์ต่างๆ รวมทังระบบของคอมพิวเตอร์ ซึ งจะ
                            ั
          ่
เห็นได้วาเนือหาวิชาทีกล่าวมาทังหมดนัน ส่ วนใหญ่จะเป็ นเนื อหาในด้านทฤษฎี ไม่มีการปฏิบติหรื อใช้งาน
                                                                                        ั
คอมพิวเตอร์ ทําให้ประสบปั ญหาในการจัดการเรี ยนการสอนหลายประการได้แก่ นักเรี ยนไม่สามารถสรุ ป
ความรู ้ในแต่ละเรื องหรื อแต่ละทฤษฎี ได้ ไม่เข้าใจองค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบของบทเรี ยนว่ามีความ
                                 ั
เกี ยวเนื องหรื อมี ความสัมพันธ์กนอย่างไร ทําให้ไม่สามารถอธิ บายถึ งบทบาท หน้าที ความสัมพันธ์ ของ
เนือหาบทเรี ยนนันๆ ได้ อีกทังการเรี ยนเนือหามากเกินไปทําให้นกเรี ยนเกิดความเบือหน่าย ไม่มีความสนใจ
                                                            ั
หรื อตืนตัวในการเรี ยน เพราะนักเรี ยนมักจะมุ่งความสนใจไปทีคอมพิวเตอร์ การใช้งานโปรแกรมหรื อการ
ปฏิบติมากกว่าการเรี ยนทฤษฎี
      ั
2


      นอกจากปั ญญาข้างต้น กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา
พัฒนาการ ลําลูกกา ยังประสบปั ญหาผลการเรี ยนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ตากว่าเกณฑ์ และมีผลคะแนนการ
                                                                  ํ
                ่
สอบระดับชาติอยูในเกณฑ์ปานกลาง ซึ งถือว่ายังไม่ดีเท่าทีควร
          จากปั ญหาทีกล่าวมาข้างตน ผูวจยเห็นว่าทักษะการวิเคราะห์ และการสรุ ปความคิดจากการวิเคราะห์
                                     ้ิั
ให้แสดงออกมาเป็ นรู ปธรรมเป็ นสิ งทีจําเป็ น และจะมีประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยน ทําให้ผูเ้ รี ยนสามารถวิเคราะห์
เนื อหา บทเรี ยน ทําความเข้าใจบทเรี ยนได้มีประสิ ทธิ ภาพ ซึ งผูวิจยได้ทาการศึกษาวิธีการจัดการเรี ยนการ
                                                               ้ ั     ํ
                             ่
สอนหลายวิธี และสรุ ปได้วาการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้วิธีการแผนทีความคิด (mind mapping) นัน จะ
เป็ นวิธีการทีเหมาะสมทีจะช่วยในการแก้ปัญหาผลการเรี ยนตกตํา และส่ งเสริ มให้นกเรี ยนรู ้จกการวิเคราะห์
                                                                                 ั          ั
และสรุ ปความรู ้ได้เป็ นอย่างดี
           การสอนโดยใช้วิธีแผนที ความคิ ด (mind mapping) เป็ นวิธีการที ช่ วยให้นักเรี ยนฝึ กฝนทักษะ
ทางด้านกระบวนการคิดได้เป็ นอย่างดี เพราะการคิดโดยใช้แผนทีความคิดนัน เป็ นวิธีการกระตุนความคิด้
ของผูเ้ รี ยนให้คิดจากคําถาม หรื อข้อความเพียงหนึ งสิ ง ซึ งกระบวนการคิดเกิ ดขึนอย่างอิ สระ โดยไม่ตอง
                                                                                                   ้
กังวลถึงความผิดถูก และเป็ นเทคนิ คทีมีการเลียนแบบจากโครงสร้างการทํางานของเซลล์ประสาทในสมอง
ของมนุษย์ ทีแตกกิงก้านสาขาได้มากมายอย่างมหาศาลออกไปทุกทิศทาง เพือไปเชื อมโยงกับเซลล์ประสาท
สมองเซลล์อืนๆ จํานวนมาก ทําให้เกิ ดรู ปแบบของความคิดทีมี ลกษณะเหมือนแผนทีหรื อแผนผังจํานวน
                                                                ั
มาก ซึ งเราสามารถจําลองโครงสร้างและการทํางานดังกล่าวบนแผ่นกระดาษ ซึ งจะเรี ยกว่า แผนทีความคิด
(mind mapping)
          สมเกียรติ ตังนโม (2544: 2) กล่าวว่า แผนทีความคิดเป็ นเครื องมือทีจะช่วยให้เราคิดและเรี ยนรู ้ได้
อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถช่ ว ยให้ เข้า ใจและจดจํา ประเด็ นสํ า คัญ ของการอ่ า นหนัง สื อได้ และเป็ น
เครื องมือสนับสนุ นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และธัญญา ผลอนันต์ (2544: 8) กล่าวว่า ปั ญหาทีสําคัญทีสุ ด
ของมนุษย์ คือ การเห็นแบบแยกส่ วน คิดแบบแยกส่ วนและทําแบบแยกส่ วน การทําแผนทีความคิดเป็ นการ
ฝึ กคิดให้ละเอียดถี ถ้วนและเชื อมโยง จะทําให้สมองแตกกิ งก้านงอกงาม ทําให้เกิ ดพลังสมอง เป็ นวิธีการ
หนึ งในหลายวิธี ทีช่วยให้นกเรี ยนคิดอย่างเป็ นระบบ ช่วยให้เห็นภาพรวม และรู ้จกใช้ช่องว่าง ประกอบกับ
                             ั                                                   ั
ส่ วนอืนๆ ทีเป็ นความถนัดของสมองซึ กกว่า คือ จินตนาการ สี สัน จังหวะ และภาพ การเรี ยนการสอนโดยใช้
แผนทีความคิดจึงเป็ นการนํานวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ประกอบการเรี ยนการสอนเพือให้บรรลุผลสําเร็ จ
ตามสาระการเรี ยนรู ้ของหลักสู ตรได้
        จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิมเติม พ.ศ. 2545) ทีมุ่งเน้นในการจัดการ
เรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ และหลักสู ตรแกนกลางทีกําหนดสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยนในด้าน
ทัก ษะกระบวนการคิ ด ที มี ค วามสอดคล้อ งกับ การจัด การเรี ย นการสอนโดยใช้แ ผนที ความคิ ด (mind
3


mapping) ทีมีงานวิจยหลายงานสรุ ปไว้อย่างชัดเจนว่าสามารถนํามาใช้ในการพัฒนากระบวนการคิดเคราะห์
                   ั
การสรุ ป แยกแยะประเด็นสําคัญของบทเรี ยนต่างๆ ได้เป็ นอย่างดี ทําให้ผวิจยมีความสนใจทีจะนํานวัตกรรม
                                                                    ู้ ั
การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) มาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน เพือ
พัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน รวมทังพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การอธิ บาย และการสรุ ป
ความเป็ นประเด็นทีสําคัญ


วัตถุประสงค์ การวิจัย

        1. เปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping)

        2. ศึ กษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping)



ขอบเขตของการวิจัย

        1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง

                ประชากรคือนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูก
กา ปี การศึกษา 2553 จํานวน 6 ห้องเรี ยน รวมนักเรี ยนทังหมด 267 คน

                กลุ่มตัวอย่างคือนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลํา
ลูกกา ปี การศึกษา 2553 ทีได้จากการสุ่ มห้องเรี ยนอย่างง่าย (Simple Random Sampling) มา 1 ห้องเรี ยน

        2. ตัวแปรทีศึกษา

                ตัวแปรทีศึกษาสําหรับการวิจยในครังนีประกอบด้วย
                                          ั

                2.1 ตัวแปรจัดกระทํา คือ การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด (mind mapping)

                2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
4


                         2.2.1 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์

                         2.2.2 ความพึงพอใจของนักเรี ยนทีมีต่อการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนผัง
ความคิด

        3. เนือหาทีใช้ ทดลอง

                 เนื อหาทีนํามาทดลอง คือ เนื อหาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องระบบ
สารสนเทศ

        4. ระยะเวลาทีใช้ ในการทดลอง

                                          ํ
                 การทดลองครังนี ผูวิจยได้กาหนดเวลาทดลองทังสิ น 8 คาบ คาบละ 50 นาที โดยใช้เวลา
                                  ้ ั
สอน 4 สัปดาห์ ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2553



นิยามศัพท์

        เพือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผูวจยจึงกําหนดความหมายคําศัพท์เฉพาะสําหรับการวิจยดังต่อไปนี
                                      ้ิั                                           ั

        การสอนโดยวิธีแผนทีความคิด (mind mapping) หมายถึง การจัดการเรี ยนรู ้ทีให้ผเู ้ รี ยนแสดงความ
คิดเห็นโดยถ่ายทอดออกมาเป็ นภาพหรื อแผนภูมิ สัญลักษณ์ ทีเกียวข้องกันอย่างมีลาดับขัน ด้วยลักษณะของ
                                                                           ํ
เส้ น ลู กศรแบบต่างๆ หรื อใช้รหัสเชื อมโยงระหว่างคําหรื อมโนทัศน์ เพือให้คาหรื อมโนทัศน์เหล่ านันมี
                                                                          ํ
ความหมาย โดยคํา หรื อ มโนทัศ น์ ที สํ า คัญ มาก หรื อ อยู่ใ นลํา ดับ แรกจะใช้ข นาดของตัว อัก ษร สี และ
ตัวหนังสื อทีมีมิติแตกต่างกัน

        ผลสั มฤทธิทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง คะแนนทีได้จากการวัดผลการเรี ยนวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เรื องการติดต่อสื อสาร ค้นหาข้อมูล
ผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต และเรื องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน ทีสอนโดยใช้แผนทีความคิด
(mind mapping)

        ความพึงพอใจของนักเรียน หมายถึง ความรู ้สึกของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 หลังจากเรี ยนวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องเรื องฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เรื องการติ ดต่อสื อสาร ค้นหา
5


ข้อมูลผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต และเรื องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน ทีสอนโดยใช้แผนที
ความคิด (mind mapping)
6


                                                  บทที 2

                                            การตรวจเอกสาร


          การวิจยเรื อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของ
                ั
นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา โดยใช้ผงความคิดทางปั ญญา
                                                                                ั
ผูวจยได้ศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง เพือเป็ นพืนฐานสําหรับการดําเนินการวิจย ดังนี
  ้ิั                                                                ั

          1. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน 2551

          2. วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์

          3. แผนทีความคิด (mind mapping)

          4. งานวิจยทีเกียวข้อง
                   ั



                             หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ. 2551

วิสัยทัศน์

          หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ งเป็ นกําลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ที
มีความสมดุลทังด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสํานึ กในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ นพลโลก ยึดมันใน
การปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพืนฐาน รวมทัง
                                                ์
เจตคติ ทีจําเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญบน
พืนฐานความเชือว่า ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลักการ
          หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มีหลักการทีสําคัญ ดังนี
7


         1.    เป็ นหลักสู ตรการศึ กษาเพือความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรี ยนรู ้
เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุ ณธรรมบนพืนฐาน ของความ
เป็ นไทยควบคู่กบความเป็ นสากล
               ั

         2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพือปวงชน ทีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

         3. เป็ นหลักสู ตรการศึ กษาทีสนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมี ส่วนร่ วมในการจัดการศึ กษา
ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิน

                                                     ่
         4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาทีมีโครงสร้างยืดหยุนทังด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและการจัด การเรี ยนรู ้

         5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ

         6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์

จุดหมาย
         หลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขันพื นฐาน มุ่ ง พัฒ นาผู ้เ รี ย นให้ เ ป็ นคนดี มี ปั ญ ญา มี ค วามสุ ข
มีศกยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชี พ จึ งกําหนดเป็ นจุดหมายเพือให้เกิ ดกับผูเ้ รี ยน
   ั                                                                                                  เมื อจบ
การศึกษาขันพืนฐาน ดังนี

         1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมทีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยและปฏิบติตนตาม
                                                                               ั       ั
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาทีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

         2. มีความรู ้ ความสามารถในการสื อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกษะชีวต
                                                                                       ั     ิ

         3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย

         4. มี ค วามรั ก ชาติ มี จิ ตสํ า นึ ก ในความเป็ นพลเมื อ งไทยและพลโลก ยึ ดมันในวิถี ชี วิ ต และการ
ปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                             ์

         5. มีจิตสํานึ กในการอนุ รักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุ รักษ์และพัฒนาสิ งแวดล้อม มี
                                       ั
จิตสาธารณะทีมุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ งทีดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข
                                                            ่
8


สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรี ยน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานทีกําหนด ซึ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี
สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรี ยน
        หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสําคัญ ๕ ประการ ดังนี

        1. ความสามารถในการสื อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา
                                                                       ั
ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพือแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทังการเจรจาต่อรองเพือขจัดและลด
           ั
ปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วธีการสื อสาร ทีมีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบทีมีต่อตนเองและสังคม
            ิ

        2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้ า งสรรค์ การคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ และการคิ ด เป็ นระบบ เพื อนํา ไปสู่ ก ารสร้ า งองค์ค วามรู ้ ห รื อ
สารสนเทศเพือการตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

        3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ                            ที
เผชิ ญ ได้อ ย่ า งถู ก ต้อ งเหมาะสมบนพื นฐานของหลัก เหตุ ผ ล คุ ณ ธรรมและข้อ มู ล สารสนเทศ เข้า ใจ
ความสัมพันธ์และการเปลียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ใน
การป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจทีมีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึ งถึงผลกระทบทีเกิดขึน                 ต่อ
ตนเอง สังคมและสิ งแวดล้อม

        4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                               ั      ิ           เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดําเนิ นชีวตประจําวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนือง การทํางาน และการอยูร่วมกันใน
              ิ                        ้                                                     ่
สังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
                                    ั
เหมาะสม       การปรับตัวให้ทนกับการเปลียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
                            ั                                                          และการรู ้จกหลีกเลียง
                                                                                                  ั
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ งผลกระทบต่อตนเองและผูอืน
                                               ้
9


       5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และ
                                                                                  ้
มี ท ัก ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื อการพัฒ นาตนเองและสั ง คม ในด้า นการเรี ยนรู ้ การสื อสาร
การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

       หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือให้
สามารถอยูร่วมกับผูอืนในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี
         ่        ้

       1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์

       2. ซื อสัตย์สุจริ ต

       3. มีวนย
             ิ ั

       4. ใฝ่ เรี ยนรู ้

             ่
       5. อยูอย่างพอเพียง

       6. มุ่งมันในการทํางาน

       7. รักความเป็ นไทย

       8. มีจิตสาธารณะ

       นอกจากนี สถานศึกษาสามารถกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิมเติมให้สอดคล้องตามบริ บท
และจุดเน้นของตนเอง

สาระและมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี

สาระที 1 การดํารงชี วตและครอบครัว
                     ิ

มาตรฐาน ง 1.1              เข้าใจการทํางาน มี ค วามคิ ดสร้ า งสรรค์ มี ท กษะกระบวนการทํา งาน
                                                                         ั                     ทัก ษะ
                           การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปั ญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน และทัก ษะ
                           การแสวงหาความรู ้ มี คุณธรรม      และลักษณะนิ สัยในการทํางาน มี จิตสํานึ ก
                           ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ งแวดล้อม เพือการดํารงชีวตและครอบครัว
                                                                                  ิ
10


สาระที 2 การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1             เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยีออกแบบและสร้ างสิ งของเครื องใช้
                          หรื อ วิ ธี ก าร ตามกระบวนการเทคโนโลยี อ ย่ า งมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ เลื อ กใช้
                          เทคโนโลยีใ นทางสร้ างสรรค์ต่อชี วิต สั งคม สิ งแวดล้อม และมี ส่วนร่ วมในการ
                          จัดการเทคโนโลยีทียังยืน

สาระที 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร

มาตรฐาน ง 3.1             เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล

                          การเรี ยนรู ้ การสื อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

                          ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม

สาระที 4 การอาชี พ

มาตรฐาน ง 4.1 เ ข้ า ใ จ มี ทั ก ษ ะ ที จํ า เ ป็ น มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ ห็ น แ น ว ท า ง ใ น ง า น อ า ชี พ
                          ใช้เทคโนโลยีเพือพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติทีดีต่ออาชีพ

คุณภาพผู้เรียน

จบชั นมัธยมศึกษาปี ที 6

         • เข้าใจวิธีการทํางานเพือการดํารงชี วิต สร้ างผลงานอย่างมีความคิดสร้ างสรรค์ มีทกษะ การ
                                                                                         ั
ทํางานร่ วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะการแสวงหาความรู ้ ทํางานอย่างมี
คุณธรรม และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุมค่าและยังยืน
                                                       ้

                                             ั
        • เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกบศาสตร์ อืนๆ วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี มีความคิด
สร้ างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการ สร้ างและพัฒนา สิ งของเครื องใช้หรื อวิธีการ ตาม
กระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัยโดยใช้ซอฟท์แวร์ ช่วยในการออกแบบหรื อนําเสนอผลงาน วิเคราะห์
และเลื อกใช้เทคโนโลยีทีเหมาะสมกับชี วิตประจําวันอย่างสร้ างสรรค์ต่อชี วิต สังคม สิ งแวดล้อม และมี
การจัดการเทคโนโลยีดวยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาด
                   ้
11


          • เข้าใจองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร์
ระบบสื อสารข้อมูลสําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง และมี
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ แก้ปัญหา เขียนโปรแกรมภาษา พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ใช้ฮาร์ ดแวร์ และ
ซอฟต์แวร์ ติดต่อสื อสารและค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต ใช้คอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็ น
สารสนเทศเพือการตัดสิ นใจ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน และใช้คอมพิวเตอร์ สร้ างชิ นงานหรื อ
โครงงาน

          • เข้าใจแนวทางสู่ อาชี พ การเลื อก และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชี พ มีประสบการณ์
ในอาชีพทีถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะทีดีต่ออาชีพ

สาระที 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูลการเรี ยนรู ้
การสื อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม

             ตัวชี วัด                    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลางและสาระการเรียนรู้ ท้องถิน

1. อธิ บายองค์ประกอบของระบบ           องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ได้แก่ ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์
สารสนเทศ                              ข้อมูล บุคลากร และขันตอนการปฏิบติงาน
                                                                     ั

2. อธิ บายองค์ประกอบและ               การทํางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยสําคัญ 5 หน่วย ได้แก่ หน่วย
หลักการทํางานของคอมพิวเตอร์           รับเข้า หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจําหลัก หน่วยความจําสํารอง และ
                                      หน่วยส่ งออก

3. อธิ บายระบบสื อสารข้อมูล           ระบบสื อสารข้อมูล ประกอบด้วย ข่าวสาร ผูส่ง ผูรับ สื อกลาง
                                                                             ้ ้
สําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์          โพรโตคอล
                                  เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จะสื อสารและรับส่ งข้อมูลกันได้ตองใช้โพรโท
                                                                                        ้
                                  คอลชนิดเดียวกัน
                                      วิธีการถ่ายโอนข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรม

4. บอกคุณลักษณะของ                    คุณลักษณะ(specification) ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง         ต่อพ่วง เช่น ความเร็ วและความจุของฮาร์ ดดิสก์
12


           ตัวชี วัด            สาระการเรี ยนรู้ แกนกลางและสาระการเรียนรู้ ท้องถิน

5. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการ     แก้ปัญหาโดยใช้ขนตอนดังนี
                                             ั
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี     • การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปั ญหา
ประสิ ทธิ ภาพ                • การเลือกเครื องมือ และออกแบบขันตอนวิธี
                             • การดําเนิ นการแก้ปัญหา
                             • การตรวจสอบและการปรับปรุ ง
                             การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขนตอน
                                                                   ั

6. เขียนโปรแกรมภาษา          ขันตอนการพัฒนาโปรแกรม มี 5 ขันตอน ได้แก่ การวิเคราะห์
                             ปั ญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบ
                             โปรแกรม และการจัดทําเอกสารประกอบ
                             การเขียนโปรแกรม เช่น ซี จาวา ปาสคาล วิชวลเบสิ ก ซี ชาร์ ป
                             การเขียนโปรแกรมในงานด้านต่างๆ เช่น การจัดการข้อมูล การ
                             วิเคราะห์ขอมูล การแก้ปัญหาในวิชาคณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
                                       ้
                             การสร้างชินงาน

7. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์   โครงงานคอมพิวเตอร์ แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานดังนี
                             • การพัฒนาสื อเพือการศึกษา
                             • การพัฒนาเครื องมือ
                             • การทดลองทฤษฎี
                             • การประยุกต์ใช้งาน
                             • การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
                             พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ตามขันตอนต่อไปนี
                             • คัดเลือกหัวข้อทีสนใจ
                             • ศึกษาค้นคว้าเอกสาร
                             • จัดทําข้อเสนอโครงงาน
                             • พัฒนาโครงงาน
                             • จัดทํารายงาน
                             • นําเสนอและเผยแพร่
13


              ตัวชี วัด                    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลางและสาระการเรียนรู้ ท้องถิน

8. ใช้ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้      การเลือกคุณลักษณะของฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เหมาะสมกับ
เหมาะสมกับงาน                          งาน เช่น คอมพิวเตอร์ ทีใช้ในงานสื อผสม ควรเป็ นเครื องทีมี
                                       สมรรถนะสู ง และใช้ซอฟต์แวร์ ทีเหมาะสม

9. ติดต่อสื อสาร ค้นหาข้อมูลผ่าน       ปฏิบติการติดต่อสื อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต
                                           ั
อินเตอร์ เน็ต
                                    คุณธรรมและจริ ยธรรมในการใช้อินเตอร์ เน็ต

10. ใช้คอมพิวเตอร์ ในการ               ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการตัดสิ นใจของบุคคล กลุ่ม
ประมวลผลข้อมูลให้เป็ น                 องค์กรในงานต่างๆ
สารสนเทศ เพือประกอบการ
ตัดสิ นใจ

11. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ               ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรู ปแบบโดยพิจารณา
นําเสนองานในรู ปแบบทีเหมาะสม           วัตถุประสงค์ของงาน

12. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้าง           ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชินงานหรื อโครงงาน ตามหลักการทํา
ชินงานหรื อโครงงานอย่างมี              โครงงาน
จิตสํานึกและความรับผิดชอบ              ศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ งแวดล้อมทีเกิดจากงานทีสร้าง
                                       ขึน เพือหาแนวทางปรับปรุ งและพัฒนา

13. บอกข้อควรปฏิบติสาหรับผูใช้
                 ั ํ       ้           ข้อปฏิบติสาหรับผูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น สื อสารและ
                                               ั ํ       ้
เทคโนโลยีสารสนเทศ                      ปฏิบติต่อผูอืนอย่างสุ ภาพ ปฏิบติตามระเบียบข้อบังคับของระบบ
                                             ั    ้                  ั
                                       ทีใช้งาน ไม่ทาผิดกฎหมายและศีลธรรม แบ่งปั นความสุ ขให้กบ
                                                     ํ                                         ั
                                       ผูอืน
                                         ้
14


                               วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (ง31101)

                                           คําอธิบายรายวิชาพืนฐาน
รหัสวิชา ง31101 ชือรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชันมัธยมศึกษาปี ที 4                 เวลาเรี ยน 40 ชัวโมง              จํานวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต

          ศึกษาองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร์ ระบบการสื อสาร
ข้อมูลสําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะและอุปกรณ์ต่อพ่วง การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่างมีประสิ ทธิภาพ การเขียนโปรแกรมภาษา การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยใช้การสื อสารและการค้นหาข้อมูลผ่าน
อินเตอร์เน็ต รวมทังใช้ซอฟต์แวร์ และฮาร์ ดแวร์ ให้เหมาะสมกับงาน การนําคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในการประมวลผลข้อมูลให้
เป็ นสารสนเทศ เพือประกอบการตัดสิ นใจและนําเสนอในรู ปแบบทีเหมาะสมอย่างมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ
          โดยกระบวนการอธิบายองค์ความรู ้ทีได้รับ การสื บค้นข้อมูล การแก้ปัญหา เขียนโปรแกรม พัฒนาโครงงาน โดย
การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
          เพือให้เกิดความรู ้ความเข้าใจ ความซือสัตย์สุจริ ต มีวนย ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมันในการทํางานตามทีได้รับมอบหมาย และ
                                                               ิ ั
มีเจตคติทีดีต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

รหัสตัวชีวัด
ง 3.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10, ม.4-6/11, ม.4-6/12,
      ม.4-6/13
รวมทังหมด 13 ตัวชีวัด
15




                           โครงสร้ างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
                       รหัสวิชา ง31101 ชันมัธยมศึกษาปี ที 4 (ภาคเรี ยนที 1) เวลา 40 ชัวโมง
                   คะแนนเต็ม 100 คะแนน อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคเรี ยนกับปลายภาค 80 : 20

                                    มาตรฐานการเรียนรู้ /                              เวลา     นําหนักคะแนน
ลําดับที     ชือหน่ วยการเรียนรู้                                สาระสําคัญ
                                           ตัวชีวัด                                 (ชัวโมง)    (100 คะแนน)
   1       ระบบสารสนเทศ             ง 3.1 ม.4-6/1, 10    - ความหมายของระบบ              4             5
                                                         สารสนเทศ
                                                         - องค์ประกอบของระบบ
                                                         สารสนเทศ
                                                         - การใช้คอมพิวเตอร์ใน
                                                         การประมวลผลข้อมูลให้
                                                         เป็ นสารสนเทศเพือ
                                                         ประกอบการตัดสิ นใจ
                                                         - ระบบเลขฐาน
   2       หลักการทํางานของ         ง 3.1 ม.4-6/2, 4     - องค์ประกอบของ               4            5
           คอมพิวเตอร์                                   คอมพิวเตอร์
                                                         - หลักการทํางานของ
                                                         คอมพิวเตอร์
                                                         - คุณลักษณะของ
                                                         คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
                                                         ต่อพ่วง
   3       ระบบสื อสารข้อมูล        ง 3.1 ม.4-6/3        - เครื อข่ายคอมพิวเตอร์       4            5
           สําหรับเครื อข่าย                             - ความหมายของ
           คอมพิวเตอร์                                   ระบบสื อสารข้อมูล
                                                         สําหรับเครื อข่าย
                                                         คอมพิวเตอร์
                                                         - องค์ประกอบของ
                                                         ระบบสื อสารข้อมูล
                                                         - สื อหรื อตัวกลางของ
                                                         ระบบสื อสารข้อมูล
                                                         - โพรโตคอล
                                                         - วิธีการส่งข้อมูลใน
                                                         ระบบสื อสารข้อมูล
                                                         - อุปกรณ์เครื อข่าย
16




                                     มาตรฐานการเรียนรู้ /                             เวลา     นําหนักคะแนน
ลําดับที     ชือหน่ วยการเรียนรู้                                  สาระสําคัญ
                                           ตัวชีวัด                                 (ชัวโมง)    (100 คะแนน)
   4       การแก้ปัญหาด้วย          ง 3.1 ม.4-6/5, 6      - การแก้ปัญหาด้วย             6            10
           กระบวนการเทคโนโลยี                             กระบวนการเทคโนโลยี
           สารสนเทศ                                       สารสนเทศ
                                                          - การถ่ายทอดความคิดใน
                                                          การแก้ปัญหาอย่างมี
                                                          ขันตอน
                                                          - การเขียนโปรแกรม
                                                          ภาษา
                           สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางภาค)                                1            20
   5       ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ง 3.1 ม.4-6/8            - การใช้ฮาร์ดแวร์และ         4            5
                                                          ซอฟต์แวร์
                                                          - การเลือกซือ
                                                          คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสม
                                                          กับลักษณะงาน
                                                          - คอมพิวเตอร์ทีใช้ในงาน
                                                          สื อประสม
   6       การติดต่อสื อสาร ค้นหา ง 3.1 ม.4-6/9, 13       - ระบบอินเตอร์เน็ต           4            5
           ข้อมูลผ่านเครื อข่าย                           - การค้นหาข้อมูลผ่าน
           อินเตอร์เน็ต                                   เครื อข่ายอินเตอร์เน็ต
                                                          - การติดต่อสื อสารผ่าน
                                                          เครื อข่ายอินเตอร์เน็ต
                                                          - คุณธรรมและจริ ยธรรม
                                                          ในการใช้อินเตอร์เน็ต
   7       การใช้เทคโนโลยี          ง 3.1 ม.4-6/11        - ความหมายของการใช้          6            15
           สารสนเทศนําเสนองาน                             เทคโนโลยีนาเสนองาน
                                                                        ํ
                                                          - ความสําคัญของการใช้
                                                          เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                          นําเสนองาน
                                                          - องค์ประกอบของการใช้
                                                          เทคโนโลยีสารสนเทศ
                                                          นําเสนองาน
                                                          - การนําเสนองานด้วย
                                                          ซอฟต์แวร์
17




                                 มาตรฐานการเรียนรู้ /                             เวลา     นําหนักคะแนน
ลําดับที     ชือหน่ วยการเรียนรู้                            สาระสําคัญ
                                        ตัวชีวัด                                (ชัวโมง)    (100 คะแนน)
   8       การพัฒนาโครงงาน       ง 3.1 ม.4-6/7, 12    - ความหมายของ                 6            10
           คอมพิวเตอร์                                โครงงานคอมพิวเตอร์
                                                      - ความสําคัญของ
                                                      โครงงานคอมพิวเตอร์
                                                      - ประเภทของโครงงาน
                                                      คอมพิวเตอร์
                                                      - ขันตอนการพัฒนา
                                                      โครงงานคอมพิวเตอร์
                                                      - การใช้คอมพิวเตอร์
                                                      สร้างชินงานหรื อ
                                                      โครงงานอย่างมีจิตสํานึก
                                                      และความรับผิดชอบ
                       สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายภาค)                               1            20
                                    รวม                                           40           100
18


                                  แผนทีความคิด (mind mapping)

Mind Map คือ อะไร

                                                  Mind Map หรื อ แผนทีความคิด เป็ นวิธีการบันทึ ก
                                  ความคิดเพือให้เห็นภาพของความคิดทีหลากหลายมุมมอง ทีกว้าง และ
                                  ทีชัดเจน โดยยังไม่จดระบบระเบียบความคิดใดๆทังสิ น เป็ นการเขียน
                                                     ั
                                  ตามความคิด ทีเกิ ดขึนขณะนัน การเขียนมีลกษณะเหมือนต้นไม้แตก
                                                                         ั
                                  กิงก้าน สาขาออกไปเรื อยๆ ทําให้สมองได้คิดได้ทางานตามธรรมชาติ
                                                                               ํ
                                  อย่างและมีการจินตนาการกว้างไกล

                                  แผนทีความคิด ยังเป็ นวิธีการหนึ งทีใช้ในการบันทึกความคิดของการ
                                  อภิปรายกลุ่ม หรื อการระดมความคิด โดยให้สมาชิ กทุกคนเสนอความ
  คิดเห็น และวิทยากรจะทําการ จดบันทึกด้วยคําสันๆ คําโตๆ ให้ทุกคนมองเห็น พร้อมทังโยงเข้าหากิ ง
  ก้านทีเกียวข้องกัน เพือรวบรวมความคิดทีหลากหลายของทุกคน ไว้ในแผ่นกระดาษแผ่นเดียว ทําให้ทุก
  คนได้เห็นภาพความคิดของผูอืนได้ชดเจน และเกิดความคิดใหม่ต่อไปได้
                          ้      ั


  ความเป็ นมาของ Mind Map
       แผนที ความคิ ด เป็ นการนําเอาทฤษฎี ที เกี ยวกับ สมองไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ อย่า งสู งสุ ด นาย
  ธัญญา ผลอนันต์ เป็ นผูนาความคิดและวิธีการเขียนแผนทีความคิดเข้ามาใช้ และเผยแพร่ ในประเทศไทย
                        ้ ํ
  ผูคิดริ เริ มคือโทนี บูซาน (Tony Buzan) เป็ นชาวอังกฤษ เป็ นผูนาเอาความรู ้เรื องสมองมาปรับใช้เพือการ
    ้                                                           ้ ํ
  เรี ยนรู ้ของเขา โดยพัฒนาการจากการจดบันทึกแบบเดิมที เป็ นตัวอักษร เป็ นบรรทัด ๆ เป็ นแถว ๆ        ใช้
  ปากกาหรื อดินสอในการจดบันทึก เปลียนมาเป็ นบันทึกด้วยคํา ภาพ สัญลักษณ์ แบบแผ่รัศมี ออกรอบ ๆ
  ศูนย์กลางเหมือนการแตกแขนงของ กิงไม้ โดยใช้สีสัน การเขียนแผนทีความคิดของโทนี บูซาน เป็ น
  การบันทึกในทุกๆเรื อง ทัง ชี วิตจริ งส่ วนตัวและการงาน เช่น การวางแผน การตัดสิ นใจ การช่วยจํา การ
  แก้ปัญหา การ นําเสนอ และการเขี ยนหนังสื อ เป็ นต้น การบันทึ กแบบนี เป็ นการใช้ทกษะการทํางาน
                                                                                 ั
  ร่ วมกัน ของสมองทังสองซี ก คือ ซี กซ้าย วิเคราะห์ คํา ภาษา สัญลักษณ์ ระบบ ลําดับ ความเป็ นเหตุ
  เป็ นผล ส่ วนสมองซี กขวา จะทําหน้าทีสังเคราะห์คิด สร้ างสรรค์ จินตนาการ ความงาม ศิลปะ จังหวะ
  โดยมีแถบเส้นประสาทคอร์ ปัสคอโลซัมเป็ นเสมือนสะพานเชือม
19




หลักการเขียน Mind Map
            การเขี ยน Mind Map         ใช้กระดาษแผ่นเดี ยว การเขี ย นใช้สีสันหลากหลาย          ใช้
โครงสร้ างตามธรรมชาติทีแผ่กระจายออกมาจุดศูนย์กลาง ใช้เส้ นโยง มีเครื องหมาย สัญลักษณ์ และ
รู ปภาพทีผสมผสานร่ วมกันอย่างเรี ยบง่าย สอดคล้องกับการทํางานตามธรรมชาติของสมอง


วิธีการเขียน Mind Map
    1. เตรี ยมกระดาษเปล่าทีไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน
    2. วาดภาพสี หรื อเขียนคําหรื อข้อความทีสื อหรื อแสดงถึงเรื องจะทํา Mind Map กลางหน้ากระดาษ
       โดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรู ปทรงเรขาคณิ ต
    3. คิดถึ งหัวเรื องสําคัญทีเป็ นส่ วนประกอบของเรื องที ทํา Mind Map โดยให้เขี ยนเป็ นคํา ที มี
       ลักษณะเป็ นหน่วย หรื อเป็ นคําสําคัญ (Key Word) สัน ๆ ทีมีความหมาย บนเส้น ซึ งเส้นแต่ละ
       เส้นจะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิง
    4. แตกความคิดของหัวเรื องสําคัญแต่ละเรื องในข้อ 3 ออกเป็ นกิง ๆ หลายกิง โดยเขียนคําหรื อวลี
       บนเส้นทีแตกออกไป ลักษณะของกิงควรเอนไม่เกิน 60 องศา
    5. แตกความคิดรองลงไปทีเป็ นส่ วนประกอบของแต่ละกิง ในข้อ 4 โดยเขียนคําหรื อวลีเส้นทีแตก
       ออกไป ซึ งสามารถแตกความคิดออกไปเรื อยๆ
    6. การเขียนคํา ควรเขียนด้วยคําทีเป็ นคําสําคัญ (Key Word) หรื อคําหลัก หรื อเป็ นวลีทีมี
       ความหมายชัดเจน
    7. คํา วลี สัญลักษณ์ หรื อรู ปภาพใดทีต้องการเน้น อาจใช้วธีการทําให้เด่น เช่น การล้อม
                                                            ิ
       กรอบ หรื อใส่ กล่อง เป็ นต้น
    8. ตกแต่ง Mind Map ทีเขียนด้วยความสนุกสนานทังภาพและแนวคิดทีเชือมโยงต่อกัน


ข้ อดีของการทําแผนทีความคิด
    1. ทํา ให้ เ ห็ น ภาพรวมกว้า ง ๆ ของหั ว ข้ อ ใหญ่ หรื อ
       ขอบเขตของเรื อง
    2. ทําให้ส ามารถวางแผนเส้ นทางหรื อตัดสิ นใจได้อย่า ง
20


                         ่
       ถูกต้อง เพราะรู ้วาตรงไหนกําลังจะไปไหนหรื อผ่านอะไรบ้าง
    3. สามารถรวบรวมข้อมูลจํานวนมากลงไว้ในกระดาษแผ่นเดียวกัน
    4. กระตุนให้คิดแก้ไขปั ญหา โดยเปิ ดโอกาสให้มองเห็นวิธีใหม่ ๆ ทีสร้างสรรค์
             ้
    5. สร้างความเพลิดเพลินในการอ่านและง่ายต่อการจดจํา


       สรุ ป Mind Map เป็ นแผนทีความคิดทีอัจฉริ ยะ เปรี ยบเสมือนลายแทงทีนําไปสู่      การจดจํา
การเรี ยบเรี ยง การจัดระเบียบข้อมูลตามธรรมชาติ การทํางานของสมองตังแต่ตน
                                                                      ้         นันหมายความว่า
การจําและฟื นความจํา หรื อการเรี ยกข้อมูลเหล่านันกลับมาใช้ในภายหลัง    จะทําได้ง่าย และมีความ
ถูกต้องแม่นยํากว่าการใช้เทคนิคการจดบันทึกแบบเดิม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม

Contenu connexe

Tendances

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการNatthawut Sutthi
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560KiiKz Krittiya
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายTanakorn Pansupa
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละนายเค ครูกาย
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ Kat Suksrikong
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 

Tendances (20)

เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
แบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการแบบประเม นโครงการ
แบบประเม นโครงการ
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
กิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่ายกิตติกรรมประกาศถ่าย
กิตติกรรมประกาศถ่าย
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ใหม่
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 

Similaire à การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม

หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีcomed
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพdechathon
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวSamorn Tara
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายในPrachoom Rangkasikorn
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...natthasarttier
 
Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี Khemjira_P
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similaire à การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม (20)

หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
 
test
testtest
test
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
การเปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. 2551 กับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์...
 
Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

Plus de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

Plus de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยม

  • 1. รายงานการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา โดยใช้ผงความคิดทางปัญญา ั นายณัฐพล บัวอุไร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาปทุมธานี เขต 2 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. รายงานการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา โดยใช้ผงความคิดทางปัญญา ั นายณัฐพล บัวอุไร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาปทุมธานี เขต 2 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3.
  • 4. บทคัดย่ อ คําสําคัญ : แผนทีความคิด ณัฐพล บัวอุไร : การพัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรี ยน ชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา โดยใช้ผงความคิดทางปั ญญา ั โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี การวิจยครังนีเป็ นการวิจยเชิ งทดลอง มีแผนการวิจยแบบ One Group Pretest – Posttest Design โดย ั ั ั มีวตถุประสงค์ของการวิจย คือ 1) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ั ั และคอมพิวเตอร์ ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) 2) ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ระดับชัน มัธยมศึกษาปี ที 4 โดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยเป็ นนักเรี ยนชัน ั มัธยมศึกษาปี ที 4/4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึ กษาพัฒนาการ ลําลู กกา ปี การศึ กษา 2553 โดยใช้วิธีการสุ่ ม ตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) และจัดการเรี ยนการสอนโดยวิธีการแผนทีความคิด เครื องมือทีใช้ในการวิจยประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยี ั สารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ การวิเคราะห์ขอมูลใช้การหาค่าเฉลี ย ส่ วน ้ เบียงเบนมาตรฐาน และ t – test ผลการวิจยพบว่า ั 1. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนหลังเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องฮาร์ ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ เรื องการติ ดต่ อสื อสาร ค้น หาข้อมู ล ผ่า นเครื อข่ า ยอิ นเตอร์ เ น็ ต และเรื องการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศนําเสนองาน สู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ั 2. ความพึงพอใจของนักเรี ยนทีมีต่อการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ทีเรี ยน ่ โดยใช้แผนทีความคิด นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ( =3.54, S.D. = 0.84)
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่ อ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค บทที 1 บทนํา 1 ทีมาและความสําคัญของปั ญหา 1 วัตถุประสงค์การวิจย ั 2 ขอบเขตการวิจย ั 2 นิยามศัพท์ 4 บทที 2 การตรวจเอกสาร 6 หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน 6 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 14 แผนทีความคิด (mind mapping) 18 งานวิจยทีเกียวข้อง ั 21 บทที 3 วิธีดําเนินการวิจัย 22 ขันเตรี ยมการ 22 เครื องมือทีใช้ในการวิจย ั 23 การสร้างเครื องมือทีใช้ในการวิจย ั 23 ขันดําเนิ นการทดลอง 25 ขันวิเคราะห์ขอมูลและอภิปรายผล ้ 26 บทที 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 27 บทที 5 สรุ ปผล และข้ อเสนอแนะ 30 สรุ ปผลการวิจย ั 30 ข้อเสนอแนะ 31 บรรณานุกรม 32 ภาคผนวก 33 คะแนนนักเรี ยน 34 แบบสอบถามความพึงพอใจ 37 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน 39 ผลงานนักเรี ยน 46
  • 6. สารบัญตาราง หน้า ตารางที 1 เกณฑ์การกําหนดค่าระดับความคิดเห็น 24 ตารางที 2 เกณฑ์การแปลความหมายของค่าความคิดเห็น 25 ตารางที 3 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนในภาพรวม ก่อนเรี ยน (pretest) หลังเรี ยน (posttest) ของกลุ่ม ตัวอย่างทีสอนโดยวิธีการแผนทีความคิด 27 ตารางที 4 การเปรี ย บเที ย บคะแนนผลสั ม ฤทธิ ทางการเรี ย นที เพิ มขึ นของวิ ช าเทคโนโลยี สารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยวิธีการแผนทีความคิด 28 ตารางที 5 ระดับความพึงพอใจของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/4 ทีมีต่อการเรี ยนการสอนวิชา 28 เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการแผนทีความคิด
  • 7. 1 บทที 1 บทนํา ทีมาและความสํ าคัญของปัญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิมเติม พ.ศ. 2545) หมวดที 4 แนวทางการจัด การศึกษา มาตรา 22 ระบุว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา ตนเองได้ และถื อว่าผูเ้ รี ยนมี ความสําคัญที สุ ด กระบวนการจัดการศึ ก ษา ต้องส่ งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนสามารถ ่ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และมาตรา 24 ระบุวา การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้สถานศึกษา และหน่วยงานทีเกียวข้องดําเนินการจัดเนือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด ของผูเ้ รี ยน โดยคํานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดให้มีการฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การ เผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู ้มาใช้เพือป้ องกันและแก้ไขปั ญหา จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กการปฏิบติให้ทาได้ คิดเป็ น ทําเป็ น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู ้อย่างต่อเนื อง มีการ ั ํ เรี ยนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู ้ต่างๆ อย่างได้สัดส่ วนสมดุลกัน รวมทังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิ ยมที ดีงาม และคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื อการเรี ยน และอํานวยความสะดวก เพือให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ เพือนําไปสู่ เป้ าหมายของการเป็ นคนเก่ง ดี และมีความสุ ข ํ หลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขันพื นฐาน 2551 ได้ก า หนดสมรรถนะสํ า คัญของผูเ้ รี ย นในด้า น ความสามารถในการคิด ว่า เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพือนําไปสู่ การสร้ างองค์ความรู ้ หรื อสารสนเทศเพือการ ตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เป็ นรายวิชาทีมีเนื อหาเกี ยวกับข้อมูลและสารสนเทศ ทางคอมพิวเตอร์ ประวัติ วิวฒนาการ อุปกรณ์ หน้าทีของอุปกรณ์ต่างๆ รวมทังระบบของคอมพิวเตอร์ ซึ งจะ ั ่ เห็นได้วาเนือหาวิชาทีกล่าวมาทังหมดนัน ส่ วนใหญ่จะเป็ นเนื อหาในด้านทฤษฎี ไม่มีการปฏิบติหรื อใช้งาน ั คอมพิวเตอร์ ทําให้ประสบปั ญหาในการจัดการเรี ยนการสอนหลายประการได้แก่ นักเรี ยนไม่สามารถสรุ ป ความรู ้ในแต่ละเรื องหรื อแต่ละทฤษฎี ได้ ไม่เข้าใจองค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบของบทเรี ยนว่ามีความ ั เกี ยวเนื องหรื อมี ความสัมพันธ์กนอย่างไร ทําให้ไม่สามารถอธิ บายถึ งบทบาท หน้าที ความสัมพันธ์ ของ เนือหาบทเรี ยนนันๆ ได้ อีกทังการเรี ยนเนือหามากเกินไปทําให้นกเรี ยนเกิดความเบือหน่าย ไม่มีความสนใจ ั หรื อตืนตัวในการเรี ยน เพราะนักเรี ยนมักจะมุ่งความสนใจไปทีคอมพิวเตอร์ การใช้งานโปรแกรมหรื อการ ปฏิบติมากกว่าการเรี ยนทฤษฎี ั
  • 8. 2 นอกจากปั ญญาข้างต้น กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษา พัฒนาการ ลําลูกกา ยังประสบปั ญหาผลการเรี ยนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ ตากว่าเกณฑ์ และมีผลคะแนนการ ํ ่ สอบระดับชาติอยูในเกณฑ์ปานกลาง ซึ งถือว่ายังไม่ดีเท่าทีควร จากปั ญหาทีกล่าวมาข้างตน ผูวจยเห็นว่าทักษะการวิเคราะห์ และการสรุ ปความคิดจากการวิเคราะห์ ้ิั ให้แสดงออกมาเป็ นรู ปธรรมเป็ นสิ งทีจําเป็ น และจะมีประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยน ทําให้ผูเ้ รี ยนสามารถวิเคราะห์ เนื อหา บทเรี ยน ทําความเข้าใจบทเรี ยนได้มีประสิ ทธิ ภาพ ซึ งผูวิจยได้ทาการศึกษาวิธีการจัดการเรี ยนการ ้ ั ํ ่ สอนหลายวิธี และสรุ ปได้วาการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้วิธีการแผนทีความคิด (mind mapping) นัน จะ เป็ นวิธีการทีเหมาะสมทีจะช่วยในการแก้ปัญหาผลการเรี ยนตกตํา และส่ งเสริ มให้นกเรี ยนรู ้จกการวิเคราะห์ ั ั และสรุ ปความรู ้ได้เป็ นอย่างดี การสอนโดยใช้วิธีแผนที ความคิ ด (mind mapping) เป็ นวิธีการที ช่ วยให้นักเรี ยนฝึ กฝนทักษะ ทางด้านกระบวนการคิดได้เป็ นอย่างดี เพราะการคิดโดยใช้แผนทีความคิดนัน เป็ นวิธีการกระตุนความคิด้ ของผูเ้ รี ยนให้คิดจากคําถาม หรื อข้อความเพียงหนึ งสิ ง ซึ งกระบวนการคิดเกิ ดขึนอย่างอิ สระ โดยไม่ตอง ้ กังวลถึงความผิดถูก และเป็ นเทคนิ คทีมีการเลียนแบบจากโครงสร้างการทํางานของเซลล์ประสาทในสมอง ของมนุษย์ ทีแตกกิงก้านสาขาได้มากมายอย่างมหาศาลออกไปทุกทิศทาง เพือไปเชื อมโยงกับเซลล์ประสาท สมองเซลล์อืนๆ จํานวนมาก ทําให้เกิ ดรู ปแบบของความคิดทีมี ลกษณะเหมือนแผนทีหรื อแผนผังจํานวน ั มาก ซึ งเราสามารถจําลองโครงสร้างและการทํางานดังกล่าวบนแผ่นกระดาษ ซึ งจะเรี ยกว่า แผนทีความคิด (mind mapping) สมเกียรติ ตังนโม (2544: 2) กล่าวว่า แผนทีความคิดเป็ นเครื องมือทีจะช่วยให้เราคิดและเรี ยนรู ้ได้ อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สามารถช่ ว ยให้ เข้า ใจและจดจํา ประเด็ นสํ า คัญ ของการอ่ า นหนัง สื อได้ และเป็ น เครื องมือสนับสนุ นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และธัญญา ผลอนันต์ (2544: 8) กล่าวว่า ปั ญหาทีสําคัญทีสุ ด ของมนุษย์ คือ การเห็นแบบแยกส่ วน คิดแบบแยกส่ วนและทําแบบแยกส่ วน การทําแผนทีความคิดเป็ นการ ฝึ กคิดให้ละเอียดถี ถ้วนและเชื อมโยง จะทําให้สมองแตกกิ งก้านงอกงาม ทําให้เกิ ดพลังสมอง เป็ นวิธีการ หนึ งในหลายวิธี ทีช่วยให้นกเรี ยนคิดอย่างเป็ นระบบ ช่วยให้เห็นภาพรวม และรู ้จกใช้ช่องว่าง ประกอบกับ ั ั ส่ วนอืนๆ ทีเป็ นความถนัดของสมองซึ กกว่า คือ จินตนาการ สี สัน จังหวะ และภาพ การเรี ยนการสอนโดยใช้ แผนทีความคิดจึงเป็ นการนํานวัตกรรมทางการศึกษามาใช้ประกอบการเรี ยนการสอนเพือให้บรรลุผลสําเร็ จ ตามสาระการเรี ยนรู ้ของหลักสู ตรได้ จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไขเพิมเติม พ.ศ. 2545) ทีมุ่งเน้นในการจัดการ เรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ และหลักสู ตรแกนกลางทีกําหนดสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยนในด้าน ทัก ษะกระบวนการคิ ด ที มี ค วามสอดคล้อ งกับ การจัด การเรี ย นการสอนโดยใช้แ ผนที ความคิ ด (mind
  • 9. 3 mapping) ทีมีงานวิจยหลายงานสรุ ปไว้อย่างชัดเจนว่าสามารถนํามาใช้ในการพัฒนากระบวนการคิดเคราะห์ ั การสรุ ป แยกแยะประเด็นสําคัญของบทเรี ยนต่างๆ ได้เป็ นอย่างดี ทําให้ผวิจยมีความสนใจทีจะนํานวัตกรรม ู้ ั การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) มาใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน เพือ พัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน รวมทังพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การอธิ บาย และการสรุ ป ความเป็ นประเด็นทีสําคัญ วัตถุประสงค์ การวิจัย 1. เปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) 2. ศึ กษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนการสอนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรคือนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูก กา ปี การศึกษา 2553 จํานวน 6 ห้องเรี ยน รวมนักเรี ยนทังหมด 267 คน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลํา ลูกกา ปี การศึกษา 2553 ทีได้จากการสุ่ มห้องเรี ยนอย่างง่าย (Simple Random Sampling) มา 1 ห้องเรี ยน 2. ตัวแปรทีศึกษา ตัวแปรทีศึกษาสําหรับการวิจยในครังนีประกอบด้วย ั 2.1 ตัวแปรจัดกระทํา คือ การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด (mind mapping) 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
  • 10. 4 2.2.1 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 2.2.2 ความพึงพอใจของนักเรี ยนทีมีต่อการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด 3. เนือหาทีใช้ ทดลอง เนื อหาทีนํามาทดลอง คือ เนื อหาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องระบบ สารสนเทศ 4. ระยะเวลาทีใช้ ในการทดลอง ํ การทดลองครังนี ผูวิจยได้กาหนดเวลาทดลองทังสิ น 8 คาบ คาบละ 50 นาที โดยใช้เวลา ้ ั สอน 4 สัปดาห์ ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2553 นิยามศัพท์ เพือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผูวจยจึงกําหนดความหมายคําศัพท์เฉพาะสําหรับการวิจยดังต่อไปนี ้ิั ั การสอนโดยวิธีแผนทีความคิด (mind mapping) หมายถึง การจัดการเรี ยนรู ้ทีให้ผเู ้ รี ยนแสดงความ คิดเห็นโดยถ่ายทอดออกมาเป็ นภาพหรื อแผนภูมิ สัญลักษณ์ ทีเกียวข้องกันอย่างมีลาดับขัน ด้วยลักษณะของ ํ เส้ น ลู กศรแบบต่างๆ หรื อใช้รหัสเชื อมโยงระหว่างคําหรื อมโนทัศน์ เพือให้คาหรื อมโนทัศน์เหล่ านันมี ํ ความหมาย โดยคํา หรื อ มโนทัศ น์ ที สํ า คัญ มาก หรื อ อยู่ใ นลํา ดับ แรกจะใช้ข นาดของตัว อัก ษร สี และ ตัวหนังสื อทีมีมิติแตกต่างกัน ผลสั มฤทธิทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง คะแนนทีได้จากการวัดผลการเรี ยนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เรื องการติดต่อสื อสาร ค้นหาข้อมูล ผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต และเรื องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน ทีสอนโดยใช้แผนทีความคิด (mind mapping) ความพึงพอใจของนักเรียน หมายถึง ความรู ้สึกของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 หลังจากเรี ยนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เรื องเรื องฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เรื องการติ ดต่อสื อสาร ค้นหา
  • 11. 5 ข้อมูลผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต และเรื องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน ทีสอนโดยใช้แผนที ความคิด (mind mapping)
  • 12. 6 บทที 2 การตรวจเอกสาร การวิจยเรื อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของ ั นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา โดยใช้ผงความคิดทางปั ญญา ั ผูวจยได้ศึกษาเอกสารทีเกียวข้อง เพือเป็ นพืนฐานสําหรับการดําเนินการวิจย ดังนี ้ิั ั 1. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน 2551 2. วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 3. แผนทีความคิด (mind mapping) 4. งานวิจยทีเกียวข้อง ั หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ. 2551 วิสัยทัศน์ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ งเป็ นกําลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ที มีความสมดุลทังด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสํานึ กในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ นพลโลก ยึดมันใน การปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพืนฐาน รวมทัง ์ เจตคติ ทีจําเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญบน พืนฐานความเชือว่า ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มีหลักการทีสําคัญ ดังนี
  • 13. 7 1. เป็ นหลักสู ตรการศึ กษาเพือความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรี ยนรู ้ เป็ นเป้ าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุ ณธรรมบนพืนฐาน ของความ เป็ นไทยควบคู่กบความเป็ นสากล ั 2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพือปวงชน ทีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คุณภาพ 3. เป็ นหลักสู ตรการศึ กษาทีสนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมี ส่วนร่ วมในการจัดการศึ กษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิน ่ 4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาทีมีโครงสร้างยืดหยุนทังด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและการจัด การเรี ยนรู ้ 5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ 6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขันพื นฐาน มุ่ ง พัฒ นาผู ้เ รี ย นให้ เ ป็ นคนดี มี ปั ญ ญา มี ค วามสุ ข มีศกยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชี พ จึ งกําหนดเป็ นจุดหมายเพือให้เกิ ดกับผูเ้ รี ยน ั เมื อจบ การศึกษาขันพืนฐาน ดังนี 1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมทีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยและปฏิบติตนตาม ั ั หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาทีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู ้ ความสามารถในการสื อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกษะชีวต ั ิ 3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย 4. มี ค วามรั ก ชาติ มี จิ ตสํ า นึ ก ในความเป็ นพลเมื อ งไทยและพลโลก ยึ ดมันในวิถี ชี วิ ต และการ ปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์ 5. มีจิตสํานึ กในการอนุ รักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุ รักษ์และพัฒนาสิ งแวดล้อม มี ั จิตสาธารณะทีมุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ งทีดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข ่
  • 14. 8 สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรี ยน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานทีกําหนด ซึ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรี ยน หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสําคัญ ๕ ประการ ดังนี 1. ความสามารถในการสื อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒนธรรมในการใช้ภาษา ั ถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพือแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อนจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทังการเจรจาต่อรองเพือขจัดและลด ั ปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใช้วธีการสื อสาร ทีมีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบทีมีต่อตนเองและสังคม ิ 2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง สร้ า งสรรค์ การคิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ และการคิ ด เป็ นระบบ เพื อนํา ไปสู่ ก ารสร้ า งองค์ค วามรู ้ ห รื อ สารสนเทศเพือการตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที เผชิ ญ ได้อ ย่ า งถู ก ต้อ งเหมาะสมบนพื นฐานของหลัก เหตุ ผ ล คุ ณ ธรรมและข้อ มู ล สารสนเทศ เข้า ใจ ความสัมพันธ์และการเปลียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้ใน การป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจทีมีประสิ ทธิ ภาพโดยคํานึ งถึงผลกระทบทีเกิดขึน ต่อ ตนเอง สังคมและสิ งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ เป็ นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดําเนิ นชีวตประจําวัน การเรี ยนรู ้ดวยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนือง การทํางาน และการอยูร่วมกันใน ิ ้ ่ สังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง ั เหมาะสม การปรับตัวให้ทนกับการเปลียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ั และการรู ้จกหลีกเลียง ั พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ งผลกระทบต่อตนเองและผูอืน ้
  • 15. 9 5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดานต่าง ๆ และ ้ มี ท ัก ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื อการพัฒ นาตนเองและสั ง คม ในด้า นการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือให้ สามารถอยูร่วมกับผูอืนในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี ่ ้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 2. ซื อสัตย์สุจริ ต 3. มีวนย ิ ั 4. ใฝ่ เรี ยนรู ้ ่ 5. อยูอย่างพอเพียง 6. มุ่งมันในการทํางาน 7. รักความเป็ นไทย 8. มีจิตสาธารณะ นอกจากนี สถานศึกษาสามารถกําหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิมเติมให้สอดคล้องตามบริ บท และจุดเน้นของตนเอง สาระและมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที 1 การดํารงชี วตและครอบครัว ิ มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทํางาน มี ค วามคิ ดสร้ า งสรรค์ มี ท กษะกระบวนการทํา งาน ั ทัก ษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปั ญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน และทัก ษะ การแสวงหาความรู ้ มี คุณธรรม และลักษณะนิ สัยในการทํางาน มี จิตสํานึ ก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ งแวดล้อม เพือการดํารงชีวตและครอบครัว ิ
  • 16. 10 สาระที 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยีออกแบบและสร้ างสิ งของเครื องใช้ หรื อ วิ ธี ก าร ตามกระบวนการเทคโนโลยี อ ย่ า งมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ เลื อ กใช้ เทคโนโลยีใ นทางสร้ างสรรค์ต่อชี วิต สั งคม สิ งแวดล้อม และมี ส่วนร่ วมในการ จัดการเทคโนโลยีทียังยืน สาระที 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูล การเรี ยนรู ้ การสื อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม สาระที 4 การอาชี พ มาตรฐาน ง 4.1 เ ข้ า ใ จ มี ทั ก ษ ะ ที จํ า เ ป็ น มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ เ ห็ น แ น ว ท า ง ใ น ง า น อ า ชี พ ใช้เทคโนโลยีเพือพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติทีดีต่ออาชีพ คุณภาพผู้เรียน จบชั นมัธยมศึกษาปี ที 6 • เข้าใจวิธีการทํางานเพือการดํารงชี วิต สร้ างผลงานอย่างมีความคิดสร้ างสรรค์ มีทกษะ การ ั ทํางานร่ วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะการแสวงหาความรู ้ ทํางานอย่างมี คุณธรรม และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุมค่าและยังยืน ้ ั • เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกบศาสตร์ อืนๆ วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี มีความคิด สร้ างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการ สร้ างและพัฒนา สิ งของเครื องใช้หรื อวิธีการ ตาม กระบวนการเทคโนโลยีอย่างปลอดภัยโดยใช้ซอฟท์แวร์ ช่วยในการออกแบบหรื อนําเสนอผลงาน วิเคราะห์ และเลื อกใช้เทคโนโลยีทีเหมาะสมกับชี วิตประจําวันอย่างสร้ างสรรค์ต่อชี วิต สังคม สิ งแวดล้อม และมี การจัดการเทคโนโลยีดวยวิธีการของเทคโนโลยีสะอาด ้
  • 17. 11 • เข้าใจองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร์ ระบบสื อสารข้อมูลสําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง และมี ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ แก้ปัญหา เขียนโปรแกรมภาษา พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ใช้ฮาร์ ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ติดต่อสื อสารและค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต ใช้คอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็ น สารสนเทศเพือการตัดสิ นใจ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน และใช้คอมพิวเตอร์ สร้ างชิ นงานหรื อ โครงงาน • เข้าใจแนวทางสู่ อาชี พ การเลื อก และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชี พ มีประสบการณ์ ในอาชีพทีถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะทีดีต่ออาชีพ สาระที 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค้นข้อมูลการเรี ยนรู ้ การสื อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล และมีคุณธรรม ตัวชี วัด สาระการเรี ยนรู้ แกนกลางและสาระการเรียนรู้ ท้องถิน 1. อธิ บายองค์ประกอบของระบบ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ได้แก่ ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์ สารสนเทศ ข้อมูล บุคลากร และขันตอนการปฏิบติงาน ั 2. อธิ บายองค์ประกอบและ การทํางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยสําคัญ 5 หน่วย ได้แก่ หน่วย หลักการทํางานของคอมพิวเตอร์ รับเข้า หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจําหลัก หน่วยความจําสํารอง และ หน่วยส่ งออก 3. อธิ บายระบบสื อสารข้อมูล ระบบสื อสารข้อมูล ประกอบด้วย ข่าวสาร ผูส่ง ผูรับ สื อกลาง ้ ้ สําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โพรโตคอล เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จะสื อสารและรับส่ งข้อมูลกันได้ตองใช้โพรโท ้ คอลชนิดเดียวกัน วิธีการถ่ายโอนข้อมูลแบบขนานและแบบอนุกรม 4. บอกคุณลักษณะของ คุณลักษณะ(specification) ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง ต่อพ่วง เช่น ความเร็ วและความจุของฮาร์ ดดิสก์
  • 18. 12 ตัวชี วัด สาระการเรี ยนรู้ แกนกลางและสาระการเรียนรู้ ท้องถิน 5. แก้ปัญหาด้วยกระบวนการ แก้ปัญหาโดยใช้ขนตอนดังนี ั เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี • การวิเคราะห์และกําหนดรายละเอียดของปั ญหา ประสิ ทธิ ภาพ • การเลือกเครื องมือ และออกแบบขันตอนวิธี • การดําเนิ นการแก้ปัญหา • การตรวจสอบและการปรับปรุ ง การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาอย่างมีขนตอน ั 6. เขียนโปรแกรมภาษา ขันตอนการพัฒนาโปรแกรม มี 5 ขันตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ ปั ญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบ โปรแกรม และการจัดทําเอกสารประกอบ การเขียนโปรแกรม เช่น ซี จาวา ปาสคาล วิชวลเบสิ ก ซี ชาร์ ป การเขียนโปรแกรมในงานด้านต่างๆ เช่น การจัดการข้อมูล การ วิเคราะห์ขอมูล การแก้ปัญหาในวิชาคณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ้ การสร้างชินงาน 7. พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานดังนี • การพัฒนาสื อเพือการศึกษา • การพัฒนาเครื องมือ • การทดลองทฤษฎี • การประยุกต์ใช้งาน • การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ตามขันตอนต่อไปนี • คัดเลือกหัวข้อทีสนใจ • ศึกษาค้นคว้าเอกสาร • จัดทําข้อเสนอโครงงาน • พัฒนาโครงงาน • จัดทํารายงาน • นําเสนอและเผยแพร่
  • 19. 13 ตัวชี วัด สาระการเรี ยนรู้ แกนกลางและสาระการเรียนรู้ ท้องถิน 8. ใช้ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้ การเลือกคุณลักษณะของฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เหมาะสมกับ เหมาะสมกับงาน งาน เช่น คอมพิวเตอร์ ทีใช้ในงานสื อผสม ควรเป็ นเครื องทีมี สมรรถนะสู ง และใช้ซอฟต์แวร์ ทีเหมาะสม 9. ติดต่อสื อสาร ค้นหาข้อมูลผ่าน ปฏิบติการติดต่อสื อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์ เน็ต ั อินเตอร์ เน็ต คุณธรรมและจริ ยธรรมในการใช้อินเตอร์ เน็ต 10. ใช้คอมพิวเตอร์ ในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการตัดสิ นใจของบุคคล กลุ่ม ประมวลผลข้อมูลให้เป็ น องค์กรในงานต่างๆ สารสนเทศ เพือประกอบการ ตัดสิ นใจ 11. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองานในรู ปแบบโดยพิจารณา นําเสนองานในรู ปแบบทีเหมาะสม วัตถุประสงค์ของงาน 12. ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้าง ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างชินงานหรื อโครงงาน ตามหลักการทํา ชินงานหรื อโครงงานอย่างมี โครงงาน จิตสํานึกและความรับผิดชอบ ศึกษาผลกระทบด้านสังคมและสิ งแวดล้อมทีเกิดจากงานทีสร้าง ขึน เพือหาแนวทางปรับปรุ งและพัฒนา 13. บอกข้อควรปฏิบติสาหรับผูใช้ ั ํ ้ ข้อปฏิบติสาหรับผูใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น สื อสารและ ั ํ ้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบติต่อผูอืนอย่างสุ ภาพ ปฏิบติตามระเบียบข้อบังคับของระบบ ั ้ ั ทีใช้งาน ไม่ทาผิดกฎหมายและศีลธรรม แบ่งปั นความสุ ขให้กบ ํ ั ผูอืน ้
  • 20. 14 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (ง31101) คําอธิบายรายวิชาพืนฐาน รหัสวิชา ง31101 ชือรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชันมัธยมศึกษาปี ที 4 เวลาเรี ยน 40 ชัวโมง จํานวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต ศึกษาองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร์ ระบบการสื อสาร ข้อมูลสําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะและอุปกรณ์ต่อพ่วง การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างมีประสิ ทธิภาพ การเขียนโปรแกรมภาษา การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยใช้การสื อสารและการค้นหาข้อมูลผ่าน อินเตอร์เน็ต รวมทังใช้ซอฟต์แวร์ และฮาร์ ดแวร์ ให้เหมาะสมกับงาน การนําคอมพิวเตอร์ ไปใช้ในการประมวลผลข้อมูลให้ เป็ นสารสนเทศ เพือประกอบการตัดสิ นใจและนําเสนอในรู ปแบบทีเหมาะสมอย่างมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ โดยกระบวนการอธิบายองค์ความรู ้ทีได้รับ การสื บค้นข้อมูล การแก้ปัญหา เขียนโปรแกรม พัฒนาโครงงาน โดย การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือให้เกิดความรู ้ความเข้าใจ ความซือสัตย์สุจริ ต มีวนย ใฝ่ เรี ยนรู ้ มุ่งมันในการทํางานตามทีได้รับมอบหมาย และ ิ ั มีเจตคติทีดีต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัสตัวชีวัด ง 3.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/9, ม.4-6/10, ม.4-6/11, ม.4-6/12, ม.4-6/13 รวมทังหมด 13 ตัวชีวัด
  • 21. 15 โครงสร้ างรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง31101 ชันมัธยมศึกษาปี ที 4 (ภาคเรี ยนที 1) เวลา 40 ชัวโมง คะแนนเต็ม 100 คะแนน อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคเรี ยนกับปลายภาค 80 : 20 มาตรฐานการเรียนรู้ / เวลา นําหนักคะแนน ลําดับที ชือหน่ วยการเรียนรู้ สาระสําคัญ ตัวชีวัด (ชัวโมง) (100 คะแนน) 1 ระบบสารสนเทศ ง 3.1 ม.4-6/1, 10 - ความหมายของระบบ 4 5 สารสนเทศ - องค์ประกอบของระบบ สารสนเทศ - การใช้คอมพิวเตอร์ใน การประมวลผลข้อมูลให้ เป็ นสารสนเทศเพือ ประกอบการตัดสิ นใจ - ระบบเลขฐาน 2 หลักการทํางานของ ง 3.1 ม.4-6/2, 4 - องค์ประกอบของ 4 5 คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ - หลักการทํางานของ คอมพิวเตอร์ - คุณลักษณะของ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่อพ่วง 3 ระบบสื อสารข้อมูล ง 3.1 ม.4-6/3 - เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 4 5 สําหรับเครื อข่าย - ความหมายของ คอมพิวเตอร์ ระบบสื อสารข้อมูล สําหรับเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ - องค์ประกอบของ ระบบสื อสารข้อมูล - สื อหรื อตัวกลางของ ระบบสื อสารข้อมูล - โพรโตคอล - วิธีการส่งข้อมูลใน ระบบสื อสารข้อมูล - อุปกรณ์เครื อข่าย
  • 22. 16 มาตรฐานการเรียนรู้ / เวลา นําหนักคะแนน ลําดับที ชือหน่ วยการเรียนรู้ สาระสําคัญ ตัวชีวัด (ชัวโมง) (100 คะแนน) 4 การแก้ปัญหาด้วย ง 3.1 ม.4-6/5, 6 - การแก้ปัญหาด้วย 6 10 กระบวนการเทคโนโลยี กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ สารสนเทศ - การถ่ายทอดความคิดใน การแก้ปัญหาอย่างมี ขันตอน - การเขียนโปรแกรม ภาษา สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางภาค) 1 20 5 ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ง 3.1 ม.4-6/8 - การใช้ฮาร์ดแวร์และ 4 5 ซอฟต์แวร์ - การเลือกซือ คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสม กับลักษณะงาน - คอมพิวเตอร์ทีใช้ในงาน สื อประสม 6 การติดต่อสื อสาร ค้นหา ง 3.1 ม.4-6/9, 13 - ระบบอินเตอร์เน็ต 4 5 ข้อมูลผ่านเครื อข่าย - การค้นหาข้อมูลผ่าน อินเตอร์เน็ต เครื อข่ายอินเตอร์เน็ต - การติดต่อสื อสารผ่าน เครื อข่ายอินเตอร์เน็ต - คุณธรรมและจริ ยธรรม ในการใช้อินเตอร์เน็ต 7 การใช้เทคโนโลยี ง 3.1 ม.4-6/11 - ความหมายของการใช้ 6 15 สารสนเทศนําเสนองาน เทคโนโลยีนาเสนองาน ํ - ความสําคัญของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ นําเสนองาน - องค์ประกอบของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ นําเสนองาน - การนําเสนองานด้วย ซอฟต์แวร์
  • 23. 17 มาตรฐานการเรียนรู้ / เวลา นําหนักคะแนน ลําดับที ชือหน่ วยการเรียนรู้ สาระสําคัญ ตัวชีวัด (ชัวโมง) (100 คะแนน) 8 การพัฒนาโครงงาน ง 3.1 ม.4-6/7, 12 - ความหมายของ 6 10 คอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ - ความสําคัญของ โครงงานคอมพิวเตอร์ - ประเภทของโครงงาน คอมพิวเตอร์ - ขันตอนการพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์ - การใช้คอมพิวเตอร์ สร้างชินงานหรื อ โครงงานอย่างมีจิตสํานึก และความรับผิดชอบ สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายภาค) 1 20 รวม 40 100
  • 24. 18 แผนทีความคิด (mind mapping) Mind Map คือ อะไร Mind Map หรื อ แผนทีความคิด เป็ นวิธีการบันทึ ก ความคิดเพือให้เห็นภาพของความคิดทีหลากหลายมุมมอง ทีกว้าง และ ทีชัดเจน โดยยังไม่จดระบบระเบียบความคิดใดๆทังสิ น เป็ นการเขียน ั ตามความคิด ทีเกิ ดขึนขณะนัน การเขียนมีลกษณะเหมือนต้นไม้แตก ั กิงก้าน สาขาออกไปเรื อยๆ ทําให้สมองได้คิดได้ทางานตามธรรมชาติ ํ อย่างและมีการจินตนาการกว้างไกล แผนทีความคิด ยังเป็ นวิธีการหนึ งทีใช้ในการบันทึกความคิดของการ อภิปรายกลุ่ม หรื อการระดมความคิด โดยให้สมาชิ กทุกคนเสนอความ คิดเห็น และวิทยากรจะทําการ จดบันทึกด้วยคําสันๆ คําโตๆ ให้ทุกคนมองเห็น พร้อมทังโยงเข้าหากิ ง ก้านทีเกียวข้องกัน เพือรวบรวมความคิดทีหลากหลายของทุกคน ไว้ในแผ่นกระดาษแผ่นเดียว ทําให้ทุก คนได้เห็นภาพความคิดของผูอืนได้ชดเจน และเกิดความคิดใหม่ต่อไปได้ ้ ั ความเป็ นมาของ Mind Map แผนที ความคิ ด เป็ นการนําเอาทฤษฎี ที เกี ยวกับ สมองไปใช้ให้เกิ ดประโยชน์ อย่า งสู งสุ ด นาย ธัญญา ผลอนันต์ เป็ นผูนาความคิดและวิธีการเขียนแผนทีความคิดเข้ามาใช้ และเผยแพร่ ในประเทศไทย ้ ํ ผูคิดริ เริ มคือโทนี บูซาน (Tony Buzan) เป็ นชาวอังกฤษ เป็ นผูนาเอาความรู ้เรื องสมองมาปรับใช้เพือการ ้ ้ ํ เรี ยนรู ้ของเขา โดยพัฒนาการจากการจดบันทึกแบบเดิมที เป็ นตัวอักษร เป็ นบรรทัด ๆ เป็ นแถว ๆ ใช้ ปากกาหรื อดินสอในการจดบันทึก เปลียนมาเป็ นบันทึกด้วยคํา ภาพ สัญลักษณ์ แบบแผ่รัศมี ออกรอบ ๆ ศูนย์กลางเหมือนการแตกแขนงของ กิงไม้ โดยใช้สีสัน การเขียนแผนทีความคิดของโทนี บูซาน เป็ น การบันทึกในทุกๆเรื อง ทัง ชี วิตจริ งส่ วนตัวและการงาน เช่น การวางแผน การตัดสิ นใจ การช่วยจํา การ แก้ปัญหา การ นําเสนอ และการเขี ยนหนังสื อ เป็ นต้น การบันทึ กแบบนี เป็ นการใช้ทกษะการทํางาน ั ร่ วมกัน ของสมองทังสองซี ก คือ ซี กซ้าย วิเคราะห์ คํา ภาษา สัญลักษณ์ ระบบ ลําดับ ความเป็ นเหตุ เป็ นผล ส่ วนสมองซี กขวา จะทําหน้าทีสังเคราะห์คิด สร้ างสรรค์ จินตนาการ ความงาม ศิลปะ จังหวะ โดยมีแถบเส้นประสาทคอร์ ปัสคอโลซัมเป็ นเสมือนสะพานเชือม
  • 25. 19 หลักการเขียน Mind Map การเขี ยน Mind Map ใช้กระดาษแผ่นเดี ยว การเขี ย นใช้สีสันหลากหลาย ใช้ โครงสร้ างตามธรรมชาติทีแผ่กระจายออกมาจุดศูนย์กลาง ใช้เส้ นโยง มีเครื องหมาย สัญลักษณ์ และ รู ปภาพทีผสมผสานร่ วมกันอย่างเรี ยบง่าย สอดคล้องกับการทํางานตามธรรมชาติของสมอง วิธีการเขียน Mind Map 1. เตรี ยมกระดาษเปล่าทีไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษภาพแนวนอน 2. วาดภาพสี หรื อเขียนคําหรื อข้อความทีสื อหรื อแสดงถึงเรื องจะทํา Mind Map กลางหน้ากระดาษ โดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรู ปทรงเรขาคณิ ต 3. คิดถึ งหัวเรื องสําคัญทีเป็ นส่ วนประกอบของเรื องที ทํา Mind Map โดยให้เขี ยนเป็ นคํา ที มี ลักษณะเป็ นหน่วย หรื อเป็ นคําสําคัญ (Key Word) สัน ๆ ทีมีความหมาย บนเส้น ซึ งเส้นแต่ละ เส้นจะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิง 4. แตกความคิดของหัวเรื องสําคัญแต่ละเรื องในข้อ 3 ออกเป็ นกิง ๆ หลายกิง โดยเขียนคําหรื อวลี บนเส้นทีแตกออกไป ลักษณะของกิงควรเอนไม่เกิน 60 องศา 5. แตกความคิดรองลงไปทีเป็ นส่ วนประกอบของแต่ละกิง ในข้อ 4 โดยเขียนคําหรื อวลีเส้นทีแตก ออกไป ซึ งสามารถแตกความคิดออกไปเรื อยๆ 6. การเขียนคํา ควรเขียนด้วยคําทีเป็ นคําสําคัญ (Key Word) หรื อคําหลัก หรื อเป็ นวลีทีมี ความหมายชัดเจน 7. คํา วลี สัญลักษณ์ หรื อรู ปภาพใดทีต้องการเน้น อาจใช้วธีการทําให้เด่น เช่น การล้อม ิ กรอบ หรื อใส่ กล่อง เป็ นต้น 8. ตกแต่ง Mind Map ทีเขียนด้วยความสนุกสนานทังภาพและแนวคิดทีเชือมโยงต่อกัน ข้ อดีของการทําแผนทีความคิด 1. ทํา ให้ เ ห็ น ภาพรวมกว้า ง ๆ ของหั ว ข้ อ ใหญ่ หรื อ ขอบเขตของเรื อง 2. ทําให้ส ามารถวางแผนเส้ นทางหรื อตัดสิ นใจได้อย่า ง
  • 26. 20 ่ ถูกต้อง เพราะรู ้วาตรงไหนกําลังจะไปไหนหรื อผ่านอะไรบ้าง 3. สามารถรวบรวมข้อมูลจํานวนมากลงไว้ในกระดาษแผ่นเดียวกัน 4. กระตุนให้คิดแก้ไขปั ญหา โดยเปิ ดโอกาสให้มองเห็นวิธีใหม่ ๆ ทีสร้างสรรค์ ้ 5. สร้างความเพลิดเพลินในการอ่านและง่ายต่อการจดจํา สรุ ป Mind Map เป็ นแผนทีความคิดทีอัจฉริ ยะ เปรี ยบเสมือนลายแทงทีนําไปสู่ การจดจํา การเรี ยบเรี ยง การจัดระเบียบข้อมูลตามธรรมชาติ การทํางานของสมองตังแต่ตน ้ นันหมายความว่า การจําและฟื นความจํา หรื อการเรี ยกข้อมูลเหล่านันกลับมาใช้ในภายหลัง จะทําได้ง่าย และมีความ ถูกต้องแม่นยํากว่าการใช้เทคนิคการจดบันทึกแบบเดิม