SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
Télécharger pour lire hors ligne
ที่มา http://www.youtube.com/watch?v=HUmwVZfs5a8
• จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
ความหมาย
จรรยาบรรณในวิชาชีพหมายถึงประมวลมาตรฐานความประพฤติที่ผู้ประกอบวิชาชีพ
จะต้องประพฤติปฏิบัติเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติอย่างถูกต้องเพื่อผดุงเกียรติ
และสถานะของวิชาชีพนั้นก็ได้ผู้กระทาผิดจรรยาบรรณ จะต้องได้รับโทษโดยว่ากล่าว
ตักเตือน ถูกพักงาน หรือถูกยกเลิกใบประกอบวิชาชีพได้
ความสาคัญ
จรรยาบรรณในวิชาจะเป็นสิ่งสาคัญในการที่จะจาแนกอาชีพว่าเป็นวิชาชีพหรือไม่ อาชีพที่
เป็น “วิชาชีพ” นั้นกาหนดให้มีองค์กรรองรับ และมีการกาหนดมาตรฐานของความ
ประพฤติของผู้อยู่ในวงการวิชาชีพซึ่งเรียกว่า “จรรยาบรรณ“ ส่วนลักษณะ “วิชาชีพ ”
ที่สาคัญคือ เป็นอาชีพที่มีศาสตร์ชั้นสูงรองรับ มีการศึกษาค้นคว้าวิจัยและพัฒนาวิชาชีพมี
การจัดการสอนศาสตร์ดังกล่าวในระดับอุดมศึกษาทั้งการสอนด้วยทฤษฏีและการปฏิบัติ
จนผู้เรียนเกิดความชานาญ และมีประสบการณ์ในศาสตร์นั้น นอกจากนี้จะต้องมีองค์กร
หรือสมาคมวิชาชีพ ตลอดจนมี “จรรยาบรรณในวิชาชีพ” เพื่อให้สมาชิกในวิชาชีพดาเนิน
ชีวิตตามหลักมาตรฐานดังกล่าวหลักที่กาหนดในจรรยาบรรณวิชาชีพทั่วไป คือ แนวความ
ประพฤติปฏิบัติที่มีต่อวิชาชีพต่อผู้เรียน ต่อตนเอง และต่อสังคม ดังนี้
จรรยาบรรณต่ออาชีพ
ผู้ที่อยู่ในวงวิชาชีพจะต้องยึดถือจรรยาบรรณ ในการดารงวิชาชีพให้เป็นที่ยอมรับ คือ
1. ศรัทธาต่อวิชาชีพ ผู้ที่อยู่ในวงการวิชาชีพครู ต้องมีความรักและศรัทธาต่อวิชาชีพครู
เห็นว่าอาชีพครูเป็นอาชีพที่มีคุณค่า มีประโยชน์ต่อประเทศชาติ ในฐานะที่เป็นอาชีพที่
สร้างคนให้มีความรู้ความสามารถ และเป็นคนที่พึงประสงค์ของสังคม ผู้อยู่ในวิชาชีพ
จะต้องมั่นใจ ในกาประกอบวิชาชีพนี้ด้วยความรัก และชื่นชมในความสาคัญของวิชาชีพ
2. ธารงและปกป้องวิชาชีพ สมาชิกของสังคมวิชาชีพต้องมีจิตสานึกในการธารง ปกป้อง
และรักษาเกียรติภูมิของวิชา ไม่ให้ใครมาดูหมิ่นดูแคลน หรือเหยียบย่า ทาให้สถานะของ
วิชาชีพต้องตกต่า หรือ มัวหมองการธารงปกป้องต้องกระทาทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึง
ปรารถนาหรือต้องมีการแก้ไขข่าวหรือประท้วงหากมีข่าวคราวอันก่อให้เกิดความเสียหาย
ต่อวิชาชีพ
3. พัฒนาองค์ความรู้ในวิชาชีพ หน้าที่ของสมาชิกในวงการวิชาชีพคือ การที่ต้อง
รับผิดชอบในการศึกษา ค้นคว้าวิจัย สร้างความรู้และเผยแพร่ความรู้ เพื่อทาให้วิทยาการ
ในศาสตร์สาขาวิชาชีพครูก้าวหน้าทันสังคมทันเหตุการณ์ ก่อประโยชน์ต่อประชาชนใน
สังคม ทาให้คนเก่ง และฉลาดขึ้น โดยวิธีการเรียนการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนรักเรียน ใฝ่รู้
ช่างคิด ทีวิจารณญาณ มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค์ มากขึ้น
4. สร้างองค์กรวิชาชีพให้แข็งแกร่งสมาชิกในวงวิชาชีพต้องถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องสร้าง
องค์กรวิชาชีพให้คงมั่นธารงอยู่ได้ด้วยการเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิก และเป็นเวทีให้คน
ในวงการได้แสดง ฝีมือและความสามารถทางการสร้างรูปแบบใหม่ของการเรียนการสอน
ตลอดจนการเผยแพร่ผลงานทางด้านการสร้างแบบเรียนใหม่ ๆ การเสนอแนวความคิดห่า
ในเรื่องของการพัฒนาคน การเรียนการสอน และการประเมินผล
5. ร่วมมือในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ สมาชิกในสังคมวิชาชีพต้องร่วมมือกันในการจัด
กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวในเรื่องของความคิด หรือการจัดประชุม สัมมนา
แลกเปลี่ยนแนวความคิดเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง กิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร
หากไม่ได้รับความสนับสนุนจากสมาชิกแล้ว ทาให้องค์กรวิชาชีพขาดความสาคัญลงและไม่
สามารถดาเนินภารกิจขององค์กรวิชาชีพต่อไปได้บทบาทของการธาดงมาตรฐานและการ
ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการก็ย่อมจะลดลงด้วย ถ้าไม่มีปริมาณสมาชิกที่สนับสนุน
เพียงพอ
จรรยาบรรณต่อผู้เรียน
ครูจะต้องมีความประพฤติปฏิบัติต่อผู้เรียน 9 ประการ คือ
1. ตั้งใจถ่ายทอดวิชาการ บทบาทของครูต้องพยายามที่จะทาให้ลูกศิษย์เรียนด้วย
ความสุข เรียนด้วยความเข้าใจ และเกิดความมานะพยายามที่จะรู้ในศาสตร์นั้น ครูจึงต้อง
ตั้งใจอย่างเต็มที่ที่จะศึกษาวิชาการทั้งทางศาสตร์ที่จะสอน ศาสตร์ที่จะถ่ายทอดหรือวิธีการ
สอน ครูต้องพยายามที่จะหาวิธีการใหม่ ๆ มาลองทดลองสอน
2. รักและเข้าใจศิษย์ ครูต้องพยายามศึกษาธรรมชาติของวัยรุ่น ว่ามีปัญหามีความไวต่อ
ความรู้สึก (sensitve) และอารมณ์ไม่มั่นคง ครูจึงควรให้อภัย เข้าใจ และหาวิธีการให้ศิษย์
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ครูต้องพยายามทาให้ลูกศิษย์รักและไว้ใจเพื่อที่จะ
ได้กล้าปรึกษาในสิ่งต่างๆแล้วครูก็จะสามารถช่วยให้ศิษย์ประสบความสาเร็จในการเรียน
และการดารงชีวิตได้อย่างถูกต้อง
3.ส่งเสริมการเรียนรู้ปัจจุบันการส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเองหรือการ
เรียนรู้จากการช่วยเหลือกันในกลุ่มอาจจะทาให้ผู้เรียนมีวิธีการหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ
ด้วยตนเองมากขึ้นมากกว่าจะคอยให้ครูบอกให้แต่ฝ่ายเดียว ครูจึงจาเป็นต้องชี้ช่องทางให้
ผู้เรียนหาวิธีการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น
4. ยุติธรรม อาชีพครูเป็นอาชีพที่จะต้องฝึกฝนตนเองให้เป็นคนซื่อสัตย์ ยุติธรรม ไม่มีอคติ
ลาเอียงต่อลูกศิษย์ ไม่เห็นว่าคนที่มีปัญหาเป็นคนน่ารังเกียจ หรือพอใจแต่เฉพาะศิษย์ที่
เรียนเก่ง ไม่สร้างปัญหาเท่านั้น ครูต้องมีความเป็นธรรมในการให้คะแนน และพร้อมที่จะ
อธิบายวิธีการให้คะแนน และการตัดเกรดได้ ครูต้องรอบคอบในการรอกคะแนน เพราะถ้า
ผิดพลาดแล้วบางครั้งก็จะทาให้ผู้เรียนที่ควรได้คะแนนดี ๆ กลับได้คะแนนเกือบจะสอบตก
ไป
5. ไม่แสวงหาประโยชน์จากผู้เรียน ลักษณะของครูจะต้องเป็นผู้ไม่แสวงหาอามิสสินจ้าง
เงินไม่ใช่สิ่งที่สร้างความสุขเสมอไป ครูจึงจะต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษในการกระทา
ใด ๆ อันจะก่อให้เกิดความเข้าใจได้ว่า ครูกาลังหาประโยชน์จากศิษย์อย่างไม่เป็นธรรม
6. ทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี ครูมีอิทธิพลต่อศิษย์ทั้งด้านวาจา ความคิด บุคลิกภาพ และ
ความประพฤติ ครูจึงจะต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพื่อให้ลูกศิษย์ได้ซึมซับสิ่งที่ทาจากตัว
ครูไป เมื่อศิษย์เกิดศรัทธาในความสามารถของครู ศิษย์อาจจะเลียนแบบความประพฤติ
ของครูไปอย่างไม่ได้เจตนา เช่น การตรงต่อเวลา การพูดจาชัดเจน การแสดงความคิดเห็น
ที่ตรงไปตรงมา สุภาพเรียบร้อย เป็นต้น
7.ให้เกียรติผู้เรียน การยกย่องให้เกียรติผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ และเกรงใจ
ผู้สอน ครูไม่ควรใช้อานาจในทางที่ผิด เช่น พูดจาข่มขู่ ใช้คาพูดไม่สุภาพ เปลี่ยนชื่อผู้เรียน
เยาะหยันหรือดูถูกผู้เรียน การเคารพผู้เรียนในฐานะปัจเจกบุคคลเป็นสิ่งที่ทาให้เกิดความ
เข้าใจ และการเรียนรู้ที่ดี เมื่อผู้เรียนได้รับการปฏิบัติอย่างดี ย่อมก่อให้เกิดพลังใน
การศึกษาต่อไป
8.อบรมบ่มนิสัย ม.ล. ปิ่น มาลากุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ส่งเสริม
สนับสนุนให้ครูมีบทบาทหน้าที่ในการอบรมบ่มนิสัยเด็ก โดยท่านเชื่อว่า “การอบรมบ่ม
นิสัยใคร ๆนั้นเพียงแค่วันละนาทีก็ดีถม” ดังนั้นครูควรแบ่งเวลาในการอบรมบ่มนิสัยผู้เรียน
เช่น ก่อนการสอนแต่ละชั่วโมงอาจชี้แนะหรือให้ความคิดที่ดีแก่ผู้เรียนได้ ครูควรถือเป็น
หน้าที่ที่จะต้องสอนคนให้เป็นคนดี
9.ช่วยเหลือศิษย์ผู้เรียนมาอยู่ในสถานศึกษาพร้อมด้วยประสบการณ์และปัญหาที่แตกต่าง
กันออกไปดังนั้นครูจึงมีหน้าที่ที่จะต้องสังเกตความผิดปกติหรือข้อบกพร่องของศิษย์ และ
พร้อมที่จะให้การช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที ไม่ให้ศิษย์ต้องก้าวถลาลึกลงไปในพฤติกรรมที่
ไม่พึงประสงค์
นอกจากจรรยาบรรณต่อศิษย์แล้ว ครูจะต้องมีความประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง ด้วยคือ
จรรยาบรรณต่อตนเอง ครูจะต้องพัฒนาตนเองตลอดเวลาเพื่อให้มีลักษณะพฤติกรรม ดังนี้
1.ประพฤติชอบ ครูต้องตั้งตนไว้ในที่ถูกที่ควรสามารถบังคับตนเองให้ประพฤติแต่สิ่งที่ดี
งามถูกต้อง
2.รับผิดชอบ ครูต้องฝึกความรับผิดชอบ โดยตั้งใจทางานให้สาเร็จลุล่วง มีความผิดพลาด
น้อย
3.มีเหตุผล ครูต้องฝึกถามคาถามตนเองบ่อย ๆ ฝึกความคิดวิเคราะห์หาเหตุหาผล หาข้อดี
ข้อเสียของตนเอง และเรื่องต่าง ๆ เพื่อทาให้ตนเองเป็นคนมีเหตุผลที่ดี
4.ใฝ่รู้ การติดตามข่าวสารข้อมูลอยู่เสมอ ๆ ทาให้ครูมีนิสัยใฝ่รู้ อยากทราบคาตอบในเรื่อง
ต่าง ๆ ครูควรมีความรู้รอบตัวอย่างดีทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพื่อให้ครูดารง
ชีพในสังคมได้อย่างเป็นสุข ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ และชี้แนะสิ่งที่ถูกต้องให้
ศิษย์ได้
5.รอบคอบ ครูต้องฝึกฝนตนเองให้เป็นคนรอบคอบ ละเอียดและประณีต ในการดาเนิน
กิจการต่าง ๆ การทากิจกรรม เช่น ควบคุมบัญชีการเงินต้องรอบคอบ ต้องเห็นตัวเลข
ชัดเจนไม่ตกหล่น ทาให้เกิดการผิดพลาดที่เป็นผลร้ายทั้งของตนเองและผู้อื่น
6.ฝึกจิต การพัฒนาจิต ทาให้ครูอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและส่งผลทาให้ครูทางานได้
อย่างมีประสิทธิถาพมากขึ้นครูจึงต้องหมั่นฝึกจืตของตนให้สูงส่ง สูงกว่ามาตรฐาน ระงับ
อารมณ์ไม่ดี คิดอะไรได้สูงกว่ามาตรบานและคิดเป็นบวก มากกว่าคิดลบหรือคิดร้าย
7.สนใจศิษย์ การสนใจพัฒนาการของผู้เรียน เป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้วิชาชีพครูก้าวหน้า
เพราะถ้าไม่มีผู้เรียนก็ไม่มีวิชาชีพครู ครูจึงจาเป็นต้องศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับลักษณะ
ธรรมชาติผู้เรียน การแก้ปัญหาผู้เรียน การส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
สรุปได้ว่า จรรยาบรรณ คือ ประมวลพฤติกรรมที่กาหนด ลักษณะมาตรฐานการกระทา
ของครู อันจะทาให้วิชาชีพครูก้าวหน้าอย่างถาวร โดยที่ครูจะต้องดาเนินการเรียนการสอน
โดยการยึดจรรยาบรรณต่อวิชาชีพต่อผู้เรียน และต่อตนเอง ในการทาหน้าที่ของครูให้
สมบูรณ์ .
 จรรยาบรรณวิชาชีพครูมีอยู่ด้วยกัน 5 ด้าน 9 ข้อ อย่างที่เราคนเป็นครูท่องจากันอยู่
เสมอๆ ว่าจรรยาบรรณครูมี 5 ด้านนะ 9 ข้อ แต่มาดูว่า 5 ด้าน 9 ข้อนั้นมีอะไรบ้าง
ด้านที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง
1. ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการ
พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
ด้านที่ 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
2. ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
ด้านที่ 3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
3. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผุ้รับบริการตามบทบาท
หน้าที่โดยเสมอหน้า
4. ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตาม
บทบาทและหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
5. ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งกาย วาจา และจิตใจ
6. ต้องไม่กระทาตนเป็นปรปักษ์ต่อความเจริญทางกาย วาจาและจิตใจ อารมณ์และสังคมของ
ศิษย์และผู้รับบริการ
7. ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จาก
การใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
ด้านที่ 4 จรรยาบรรณต่อผู่ร่วมประกอบวิชาชีพ
8. พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความ
สามัคคีในหมู่คณะ
ด้านที่ 5 จรรยาบรรณต่อสังคม
9. พึงปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ
ปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จรรยาบรรณวิชาชีพครู 9 ข้อ
จรรยาบรรณข้อที่ 1 : ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วงเหลือส่งเสริม ให้กาลังใจ
ในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
หลักการ การแสดงออกของบุคคลในทางที่ดีเป็นผลมาจากสภาวะจิตใจที่ดีงาม และความเชื่อถือที่
ถูกต้องของบุคคลที่มีความรักและเมตตาย่อมแสดงออกด้วยความปรารถนาในอันที่จะก่อให้เกิด
ผลดีต่อบุคคลอื่นมีความสุภาพ ไตร่ตรองถึงผลแล้วจึงแสดงออกอย่างจริงใจ ครูจึงต้องมีความรัก
และเมตตาต่อศิษย์อยู่เสมอ ซึ่งจะเป็นผลให้พฤติกรรมที่ครูแสดงออกต่อศิษย์ เป็นไปในทางสุภาพ
เอื้ออาทร ส่งผลดีต่อศิษย์ในทุก ๆ ด้าน
ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์
โดยเสมอหน้า หมายถึง การตอบสนองต่อความต้องการ ความถนัด ความสนใจของศิษย์อย่าง
จริงใจ สอดคล้องกับการเคารพ การเห็นอกเห็นใจต่อลัทธิพื้นฐานของศิษย์จนเป็นที่ไว้วางใจเชื่อถือ
และชื่นชมได้รวมทั้งเป็นผลไปสู่การพัฒนารอบด้านอย่างเท่าเทียมกัน
พฤติกรรมสาคัญ
1. สร้างความรู้สึกเป็นมิตร เป็นที่พึ่งพาและไว้วางใจได้ของศิษย์ แต่ละคนและทุกคน ตัวอย่างเช่น
- ให้ความเป็นกันเองกับศิษย์
- รับฟังปัญหาของศิษย์และให้ความช่วยเหลือศิษย์
- ร่วมทากิจกรรมกับศิษย์เป็นครั้งคราวตามความเหมาะสม
- สนทนาไต่ถามทุกข์สุขของศิษย์ ฯลฯ
2. ตอบสนองข้อเสนอและการกระทาของศิษย์ในทางสร้างสรรค์ตามสภาพปัญหาความต้องการ
และศักยภาพของศิษย์แต่ละคนและทุกคน ตัวอย่างเช่น
- สนใจคาถามและคาตอบของศิษย์ทุกคน
- ให้โอกาสศิษย์แต่ละคนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
- ช่วยแก้ไขข้อบกพร่องของศิษย์
- รับการนัดหมายของศิษย์เกี่ยวกับการเรียนรู้ก่อนงานอื่น ๆ ฯลฯ
3. เสนอและแนะแนวทางการพัฒนาของศิษย์แต่ละคนและทุกคนตามความถนัด ความสนใจ และ
ศักยภาพของศิษย์ ตัวอย่างเช่น
- มอบหมายงานตามความถนัด
- จัดกิจกรรมหลากหลายตามสภาพความแตกต่างของศิษย์เพื่อให้แต่ละคนประสบความสาเร็จ
เป็นระยะ ๆ อยู่เสมอ
- แนะแนวทางที่ถูกให้แก่ศิษย์
- ปรึกษาหารือกับครู ผู้ปกครอง เพื่อน นักเรียน เพื่อหาสาเหตุและวิธีแก้ปัญหาของศิษย์ ฯลฯ
4. แสดงผลงานที่ภูมิใจของศิษย์แต่ละคนและทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา ตัวอย่างเช่น
- ตรวจผลงานของศิษย์อย่างสม่าเสมอ
- แสดงผลงานของศิษย์ในห้องเรียน (ห้องปฏิบัติการ)
- ประกาศหรือเผยแพร่ผลงานของศิษย์ที่ประสบความสาเร็จ
จรรยาบรรณข้อที่ 2 : ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดี
งามให้แก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
หลักการ ครูที่ดีต้องมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาศิษย์ให้เจริญได้อย่างเต็ม ศักยภาพ และถือว่าความ
รับผิดชอบของตนจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อศิษย์ได้แสดงออกซึ่งผลแห่งการพัฒนานั้นแล้ว ครูจึงต้อง
เรียนรู้เกี่ยวกับศักยภาพของศิษย์แต่ละคนและทุกคนเลือกกิจกรรมการเรียนที่หลากหลาย
เหมาะสมสอดคล้องกับการพัฒนาตามศักยภาพนั้น ๆ ดาเนินการให้ศิษย์ได้ลงมือทากิจกรรมการ
เรียน จนเกิดผลอย่างแจ้งชัด และยังกระตุ้นยั่วยุให้ศิษย์ทุกคนได้ทากิจกรรมต่อเนื่องเพื่อความ
เจริญงอกงามอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
ครูต้องอบรมสั่งสอนฝึกฝนสร้างเสริมความรู้ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็ม
ความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ หมายถึง การดาเนินงานตั้งแต่การเลือกกาหนดกิจกรรมการ
เรียนที่มุ่งผลต่อการพัฒนาในตัวศิษย์อย่างแท้จริงการจัดให้ศิษย์มีความรับผิดชอบ และเป็นเจ้าของ
การเรียนรู้ ตลอดจนการประเมินร่วมศิษย์ ในผลของการเรียนและการเพิ่มพูนการเรียนรู้ภายหลัง
บทเรียนต่าง ๆ ด้วยความปรารถนาที่จะให้ศิษย์แต่ละคนและทุกคนพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ
และตลอดไป
พฤติกรรมสาคัญ
1. อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศิษย์อย่างมุ่งมั่นและตั้งใจ
ตัวอย่างเช่น
- สอนเต็มเวลา ไม่เบียดบังเวลาของศิษย์ไปหาผลประโยชน์ส่วนตน
- เอาใจใส่ อบรม สั่งสอนศิษย์จนเกิดทักษะในการปฏิบัติงาน
- อุทิศเวลาเพื่อพัฒนาศิษย์ตามความจาเป็นและเหมาะสม
- ไม่ละทิ้งชั้นเรือนหรือขาดการสอนฯลฯ
2. อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศิษย์อย่างเต็มศักยภาพ
ตัวอย่างเช่น
- เลือกใช้วิธีการที่หลากหลายในการสอนให้เหมาะสมกับสภาพของศิษย์
- ให้ความรู้โดยไม่ปิดบัง
- สอนเต็มความสามรถ
- เปิดโอกาสให้ศิษย์ได้ฝึกปฏิบัติอย่างเต็มความสามารถ
- สอนเต็มความสามารถและด้วยความเต็มใจ
- กาหนดเป้าหมายที่ท้าทาย พัฒนาขึ้น
- ลงมือจัดเลือกกิจกรรมที่นาสู่ผลจริง
- ภูมิใจเมื่อศิษย์พัฒนาฯลฯ
3. อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาศิษย์ด้วยความบริสุทธิ์ใน
ตัวอย่างเช่น
- สั่งสอนศิษย์โดยไม่บิดเบือนหรือปิดบังอาพราง
- อบรมสั่งสอนศิษย์โดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง
- มอบหมายงานและความผลงานด้วยความยุติธรรมฯลฯ
จรรยาบรรณข้อที่ 3 : ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และ
จิตใจ
หลักการการเรียนรู้ในด้านค่านิยมและจริยธรรมจาเป็นต้องมีตัวแบบที่ดี เพื่อให้ผู้เรียนยึดถือและ
นาไปปฏิบัติตาม ครูที่ดีจึงถ่ายทอดค่านิยมและจริยธรรมด้วยการแสดงตนเป็นตัวอย่างเสมอ การ
แสดงตนเป็นตัวอย่างนี้ถือว่าครูเป็นผู้นาในการพัฒนาศิษย์อย่างแท้จริง
การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี หมายถึง การแสดงอกกอย่างสม่าเสมอของครูที่ศิษย์
สามารถสังเกตรับรู้ได้เอง และเป็นการแสดงที่เป็นไปตามมาตรฐานแห่งพฤติกรรมระดับสูงตาม
ค่านิยม คุณธรรมและวัฒนธรรมอันดีงาม
พฤติกรรมสาคัญ
1. ตระหนักว่าพฤติกรรมการแสดงออกของครูมีผลต่อการพัฒนาพฤติกรรมของศิษย์อยู่เสมอ
ตัวอย่างเช่น
- ระมัดระวังในการกระทา และการพูดของตนเองอยู่เสมอ
- ไม่โกธรง่ายหรือแสดงอารมณ์ฉุนเฉียวต่อหน้าศิษย์
- มองโลกในแง่ดี ฯลฯ
2. พูดจาสุภาพและสร้างสรรค์โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับศิษย์และสังคม ตัวอย่างเช่น
- ไม่พูดคาหยาบหรือก้าวร้าว
- ไม่นินทาหรือพูดจาส่อเสียด
- พูดชมเชยให้กาลังใจศิษย์ด้วยความจริงใจฯลฯ
3. กระทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี สอดคล้องกับคาสอนของตน และวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม
ตัวอย่างเช่น
- ปฏิบัติตนให้มีสุขภาพ และบุคลิกภาพที่ดีอยู่เสมอ
- แต่งกายสะอาดสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ
- แสดงกริยามารยาทสุภาพเรียบร้อยอยู่เสมอ
- ตรงต่อเวลา
- แสดงออกซึ่งนิสัยในการประหยัดซื่อสัตย์ อดทน สามัคคี มีวินัย ฯลฯ
จรรยาบรรณข้อที่ 4 : ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญา จิตใจ
อารมณ์และสังคมของศิษย์
หลักการ การแสดงออกของครูใด ๆ ก็ตามย่อมมีผลในทางบวกหรือลบ ต่อความเจริญเติบโตของ
ศิษย์เมื่อครูเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงต่อการพัฒนาทุก ๆ ด้านของศิษย์ จึงต้องพิจารณาเลือกแสดง
แต่เฉพาะการแสดงที่มีผลทางบวก พึงระงับและละเว้นการก้าวหน้าของศิษย์ ทุก ๆ ด้าน
การไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติ ปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์
หมายถึง การตอบสนองต่อศิษย์ในการลงโทษหรือให้รางวัลการกระทาอื่นใดที่นาไปสู่การลด
พฤติกรรมที่พึงปรารถนา และการเพิ่มพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
พฤติกรรมสาคัญ
1. ละเว้นการกระทาที่ทาให้ศิษย์เกิดความกระทบกระเทือนต่อจิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม
ของศิษย์ ตัวอย่างเช่น
- ไม่นาปมด้อยของศิษย์มาล้อเลียน
- ไม่ประจานศิษย์
- ไม่พูดจาหรือกระทาการใด ๆ ที่เป็นการซ้าเติมปัญหาหรือข้อบกพร่องของศิษย์
- ไม่นาความเครียดมาระบายต่อศิษย์ไม่ว่าจะด้วยคาพูด หรือสีหน้าท่าทาง
- ไม่เปรียบเทียบฐานะความเป็นอยู่ของศิษย์
- ไม่ลงโทษศิษย์เกินกว่าเหตุ
2. ละเว้นการกระทาที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและร่างกายของศิษย์ ตัวอย่างเช่น
- ไม่ทาร้ายร่างกายศิษย์
- ไม่ลงโทษศิษย์เกินกว่าระเบียบกาหนด
- ไม่ใช้ศิษย์ทางานเกินกาลังความสามารถ ฯลฯ
3. ละเว้นการกระทาที่สกัดกั้นพัฒนาการทาง สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของศิษย์
- ไม่ตัดสินคาตอบถูกผิดโดยยึดคาตอบของครู
- ไม่ดุด่าซ้าเติมศิษย์ที่เรียนช้า
- ไม่ขัดขวางโอกาสให้ศิษย์ได้แสดงออกทางสร้างสรรค์
- ไม่ตั้งฉายาในทางลบให้แก่ศิษย์ ฯลฯ
จรรยาบรรณข้อที่ 5 : ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติ
หน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
หลักการ การใช้ตาแหน่งหน้าที่ในวิชาชีพแสวงหาประโยชน์ตนโดยมิชอบ ย่อมทาให้เกิดความ
ลาเอียงในการปฏิบัติหน้าที่ สร้างความไม่เสมอภาคนาไปสู่ความเสื่อมศรัทธาในบุคคลและวิชาชีพ
นั้นดังนั้น ครูจึงต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันมิควรได้จากศิษย์ หรือใช้ศิษย์ให้ไปแสวงหาประโยชน์
ให้แก่ตนโดยมิชอบ
การไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์
กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ หมายถึง การไม่กระทาการใด ๆ ที่จะ
ได้มาซึ่งผลตอบแทนเกินสิทธิที่พึงมีพึงได้จากการปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบตามปกติ
พฤติกรรมสาคัญ
1. ไม่รับหรือแสวงหาอามิสสินจ้างหรือผลประโยชน์อันมิควรจากศิษย์ ตัวอย่างเช่น
- ไม่หารายได้จาการนาสินค้ามาขายให้ศิษย์
- ไม่ตัดสินผลงานหรือผลการเรียน โดยมีสิ่งแลกเปลี่ยน
- ไม่บังคับหรือสร้างเงื่อนไขให้ศิษย์มาเรียนพิเศษเพื่อหารายได้ ฯลฯ
2. ไม่ใช่ศิษย์เป็นเครื่องมือหาประโยชน์ให้กับคนโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ขนมธรรมเนียม ประเพณี
หรือความรู้สึกของสังคม ตัวอย่างเช่น
- ไม่นาผลงานของศิษย์ไปแสวงหากาไรส่วนคน
- ไม่ใช้แรงงานศิษย์เพื่อประโยชน์ส่วนตน
- ไม่ใช้หรือจ้างวานศิษย์ไปทาสิ่งผิดกฎหมาย ฯลฯ
จรรยาบรรณข้อที่ 6 : กฎย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทัน
ต่อการพัฒนาทางวิทยาการเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ
หลักการ สังคมและวิทยาการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ดังนั้น ครูในฐานะผู้พัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ จึงต้องพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงใน
อนาคต
การพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทาง
วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยู่เสมอ หมายถึง การใฝ่รู้ ศึกษาค้นคว้า ริเริ่ม
สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ให้ทัน
สมัย ทันเหตุการณ์ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและเทคโนโลยี
สามารถพัฒนาบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์
พฤติกรรมสาคัญ
1. ใส่ใจศึกษาค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ที่เกี่ยวกับวิชาชีพอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น
- หาความรู้จากเอกสาร ตารา และสื่อต่าง ๆ อยู่เสมอ
- จัดทาและเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ตามโอกาส
- เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา หรือฟังการบรรยายหรืออภิปรายทางวิชาการ ฯลฯ
2. มีความรอบรู้ ทันสมัย ทันเหตุการณ์สามารถนามาวิเคราะห์ กาหนดเป้าหมาย แนวทางพัฒนา
ตนเองและวิชาชีพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การอาชีพ และ
เทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น
- นาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ประกอบการเรียนการสอน
- ติดตามข่าวสารเหตุการณ์ด้านการเมืองเศรษฐกิจ สังคม การเมืองอยู่เสมอ
- วางแผนพัฒนาตนเองและพัฒนางาน ฯลฯ
3. แสดงออกทางร่างกาย กริยา วาจา อย่างสง่างาม เหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวอย่างเช่น
- รักษาสุขภาพและปรับปรุงบุคลิกภาพอยู่เสมอ
- มีความเชื่อมั่นในตนเอง
- แต่งกายสะอาดเหมาะสมกับกาลเทศะและทันสมัย
- มีความกระตือรือร้น ไวต่อความรู้สึกของสังคม ฯลฯ
จรรยาบรรณข้อที่ 7 : ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู
หลักการ ความรักและเชื่อมั่นในอาชีพของตนย่อมทาให้ทางานอย่างมีความสุขและมุ่งมั่น อันจะ
ส่งผลให้อาชีพนั้นเจริญรุ่งเรืองและมั่นคง ดังนั้นครูย่อมรักและศรัทธาในอาชีพครูด้วยความเต็มใจ
ความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู หมายถึง การแสดงออก
ด้วยความชื่นชมและเชื่อมั่นในอาชีพครูด้วยตระหนักว่าอาชีพนี้เป็นอาชีพที่มีเกียรติ มีความสาคัญ
และจาเป็นต่อสังคม ครูพึงปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจและภูมิใจ รวมทั้งปกป้องเกียรติภูมิของ
อาชีพครู เข้าร่วมกิจกรรมและสนับสนุนองค์กรวิชาชีพครู
พฤติกรรมสาคัญ
1. เชื่อมั่น ชื่นชม ภูมิใจในความเป็นครูและองค์กรวิชาชีพครู ว่ามีความสาคัญและจาเป็นต่อสังคม
ตัวอย่างเช่น
- ชื่นชมในเกียรติและรางวัลที่ได้รับและรักษาไว้อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
- ยกย่องชมเชยเพื่อนครูที่ประสบผลสาเร็จเกี่ยวกับการสอน
- เผยแพร่ผลสาเร็จของตนเองและเพื่อนครู
- แสดงตนว่าเป็นครูอย่างภาคภูมิ ฯลฯ
2. เป็นสมาชิกองค์กรวิชาชีพครูและสนับสนุนหรือเข้าร่วมหรือเป็นผู้นาในกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ
ครู ตัวอย่างเช่น
- ปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อกาหนดขององค์กร
- ร่วมกิจกรรมที่องค์กรจัดขึ้น
- เป็นกรรมการหรือคณะทางานขององค์กร ฯลฯ
3. ปกป้องเกียรติภูมิของครูและองค์กรวิชาชีพ ตัวอย่างเช่น
- เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานของครูและองค์กรวิชาชีพครู
- เมื่อมีผู้เข้าใจผิดเกี่ยวกับวงการวิชาชีพครูก็ชี้แจงทาความเข้าใจให้ถูกต้อง
จรรยาบรรณข้อที่ 8 : ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
หลักการ สมาชิกของสังคมใดพึงผนึกกาลังพัฒนาสังคมนั้นและเกื้อกูลสังคมรอบข้าง ในวงวิชาชีพ
ครูผู้ประกอบอาชีพครูพึงร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันด้วยความเต็มใจ อันจะยังผลให้เกิดพลัง
และศักยภาพในการพัฒนาวิชาชีพครู และการพัฒนาสังคม
การช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ หมายถึง การให้ความร่วมมือ แนะนาปรึกษา
ช่วยเหลือแก่เพื่อนครูทั้งเรื่องส่วนตัว ครอบครัว และการงานตามโอกาสอย่างเหมาะสม รวมทั้งเข้า
ร่วมกิจกรรมของชุมชน โดยการให้คาปรึกษาแนะนาแนวทางวิธีการปฏิบัติตน ปฏิบัติงาน เพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
พฤติกรรมสาคัญ
1. ให้ความร่วมมือแนะนา ปรึกษาแก่เพื่อนครูตามโอกาสและความเหมาะสม ตัวอย่างเช่น
- ให้คาปรึกษาการจัดทาผลงานทางวิชาการ
- ให้คาปรึกษาแนะนาการผลิตสื่อการเรียนการสอน ฯลฯ
2. ให้ความช่วยเหลือด้านทุนทรัพย์ สิ่งของแก่เพื่อนครูตามโอกาสและความเหมาะสม ตัวอย่างเช่น
- ร่วมงานกุศล
- ช่วยทรัพย์เมื่อเพื่อนครูเดือนร้อน
- จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ฯลฯ
3. เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนรวมทั้งให้คาปรึกษาแนะนา แนวทางวิธีการปฏิบัติตน ปฏิบัติงานเพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยชุมชน ตัวอย่างเช่น
- แนะแนวทางการป้องกัน และกาจัดมลพิษ
- ร่วมกิจกรรมตามเพณีของชุมชน ฯลฯ
จรรยาบรรณข้อที่ 9 : ครูพึงประสงค์ ปฏิบัติตน เป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญา และ
วัฒนธรรมไทย
หลักการ หน้าที่สาคัญประการหนึ่งของการศึกษาคือการพัฒนาคนให้มีภูมิปัญญา และรู้จักเลือก
วิธีการดาเนินชีวิตที่ดีงาม ในฐานะที่ครูเป็นบุคลากรทางการศึกษา ครูจึงควรเป็นผู้นาในการ
อนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
การเป็นผู้นาในการอนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย หมายถึง การริเริ่มดาเนิน
กิจกรรม สนับสนุนส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โดยรวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์
เลือกสรร ปฏิบัติตนและเผยแพร่ศิลปะ ประเพณีดนตรี กีฬา การละเล่น อาหาร เครื่องแต่งกาย
ฯลฯ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน การดารงชีวิตตนและสังคม
พฤติกรรมสาคัญ
1. รวบรวมข้อมูลและเลือกสรรภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมที่เหมาะสมใช้จัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน ตัวอย่างเช่น
- เชิญบุคคลในท้องถิ่นเป็นวิทยากร
- นาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้จัดการเรียนการสอน
- นาศิษย์ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการชุมชน ฯลฯ
2. เป็นผู้นาในการวางแผน และดาเนินการเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม
ตัวอย่างเช่น
- ฝึกการละเล่นท้องถิ่นให้แก่ศิษย์
- จัดตั้งชมรม สนใจศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
- จัดทาพิพิธภัณฑ์ในสถานศึกษา ฯลฯ
3. สนับสนุนส่งเสริมเผยแพร่และร่วมกิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนอย่างสม่าเสมอ
- รณรงค์การใช้สินค้าพื้นเมือง
- เผยแพร่การแสดงศิลปะพื้นบ้าน
- ร่วมงานประเพณีของท้องถิ่น ฯลฯ
4. ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อนาผลมาใช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน ตัวอย่างเช่น
- ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อนาผลมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ตัวอย่างเช่น
- ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน นิทานพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ตานาน และความ
เชื่อถือ
- นาผลการศึกษาวิเคราะห์มาใช้ในการเรียนการสอน ฯลฯ
จากปัญหาการกวดวิชาของผู้เรียนในปัจจุบัน ทาให้ส่งผลสะท้อนถึงภาพรวมการศึกษาไทยว่ามี
ความเหลื่อมล้า แตกต่างและมีความไม่เท่าเทียมกันสูง การศึกษาไทยยังเน้นการเรียนการสอนที่ยัง
เน้นการสอบสูง มีการแข่งขันตามมามาก และการ เรียนการสอนในโรงเรียนยังมีปัญหามาก
โดยเฉพาะในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ ระบบดังกล่าวนาไปสู่ค่านิยมของ
การเลือกสถาบันมีชื่อ ทางแก้จึงกลับมาอยู่ที่พื้นฐานหลัก คือการส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาการสอน
อย่างแท้จริงและมีคุณภาพสูง หากว่าครูปฏิบัติได้ตามจรรยาบรรณดังกล่าวได้ ปัญหาระดับชาติก็
จะไม่เกิดขึ้น หรือว่าเกิดขึ้นก็เกิดขึ้นในระดับที่น้อยมาก ในสมัยก่อนไม่มีการกวดวิชา ก็ยังสามารถ
ผลิตบุคลลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพได้มากมายหลายคน ในขณะเดียวกันรัฐก็จะต้องทาให้
ความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษานั้นลดน้อยลง โดย ภาพรวมจึงต้องดู 2 แนวทางหลัก คือใน
ส่วนของการกวดวิชา รัฐจะต้องร่วมมือกับเด็ก ผู้ปกครอง โรงเรียนกวดวิชาเอง กาหนดเกณฑ์
คุณภาพของโรงเรียนกวดวิชาขึ้นมาแล้วดูแลให้ปฏิบัติได้ ส่งเสริมโครงการระยะสั้น เตรียมความ
พร้อมให้เด็กที่ขาดโอกาสเรียนเสริม ในส่วนของระบบการศึกษาโดยรวมจะต้องปรับระบบการสอบ
คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยหรือเข้าศึกษาต่อในระดับ ชั้นต่างๆ ใหม่ รวมถึงการกระจายคุณภาพและ
โอกาสทางการศึกษาให้ กว้างขวางใกล้เคียงกัน
ข้อมูลจาก ดร.นรีภัทร ผิวพอใช้
เอกสารอ้างอิง
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2545) การกวดวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปนระเทศไทย. รายงาน
การวิจัย.สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา. แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539.
ค้นหาออนไลน์ จาก http://www.edu.chula.ac.th/knowledge/rule/rule2539.htm
ตัวอย่างข้อสอบ (พร้อมเฉลย)
คาสั่ง จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดพียงข้อเดียว
1. “จรรยา” มีความหมายเช่นเดียวกับคาใด?
ก. กริยา ข.จริยา ค. มรรยาท ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.จริยา
2. “ความประพฤติที่ผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ วิชาชีพถึงปฏิบัติ โดยบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์
อักษร”หมายถึง?
ก. จรรยาบรรณ ข. สัตยาบรรณ
ค. มาตรฐานวิชาชีพ ง. จรรยาบรรณวิชาชีพครู
ตอบ ก. จรรยาบรรณ
3. ข้อใดคือความหมายของคาว่า จรรยาบรรณวิชาชีพครู?
ก. แบบแผนที่ข้าราชการควรประพฤติปฏิบัติ
ข. แบบแผนที่ข้าราชการต้องประพฤติปฏิบัติ
ค. แบบแผนที่ข้าราชการยึดประพฤติปฏิบัติ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. แบบแผนที่ข้าราชการต้องปฏิบัติ
4. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กาหนดขั้นเพื่อวัตถุประสงค์ในข้อใด?
ก. รักษาและส่งเริมเกียรติคุณ ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ข. รักษาและส่งเสริมชื่อเสียง ของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ค. รักษาและส่งเสริมฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพครู
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
5. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กาหนดไว้ในกฎหมายใด?
ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
ข. พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ 2546
ค. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
6. ผู้ที่จะเข้ารับราชการครู ต้องมีอายุตามข้อใด?
ก. 18ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ากว่า18ปีบริบูรณ์
ค. 20ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์
ตอบ ข.ไม่ต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์
7. ผู้ที่จะเข้ารับใบประประกอบวิชาชีพครู ต้องมีอายุตามข้อใด?
ก. 18 ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ากว่า18ปีบริบูรณ์
ค. 20ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์
ตอบ ง. ไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์
8. มาตรฐานวิชาชีพครู มีจานวนกี่มาตรฐาน?
ก. 3 มาตรฐาน ข. 4 มาตรฐาน
ค. 5 มาตรฐาน ง. 6 มาตรฐาน
ตอบ ก. 3 มาตรฐาน
9. มาตรฐานวิชาชีพครูในข้อใดที่กาหนดให้เป็นจรรยาบรรณของวิชาชีพ?
ก. มาตรฐานการปฏิบัติตน
ข. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ค. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ
ง. มาตรฐานการสอน
ตอบ ก. มาตรฐานการปฏิบัติตน
10. จรรยาบรรณวิชาชีพครู มรจานวนเท่าใด?
ก. 4 จรรยาบรรณ ข. 5 จรรยาบรรณ
ค. 6 จรรยาบรรณ ง. 7 จรรยาบรรณ
ตอบ ข. 5จรรยาบรรณ
11.จรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่?
ก. จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ข. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
ค. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
12. หน่วยงานใดเป็นผู้กาหนดข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู?
ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษา
ค. คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. คุรุสภา
13. จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 มีจานวนกี่ข้อ?
ก. 6 ข้อ ข. 7ข้อ ค. 8 ข้อ ง. 9 ข้อ
ตอบ ง. 9 ข้อ
14. ข้อใดไม่ได้กาหนดไว้ในจรรยาบรรณครู พ.ศ.2539
ก.ครูต้องรักและเมตตาศิษย
ข. ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
ค. ครูย่อมเป็นบุคคลที่ประหยัดและมัธยัสถ
ง. ไม่มีคาตอบ
ตอบ ค. ครูย่อมเป็นบุคคลที่ประหยัดและมัธยัสถ
15. บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ของผู้ได้รับ
ใบอนุญาต
มีสิทธิกล่าวกาผู้ได้รับอนุญาต โดยยื่นเรื่องต่อผู้ใด?
ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการคุรุสภา
ค. กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตอบ ก. คุรุสภา
16. จากข้อ 15 สิทธิกล่าวโทษสิ้นสุดเมื่อระยะเวลาตามข้อใดนับแต่กล่าวโทษรู้เรื่องการ
ประพฤติผิด
จรรยาบรรณ(แอ๊คกรุ๊ป)ของวิชาชีพครู และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด?
ก. พ้น 1 ปี ข. พ้น 2 ปี ค. พ้น 3 ปี ง. พ้น 4 ปี
ตอบ ก. พ้น 1 ปี
17. จากข้อ 15 สิทธิกล่าวโทษสิ้นสุดเมื่อระยะเวลาตามข้อใดนับแต่ผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการ
ประพฤติผิด
จรรยาบรรณ(แอ๊ค)ของวิชาชีพ และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด?
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการคุรุสภา
ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตอบ ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
18. โทษของผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีกี่สถาน?
ก. 4 สถาน ข. 5สถาน ค.6สถาน ง. 7สถาน
ตอบ ข. 5 สถาน
19. ข้อใดไม่เป็นโทษของผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู?
ก. ยกข้อกล่าวหา ข.ตักเตือน
ค. ภาคทัณฑ ง. ตัดเงินเดือน
ตอบ ง. ตัดเงินเดือน
20. โทษ พักใบอนุญาต ผู้ประพฤติจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีจานวนกี่ป
ก. ไม่เกิน 3 ปี ข. ไม่เกิน 4 ปี
ค. ไม่เกิน 5 ปี ง. ไม่เกิน 6 ปี
ตอบ ค. ไม่เกิน 5 ปี
21. ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู จะขออีกได้เมื่อใด?
ก. พ้น 2 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ข. พ้น 3 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน
ค. พ้น 4 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ง. พ้น 5 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน
ตอบ ง. พ้น 5 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน
22. ครู ถูกลงโทษ สาหรับผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีสิทธิดาเนินการเพื่อรักษา
สิทธิของ
ตนเอง
ได้ตามข้อใด?
ก. ร้องทุกข์ ข. ร้องเรียน ค. อุทธรณ์ ง. ฎีกา
ตอบ ค. อุทธรณ์
23. จากข้อ 222 ต้องดาเนินการต่อองค์คณะบุคคลในข้อใด?
ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข.คณะกรรมการคุรุสภา
ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตอบ ข.คณะกรรมการคุรุสภา
24. จากข้อ 23 ต้องดาเนินการภายในระยะเวลาเท่าใด?
ก. 7 วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย
ข.10 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย
ค.15 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย
ง. 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย
ตอบ ง. 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย
25. ผู้ใดประกอบอาชีพครูโดยไม่ได้รับอนุญาตต้องได้รับระวางโทษตามข้อใด?
ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ค. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ง. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ตอบ ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
26. ผู้ใดประกอบอาชีพครูในระหว่างพักใบอนุญาตต้องได้รับการระวางโทษตามข้อใด?
ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ค. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ง. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ตอบ ค. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
27. ผู้ใดแสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิ์พร้อมจะประกอบวิชาชีพควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาต
ต้องระวางโทษ
ตามข้อใด?
ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ค. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ง. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
ตอบ ค. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
28. ครูควรรับผิดชอบต่อสิ่งใดมากที่สุด?
ก. โรงเรียน ข. นักเรียน
ค. ผู้ร่วมงาน ง. ชุมชน
ตอบ ข. นักเรียน
29. อาชีพใดที่ใช้กาลังความคิดและสมองเป็นหลัก?
ก. Technican ข. Labour
ค.Profession ง.Semilabour
ตอบ ค.Profession
30. พฤติกรรมในข้อใดที่แสดงว่าไม่มีความสามารถทางวิชาชีพครู?
ก. ใช้อุปกรณ์การสอนชนิดเดียวกันทุกเนื้อหาวิชา
ข. เขียนจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมได้ถูกต้อง
ค. จัดบรรยากาศในชั้นเรียนได้เหมาะสมทุกเนื้อหาทุกวิชา
ง. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา
ตอบ ก.ใช้อุปกรณ์การสอนชนิดเดียวกันทุกเนื้อหาทุกวิชา
31. เรื่องใดต่อไปนี้มิใช่ลักษณะสาคัญของวิชาชีพชั้นสูง?
ก. วิธีการแห่งปัญญา ข. ทักษะและเทคนิคพิเศษ
ค. จรรยาบรรณ ง. เสรีภาพในการใช้วิชาชีพ
ตอบ ข. ทักษะและเทคนิคพิเศษ
32. คาเปรียบเทียบข้อใดชี้ให้เห็นว่าครูเป็นบุคคลที่ควรเคารพนับถือ?
ก. ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ ข. ครู คือเรือจ้าง
ค. ครู คือ ปูชนียบุคคล ง. ครู คือ ผู้ยกระดับสติปัญญาของมนุษย
ตอบ ค. ครู คือ ปูชนียบุคคล
33. บุคคลใดที่ได้ชื่อว่าเป็นครูคนแรกบุตร?
ก. อุปัชฌาจารย ข. บุพพาจารย์ บูรพาจารย
ค. ปรมาจารย์ ง. อาจารย์
ตอบ ข. บุพพาจารย์ บูรพาจารย
34. ถ้าขาดข้อใดจะเป็นอุปสรรคต่อวิชาชีพครูอย่างยิ่ง?
ก. การถ่ายทอดความรู้ ข. ความศรัทธา
ค. เงินเดือน ง. สวัสดิการ
ตอบ ข. ความศรัทธา
35. คุณสมบัติที่สาคัญประจาตัวครู คือข้อใด?
ก. บุคลิกภาพดี ข. ความรู้ดี
ค. มนุษยสัมพันธ์ดี ง. สอนดีมีคุณธรรม
ตอบ ง. สอนดีมีคุณธรรม
36. ธรรมะ ที่ครูยึดมั่นเป็นที่ตั้งคือข้อใด?
ก. อิทธิบาท 4 ข. สังคหวัตถุ 4
ค. พรหมวิหาร 4 ง. มรรคและผล
ตอบ ค. พรหมวิหาร 4
37. จรยาบรรณขอบงครูไทย บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรและมีกฎหมายรองรับครั้งแรก
เมื่อใด?
ก. พ.ศ. 2504 ข.พ.ศ. 2505 ค. พ.ศ. 2506 ง. 2507
ตอบ ค. พ.ศ. 2506
38. ข้อใดไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครูก็ได้ ตามพ.ร.บ. การศึกษา 2542?
ก. คณาจารย์ ข. วิทยากรพิเศษ
ค. ผู้อานวยการวิทยาลัย ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ข. วิทยากรพิเศษ
39. ครูต้องมีความรู้เกี่ยวกับอะไร?
ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ข. ความก้าวหน้าในอาชีพ
ค. การหารายได้จาการสอนพิเศษ ง. การทาผลงานทางวิชาการ
ตอบ ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
40. ครูที่ได้รับยกย่องว่า”สอนดี”คือข้อใด
ก. เลือกวิธีสอนใหม่ๆมาใช้ ข. สอนตามแผนการสอน
ค. สอนให้เหมาะกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมายง.สอนตามข้อตกลงระหว่างครูกับนักเรียน
ตอบ ค. สอนให้เหมาะกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมาย
41. จาการวิจัยของเฉลียว บุรีภักดี พบข้อบกพร่องของครูในด้านใดมากที่สุด?
ก. ไม่รับผิดชอบการงาน มัวเมาในอบายมุข
ข.ประพฤติไม่เหมาะสมแต่งกายไม่สุภาพ
ค. ชอบนินทา,พูดจาไม่สุภาพ
ง. เจ้าอารมณ์ จู้จี้ขี้บ่น
ตอบ ข.ประพฤติไม่เหมาะสมแต่งกายไม่สุภาพ
42. ลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานของคุรุสภา เป็นอย่างไร?
ก. มีบุคลิกภาพดีตรงเวลา ข. รอบรู้สอนดีมีคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนา
ค. เสียสละมีความยุติธรรม ง. มีความประพฤติดี ซอื่ สัตย
ตอบ ข. รอบรู้สอนดีมีคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนา
43. เป้าหมายสาคัญของครูที่ต้องการให้เกิดแก่ตัวนักเรียนคือข้อใด?
ก. ความรู้ ข. ความดี
ค. ความคิด ง. ความสามารถ
ตอบ ข. ความดี
44. สังคมมีความคาดหวังว่าสิ่งใดสามารถแก้ปัญหาสังคมได้?
ก. เศรษฐกิจ ข. กฎหมาย ค. การศึกษา ง. วัฒนธรรม
ตอบ ค. การศึกษา
45. คาว่า “อาจารย์” แต่เดิมใช้เรียกบุคคลกลุ่มใด?
ก. ครูในโรงเรียน ข. อาจารย์ในมหาวิทยาลัย
ค. พระภิกษุสงฆ์ในพุทธศาสนา ง.บัณฑิต นักปราชญ์
ตอบ ค. พระภิกษุสงฆ์ในพุทธศาสนา
46. วิชาชีพชั้นสูง หมายถึงข้อใด?
ก. Profession ข.Labour ค. Semilabour ง.Techician
ตอบ ก.Profession
47. อาชีพใดเป็นอาชีพที่สังคมยกย่องมากที่สุด?
ก. ตารวจ ข. ทหาร ค. พยาบาล ง.ครู
ตอบ ง. ครู
48. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด?
ก. วิชาชีพชั้นสูงจะต้องมีจรรยาบรรณ
ข. วิชาชีพชนั้ สูงเน้นการบริการต่อสังคมมากกว่าการหาผลประโยชน
ค. วิชาชีพชั้นสูงจะต้องอาศัยความรู้ ความคิด สติปัญญาเป็นหลัก
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
49. คาว่า”ครูมาจากรากศัพท์” ภาษาใด?
ก. ภาษาบาลี ข. ภาษาสันสกฤต
ค. ภาษาละติน ง. ภาษากรีก
ตอบ ข. ภาษาสันสกฤต
50. ข้อใดให้ความหมายของคาว่า”ครู” ถูกต้องที่สุด?
ก. ครู คือ แสงเทียนและดวงประทีป ข. ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ
ค. ครู คือ ผู้ให้ ผู้ควรแก่ศิษย์เคารพ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
ที่มา : http://www.sobtidsure.net/
51. ความหมายใดตรงกับว่า”ครู”?
ก. เบา ข. หนัก ค. สูง ง. ต่า
ตอบ ข. หนัก
52. ครู คือ ปูชนียบุคคล คาว่า” ปูชนียบุคคล” ตรงกับความหมายใด?
ก. ผู้ที่ควรแก่การยกย่อง ข.ผู้ที่ควรแก่การเคารพ
ค. ผู้ที่ควรแก่การนับถือ ง.ผู้ที่ควรแก่การบูชา
ตอบ ข. ผู้ที่ควรแก่การเคารพ
53. ในบทบัญญัติมาตรฐาน 38 (ก) ตาแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงาน
การศึกษาบัญญัติไว้กี่ตาแหน่ง?
ก. 3 ตาแหน่ง ข. 4 ตาแหน่ง ค. 5 ตาแหน่ง ง. 6 ตาแหน่ง
ตอบ ง. 6 ตาแหน่ง
54. คาว่า”อาจารย์” ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้
ความหมายตรงกับข้อใด?
ก. ผู้สั่งสอน คาที่ใช้เรียกนาหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ในทาง
ใดทางหนึ่ง
ข. ผู้สั่งสอนและอบรมความประพฤติปฏิบัติ
ค. ผู้สั่งสอนในมหาวิทยาลัย
ง. ผู้สั่งสอนทาหน้าที่ทางด้านวิชาการเรียนการสอน
ตอบ ก. ผู้สั่งสอน คาที่ใช้เรียกนาหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้
ในทางใดทางหนึ่ง
55. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ให้คากาจัดความไว้ว่า”
คณาจารย์” หมายถึงข้อใด?
ก. บุคลากรกระทาหน้าที่หลักในการสอนในสถานศึกษา
ข. บุคลากรหน้าที่หลักในการวิจัยในสถานศึกษา
ค. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษา
ง. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐ
และเอกชน
ตอบ ง. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ของรัฐและเอกชน
56. คาสอนเรื่อง”กัลยาณมิตร”ธรรม 7” คาว่า””ภาวนีโย” ตรงกับข้อใด?
ก. น่ารัก ข. รู้จักพูด ค. น่ายกย่อง ง. อดทนต่อถ้อยคา
ตอบ ค. น่ายกย่อง
57. หน้าที่ของครูที่จาเป็นมากที่สุด คือข้อใด?
ก. การสอนและอบรม ข. การแนะแนวและชี้นา
ค. การศึกษาค้นคว้าและวิจัย ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก. การสอนและอบรม
58.ผู้บริหารการศึกษา หมายถึง ข้อใด?
ก. บุคคลซึ่งหน้าที่สนับสนุนการศึกษา
ข. บุคลซึ่งหน้าที่ผู้บริหารการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
ค. บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่
การศึกษา
ง. บุคคลซึ่งทาหน้าที่บริหารการศึกษาทางด้านการเรียนการสอนทั้งสอนทั้ง
ภาครัฐและเอกชน
ตอบ ค. บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขต
พื้นที่การศึกษา
59. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีทั้งหมดกี่คน?
ก. 18 คน ข. 19 คน ค. 20 คน ง. 21 คน
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู

Contenu connexe

Tendances

วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555ครู กรุณา
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...Nat Wrkt
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค พัน พัน
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจารุวรรณ ชื่นใจชน
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3teerachon
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)Kornnicha Wonglai
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3Noppakhun Suebloei
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Janchai Pokmoonphon
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554Kobwit Piriyawat
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายSAM RANGSAM
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะPop Punkum
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้คน ขี้เล่า
 

Tendances (20)

วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.ุ6 ปีการศึกษา 2555
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง 2551 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาร...
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
พรบ การศึกษา ข้อสอบแบบทวนความรู้
 

Similaire à จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู

จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
9789740336006
97897403360069789740336006
9789740336006CUPress
 
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]CMRU
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูจักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูนายจักราวุธ คำทวี
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตProud N. Boonrak
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนputjohn
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาNattaka_Su
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยJiramet Ponyiam
 
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารีแฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารีMallika Yodnaree
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ CoachingProud N. Boonrak
 

Similaire à จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู (20)

อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
9789740336006
97897403360069789740336006
9789740336006
 
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 [1 54]
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูจักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จักราวุธ เนื้อหาไว้อ่านเสริมเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคตภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
 
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษาเนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
เนื้อหา - มาตรฐานวิชาชีพครูและบุคคลากรทางการศึกษา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารีแฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารี
 
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
Kru prakad
Kru prakadKru prakad
Kru prakad
 
Kru prakad
Kru prakadKru prakad
Kru prakad
 
Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1Tl 620719 n_1
Tl 620719 n_1
 

Plus de นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบนายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

Plus de นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

จักราวุธ เนื้อหา และตัวอย่างข้อสอบจรรยาบรรณวิชาชีพครู

  • 1. ที่มา http://www.youtube.com/watch?v=HUmwVZfs5a8 • จรรยาบรรณในวิชาชีพครู จรรยาบรรณในวิชาชีพครู ความหมาย จรรยาบรรณในวิชาชีพหมายถึงประมวลมาตรฐานความประพฤติที่ผู้ประกอบวิชาชีพ จะต้องประพฤติปฏิบัติเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติอย่างถูกต้องเพื่อผดุงเกียรติ และสถานะของวิชาชีพนั้นก็ได้ผู้กระทาผิดจรรยาบรรณ จะต้องได้รับโทษโดยว่ากล่าว ตักเตือน ถูกพักงาน หรือถูกยกเลิกใบประกอบวิชาชีพได้ ความสาคัญ จรรยาบรรณในวิชาจะเป็นสิ่งสาคัญในการที่จะจาแนกอาชีพว่าเป็นวิชาชีพหรือไม่ อาชีพที่ เป็น “วิชาชีพ” นั้นกาหนดให้มีองค์กรรองรับ และมีการกาหนดมาตรฐานของความ ประพฤติของผู้อยู่ในวงการวิชาชีพซึ่งเรียกว่า “จรรยาบรรณ“ ส่วนลักษณะ “วิชาชีพ ” ที่สาคัญคือ เป็นอาชีพที่มีศาสตร์ชั้นสูงรองรับ มีการศึกษาค้นคว้าวิจัยและพัฒนาวิชาชีพมี การจัดการสอนศาสตร์ดังกล่าวในระดับอุดมศึกษาทั้งการสอนด้วยทฤษฏีและการปฏิบัติ จนผู้เรียนเกิดความชานาญ และมีประสบการณ์ในศาสตร์นั้น นอกจากนี้จะต้องมีองค์กร หรือสมาคมวิชาชีพ ตลอดจนมี “จรรยาบรรณในวิชาชีพ” เพื่อให้สมาชิกในวิชาชีพดาเนิน ชีวิตตามหลักมาตรฐานดังกล่าวหลักที่กาหนดในจรรยาบรรณวิชาชีพทั่วไป คือ แนวความ ประพฤติปฏิบัติที่มีต่อวิชาชีพต่อผู้เรียน ต่อตนเอง และต่อสังคม ดังนี้ จรรยาบรรณต่ออาชีพ ผู้ที่อยู่ในวงวิชาชีพจะต้องยึดถือจรรยาบรรณ ในการดารงวิชาชีพให้เป็นที่ยอมรับ คือ 1. ศรัทธาต่อวิชาชีพ ผู้ที่อยู่ในวงการวิชาชีพครู ต้องมีความรักและศรัทธาต่อวิชาชีพครู เห็นว่าอาชีพครูเป็นอาชีพที่มีคุณค่า มีประโยชน์ต่อประเทศชาติ ในฐานะที่เป็นอาชีพที่ สร้างคนให้มีความรู้ความสามารถ และเป็นคนที่พึงประสงค์ของสังคม ผู้อยู่ในวิชาชีพ จะต้องมั่นใจ ในกาประกอบวิชาชีพนี้ด้วยความรัก และชื่นชมในความสาคัญของวิชาชีพ 2. ธารงและปกป้องวิชาชีพ สมาชิกของสังคมวิชาชีพต้องมีจิตสานึกในการธารง ปกป้อง และรักษาเกียรติภูมิของวิชา ไม่ให้ใครมาดูหมิ่นดูแคลน หรือเหยียบย่า ทาให้สถานะของ วิชาชีพต้องตกต่า หรือ มัวหมองการธารงปกป้องต้องกระทาทันทีเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึง ปรารถนาหรือต้องมีการแก้ไขข่าวหรือประท้วงหากมีข่าวคราวอันก่อให้เกิดความเสียหาย
  • 2. ต่อวิชาชีพ 3. พัฒนาองค์ความรู้ในวิชาชีพ หน้าที่ของสมาชิกในวงการวิชาชีพคือ การที่ต้อง รับผิดชอบในการศึกษา ค้นคว้าวิจัย สร้างความรู้และเผยแพร่ความรู้ เพื่อทาให้วิทยาการ ในศาสตร์สาขาวิชาชีพครูก้าวหน้าทันสังคมทันเหตุการณ์ ก่อประโยชน์ต่อประชาชนใน สังคม ทาให้คนเก่ง และฉลาดขึ้น โดยวิธีการเรียนการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนรักเรียน ใฝ่รู้ ช่างคิด ทีวิจารณญาณ มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค์ มากขึ้น 4. สร้างองค์กรวิชาชีพให้แข็งแกร่งสมาชิกในวงวิชาชีพต้องถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องสร้าง องค์กรวิชาชีพให้คงมั่นธารงอยู่ได้ด้วยการเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิก และเป็นเวทีให้คน ในวงการได้แสดง ฝีมือและความสามารถทางการสร้างรูปแบบใหม่ของการเรียนการสอน ตลอดจนการเผยแพร่ผลงานทางด้านการสร้างแบบเรียนใหม่ ๆ การเสนอแนวความคิดห่า ในเรื่องของการพัฒนาคน การเรียนการสอน และการประเมินผล 5. ร่วมมือในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ สมาชิกในสังคมวิชาชีพต้องร่วมมือกันในการจัด กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเคลื่อนไหวในเรื่องของความคิด หรือการจัดประชุม สัมมนา แลกเปลี่ยนแนวความคิดเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลง กิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร หากไม่ได้รับความสนับสนุนจากสมาชิกแล้ว ทาให้องค์กรวิชาชีพขาดความสาคัญลงและไม่ สามารถดาเนินภารกิจขององค์กรวิชาชีพต่อไปได้บทบาทของการธาดงมาตรฐานและการ ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการก็ย่อมจะลดลงด้วย ถ้าไม่มีปริมาณสมาชิกที่สนับสนุน เพียงพอ จรรยาบรรณต่อผู้เรียน ครูจะต้องมีความประพฤติปฏิบัติต่อผู้เรียน 9 ประการ คือ 1. ตั้งใจถ่ายทอดวิชาการ บทบาทของครูต้องพยายามที่จะทาให้ลูกศิษย์เรียนด้วย ความสุข เรียนด้วยความเข้าใจ และเกิดความมานะพยายามที่จะรู้ในศาสตร์นั้น ครูจึงต้อง ตั้งใจอย่างเต็มที่ที่จะศึกษาวิชาการทั้งทางศาสตร์ที่จะสอน ศาสตร์ที่จะถ่ายทอดหรือวิธีการ สอน ครูต้องพยายามที่จะหาวิธีการใหม่ ๆ มาลองทดลองสอน 2. รักและเข้าใจศิษย์ ครูต้องพยายามศึกษาธรรมชาติของวัยรุ่น ว่ามีปัญหามีความไวต่อ ความรู้สึก (sensitve) และอารมณ์ไม่มั่นคง ครูจึงควรให้อภัย เข้าใจ และหาวิธีการให้ศิษย์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ครูต้องพยายามทาให้ลูกศิษย์รักและไว้ใจเพื่อที่จะ
  • 3. ได้กล้าปรึกษาในสิ่งต่างๆแล้วครูก็จะสามารถช่วยให้ศิษย์ประสบความสาเร็จในการเรียน และการดารงชีวิตได้อย่างถูกต้อง 3.ส่งเสริมการเรียนรู้ปัจจุบันการส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเองหรือการ เรียนรู้จากการช่วยเหลือกันในกลุ่มอาจจะทาให้ผู้เรียนมีวิธีการหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ด้วยตนเองมากขึ้นมากกว่าจะคอยให้ครูบอกให้แต่ฝ่ายเดียว ครูจึงจาเป็นต้องชี้ช่องทางให้ ผู้เรียนหาวิธีการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น 4. ยุติธรรม อาชีพครูเป็นอาชีพที่จะต้องฝึกฝนตนเองให้เป็นคนซื่อสัตย์ ยุติธรรม ไม่มีอคติ ลาเอียงต่อลูกศิษย์ ไม่เห็นว่าคนที่มีปัญหาเป็นคนน่ารังเกียจ หรือพอใจแต่เฉพาะศิษย์ที่ เรียนเก่ง ไม่สร้างปัญหาเท่านั้น ครูต้องมีความเป็นธรรมในการให้คะแนน และพร้อมที่จะ อธิบายวิธีการให้คะแนน และการตัดเกรดได้ ครูต้องรอบคอบในการรอกคะแนน เพราะถ้า ผิดพลาดแล้วบางครั้งก็จะทาให้ผู้เรียนที่ควรได้คะแนนดี ๆ กลับได้คะแนนเกือบจะสอบตก ไป 5. ไม่แสวงหาประโยชน์จากผู้เรียน ลักษณะของครูจะต้องเป็นผู้ไม่แสวงหาอามิสสินจ้าง เงินไม่ใช่สิ่งที่สร้างความสุขเสมอไป ครูจึงจะต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษในการกระทา ใด ๆ อันจะก่อให้เกิดความเข้าใจได้ว่า ครูกาลังหาประโยชน์จากศิษย์อย่างไม่เป็นธรรม 6. ทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี ครูมีอิทธิพลต่อศิษย์ทั้งด้านวาจา ความคิด บุคลิกภาพ และ ความประพฤติ ครูจึงจะต้องพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพื่อให้ลูกศิษย์ได้ซึมซับสิ่งที่ทาจากตัว ครูไป เมื่อศิษย์เกิดศรัทธาในความสามารถของครู ศิษย์อาจจะเลียนแบบความประพฤติ ของครูไปอย่างไม่ได้เจตนา เช่น การตรงต่อเวลา การพูดจาชัดเจน การแสดงความคิดเห็น ที่ตรงไปตรงมา สุภาพเรียบร้อย เป็นต้น 7.ให้เกียรติผู้เรียน การยกย่องให้เกียรติผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจ และเกรงใจ ผู้สอน ครูไม่ควรใช้อานาจในทางที่ผิด เช่น พูดจาข่มขู่ ใช้คาพูดไม่สุภาพ เปลี่ยนชื่อผู้เรียน เยาะหยันหรือดูถูกผู้เรียน การเคารพผู้เรียนในฐานะปัจเจกบุคคลเป็นสิ่งที่ทาให้เกิดความ เข้าใจ และการเรียนรู้ที่ดี เมื่อผู้เรียนได้รับการปฏิบัติอย่างดี ย่อมก่อให้เกิดพลังใน การศึกษาต่อไป 8.อบรมบ่มนิสัย ม.ล. ปิ่น มาลากุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูมีบทบาทหน้าที่ในการอบรมบ่มนิสัยเด็ก โดยท่านเชื่อว่า “การอบรมบ่ม นิสัยใคร ๆนั้นเพียงแค่วันละนาทีก็ดีถม” ดังนั้นครูควรแบ่งเวลาในการอบรมบ่มนิสัยผู้เรียน
  • 4. เช่น ก่อนการสอนแต่ละชั่วโมงอาจชี้แนะหรือให้ความคิดที่ดีแก่ผู้เรียนได้ ครูควรถือเป็น หน้าที่ที่จะต้องสอนคนให้เป็นคนดี 9.ช่วยเหลือศิษย์ผู้เรียนมาอยู่ในสถานศึกษาพร้อมด้วยประสบการณ์และปัญหาที่แตกต่าง กันออกไปดังนั้นครูจึงมีหน้าที่ที่จะต้องสังเกตความผิดปกติหรือข้อบกพร่องของศิษย์ และ พร้อมที่จะให้การช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที ไม่ให้ศิษย์ต้องก้าวถลาลึกลงไปในพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ นอกจากจรรยาบรรณต่อศิษย์แล้ว ครูจะต้องมีความประพฤติปฏิบัติต่อตนเอง ด้วยคือ จรรยาบรรณต่อตนเอง ครูจะต้องพัฒนาตนเองตลอดเวลาเพื่อให้มีลักษณะพฤติกรรม ดังนี้ 1.ประพฤติชอบ ครูต้องตั้งตนไว้ในที่ถูกที่ควรสามารถบังคับตนเองให้ประพฤติแต่สิ่งที่ดี งามถูกต้อง 2.รับผิดชอบ ครูต้องฝึกความรับผิดชอบ โดยตั้งใจทางานให้สาเร็จลุล่วง มีความผิดพลาด น้อย 3.มีเหตุผล ครูต้องฝึกถามคาถามตนเองบ่อย ๆ ฝึกความคิดวิเคราะห์หาเหตุหาผล หาข้อดี ข้อเสียของตนเอง และเรื่องต่าง ๆ เพื่อทาให้ตนเองเป็นคนมีเหตุผลที่ดี 4.ใฝ่รู้ การติดตามข่าวสารข้อมูลอยู่เสมอ ๆ ทาให้ครูมีนิสัยใฝ่รู้ อยากทราบคาตอบในเรื่อง ต่าง ๆ ครูควรมีความรู้รอบตัวอย่างดีทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพื่อให้ครูดารง ชีพในสังคมได้อย่างเป็นสุข ปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ และชี้แนะสิ่งที่ถูกต้องให้ ศิษย์ได้ 5.รอบคอบ ครูต้องฝึกฝนตนเองให้เป็นคนรอบคอบ ละเอียดและประณีต ในการดาเนิน กิจการต่าง ๆ การทากิจกรรม เช่น ควบคุมบัญชีการเงินต้องรอบคอบ ต้องเห็นตัวเลข ชัดเจนไม่ตกหล่น ทาให้เกิดการผิดพลาดที่เป็นผลร้ายทั้งของตนเองและผู้อื่น 6.ฝึกจิต การพัฒนาจิต ทาให้ครูอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและส่งผลทาให้ครูทางานได้ อย่างมีประสิทธิถาพมากขึ้นครูจึงต้องหมั่นฝึกจืตของตนให้สูงส่ง สูงกว่ามาตรฐาน ระงับ อารมณ์ไม่ดี คิดอะไรได้สูงกว่ามาตรบานและคิดเป็นบวก มากกว่าคิดลบหรือคิดร้าย 7.สนใจศิษย์ การสนใจพัฒนาการของผู้เรียน เป็นส่วนหนึ่งที่จะทาให้วิชาชีพครูก้าวหน้า
  • 5. เพราะถ้าไม่มีผู้เรียนก็ไม่มีวิชาชีพครู ครูจึงจาเป็นต้องศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับลักษณะ ธรรมชาติผู้เรียน การแก้ปัญหาผู้เรียน การส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สรุปได้ว่า จรรยาบรรณ คือ ประมวลพฤติกรรมที่กาหนด ลักษณะมาตรฐานการกระทา ของครู อันจะทาให้วิชาชีพครูก้าวหน้าอย่างถาวร โดยที่ครูจะต้องดาเนินการเรียนการสอน โดยการยึดจรรยาบรรณต่อวิชาชีพต่อผู้เรียน และต่อตนเอง ในการทาหน้าที่ของครูให้ สมบูรณ์ .  จรรยาบรรณวิชาชีพครูมีอยู่ด้วยกัน 5 ด้าน 9 ข้อ อย่างที่เราคนเป็นครูท่องจากันอยู่ เสมอๆ ว่าจรรยาบรรณครูมี 5 ด้านนะ 9 ข้อ แต่มาดูว่า 5 ด้าน 9 ข้อนั้นมีอะไรบ้าง ด้านที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง 1. ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการ พัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ ด้านที่ 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 2. ต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ ด้านที่ 3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ 3. ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผุ้รับบริการตามบทบาท หน้าที่โดยเสมอหน้า 4. ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการตาม บทบาทและหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ 5. ต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งกาย วาจา และจิตใจ 6. ต้องไม่กระทาตนเป็นปรปักษ์ต่อความเจริญทางกาย วาจาและจิตใจ อารมณ์และสังคมของ ศิษย์และผู้รับบริการ
  • 6. 7. ต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จาก การใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ ด้านที่ 4 จรรยาบรรณต่อผู่ร่วมประกอบวิชาชีพ 8. พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความ สามัคคีในหมู่คณะ ด้านที่ 5 จรรยาบรรณต่อสังคม 9. พึงปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ ปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จรรยาบรรณวิชาชีพครู 9 ข้อ จรรยาบรรณข้อที่ 1 : ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วงเหลือส่งเสริม ให้กาลังใจ ในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า หลักการ การแสดงออกของบุคคลในทางที่ดีเป็นผลมาจากสภาวะจิตใจที่ดีงาม และความเชื่อถือที่ ถูกต้องของบุคคลที่มีความรักและเมตตาย่อมแสดงออกด้วยความปรารถนาในอันที่จะก่อให้เกิด ผลดีต่อบุคคลอื่นมีความสุภาพ ไตร่ตรองถึงผลแล้วจึงแสดงออกอย่างจริงใจ ครูจึงต้องมีความรัก และเมตตาต่อศิษย์อยู่เสมอ ซึ่งจะเป็นผลให้พฤติกรรมที่ครูแสดงออกต่อศิษย์ เป็นไปในทางสุภาพ เอื้ออาทร ส่งผลดีต่อศิษย์ในทุก ๆ ด้าน ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์ โดยเสมอหน้า หมายถึง การตอบสนองต่อความต้องการ ความถนัด ความสนใจของศิษย์อย่าง จริงใจ สอดคล้องกับการเคารพ การเห็นอกเห็นใจต่อลัทธิพื้นฐานของศิษย์จนเป็นที่ไว้วางใจเชื่อถือ และชื่นชมได้รวมทั้งเป็นผลไปสู่การพัฒนารอบด้านอย่างเท่าเทียมกัน พฤติกรรมสาคัญ 1. สร้างความรู้สึกเป็นมิตร เป็นที่พึ่งพาและไว้วางใจได้ของศิษย์ แต่ละคนและทุกคน ตัวอย่างเช่น - ให้ความเป็นกันเองกับศิษย์ - รับฟังปัญหาของศิษย์และให้ความช่วยเหลือศิษย์ - ร่วมทากิจกรรมกับศิษย์เป็นครั้งคราวตามความเหมาะสม - สนทนาไต่ถามทุกข์สุขของศิษย์ ฯลฯ 2. ตอบสนองข้อเสนอและการกระทาของศิษย์ในทางสร้างสรรค์ตามสภาพปัญหาความต้องการ และศักยภาพของศิษย์แต่ละคนและทุกคน ตัวอย่างเช่น
  • 7. - สนใจคาถามและคาตอบของศิษย์ทุกคน - ให้โอกาสศิษย์แต่ละคนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ - ช่วยแก้ไขข้อบกพร่องของศิษย์ - รับการนัดหมายของศิษย์เกี่ยวกับการเรียนรู้ก่อนงานอื่น ๆ ฯลฯ 3. เสนอและแนะแนวทางการพัฒนาของศิษย์แต่ละคนและทุกคนตามความถนัด ความสนใจ และ ศักยภาพของศิษย์ ตัวอย่างเช่น - มอบหมายงานตามความถนัด - จัดกิจกรรมหลากหลายตามสภาพความแตกต่างของศิษย์เพื่อให้แต่ละคนประสบความสาเร็จ เป็นระยะ ๆ อยู่เสมอ - แนะแนวทางที่ถูกให้แก่ศิษย์ - ปรึกษาหารือกับครู ผู้ปกครอง เพื่อน นักเรียน เพื่อหาสาเหตุและวิธีแก้ปัญหาของศิษย์ ฯลฯ 4. แสดงผลงานที่ภูมิใจของศิษย์แต่ละคนและทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา ตัวอย่างเช่น - ตรวจผลงานของศิษย์อย่างสม่าเสมอ - แสดงผลงานของศิษย์ในห้องเรียน (ห้องปฏิบัติการ) - ประกาศหรือเผยแพร่ผลงานของศิษย์ที่ประสบความสาเร็จ จรรยาบรรณข้อที่ 2 : ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดี งามให้แก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ หลักการ ครูที่ดีต้องมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาศิษย์ให้เจริญได้อย่างเต็ม ศักยภาพ และถือว่าความ รับผิดชอบของตนจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อศิษย์ได้แสดงออกซึ่งผลแห่งการพัฒนานั้นแล้ว ครูจึงต้อง เรียนรู้เกี่ยวกับศักยภาพของศิษย์แต่ละคนและทุกคนเลือกกิจกรรมการเรียนที่หลากหลาย เหมาะสมสอดคล้องกับการพัฒนาตามศักยภาพนั้น ๆ ดาเนินการให้ศิษย์ได้ลงมือทากิจกรรมการ เรียน จนเกิดผลอย่างแจ้งชัด และยังกระตุ้นยั่วยุให้ศิษย์ทุกคนได้ทากิจกรรมต่อเนื่องเพื่อความ เจริญงอกงามอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ครูต้องอบรมสั่งสอนฝึกฝนสร้างเสริมความรู้ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็ม ความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ หมายถึง การดาเนินงานตั้งแต่การเลือกกาหนดกิจกรรมการ เรียนที่มุ่งผลต่อการพัฒนาในตัวศิษย์อย่างแท้จริงการจัดให้ศิษย์มีความรับผิดชอบ และเป็นเจ้าของ การเรียนรู้ ตลอดจนการประเมินร่วมศิษย์ ในผลของการเรียนและการเพิ่มพูนการเรียนรู้ภายหลัง บทเรียนต่าง ๆ ด้วยความปรารถนาที่จะให้ศิษย์แต่ละคนและทุกคนพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ และตลอดไป พฤติกรรมสาคัญ 1. อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศิษย์อย่างมุ่งมั่นและตั้งใจ ตัวอย่างเช่น - สอนเต็มเวลา ไม่เบียดบังเวลาของศิษย์ไปหาผลประโยชน์ส่วนตน - เอาใจใส่ อบรม สั่งสอนศิษย์จนเกิดทักษะในการปฏิบัติงาน
  • 8. - อุทิศเวลาเพื่อพัฒนาศิษย์ตามความจาเป็นและเหมาะสม - ไม่ละทิ้งชั้นเรือนหรือขาดการสอนฯลฯ 2. อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศิษย์อย่างเต็มศักยภาพ ตัวอย่างเช่น - เลือกใช้วิธีการที่หลากหลายในการสอนให้เหมาะสมกับสภาพของศิษย์ - ให้ความรู้โดยไม่ปิดบัง - สอนเต็มความสามรถ - เปิดโอกาสให้ศิษย์ได้ฝึกปฏิบัติอย่างเต็มความสามารถ - สอนเต็มความสามารถและด้วยความเต็มใจ - กาหนดเป้าหมายที่ท้าทาย พัฒนาขึ้น - ลงมือจัดเลือกกิจกรรมที่นาสู่ผลจริง - ภูมิใจเมื่อศิษย์พัฒนาฯลฯ 3. อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาศิษย์ด้วยความบริสุทธิ์ใน ตัวอย่างเช่น - สั่งสอนศิษย์โดยไม่บิดเบือนหรือปิดบังอาพราง - อบรมสั่งสอนศิษย์โดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง - มอบหมายงานและความผลงานด้วยความยุติธรรมฯลฯ จรรยาบรรณข้อที่ 3 : ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และ จิตใจ หลักการการเรียนรู้ในด้านค่านิยมและจริยธรรมจาเป็นต้องมีตัวแบบที่ดี เพื่อให้ผู้เรียนยึดถือและ นาไปปฏิบัติตาม ครูที่ดีจึงถ่ายทอดค่านิยมและจริยธรรมด้วยการแสดงตนเป็นตัวอย่างเสมอ การ แสดงตนเป็นตัวอย่างนี้ถือว่าครูเป็นผู้นาในการพัฒนาศิษย์อย่างแท้จริง การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี หมายถึง การแสดงอกกอย่างสม่าเสมอของครูที่ศิษย์ สามารถสังเกตรับรู้ได้เอง และเป็นการแสดงที่เป็นไปตามมาตรฐานแห่งพฤติกรรมระดับสูงตาม ค่านิยม คุณธรรมและวัฒนธรรมอันดีงาม พฤติกรรมสาคัญ 1. ตระหนักว่าพฤติกรรมการแสดงออกของครูมีผลต่อการพัฒนาพฤติกรรมของศิษย์อยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น - ระมัดระวังในการกระทา และการพูดของตนเองอยู่เสมอ - ไม่โกธรง่ายหรือแสดงอารมณ์ฉุนเฉียวต่อหน้าศิษย์ - มองโลกในแง่ดี ฯลฯ 2. พูดจาสุภาพและสร้างสรรค์โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับศิษย์และสังคม ตัวอย่างเช่น - ไม่พูดคาหยาบหรือก้าวร้าว - ไม่นินทาหรือพูดจาส่อเสียด
  • 9. - พูดชมเชยให้กาลังใจศิษย์ด้วยความจริงใจฯลฯ 3. กระทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี สอดคล้องกับคาสอนของตน และวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม ตัวอย่างเช่น - ปฏิบัติตนให้มีสุขภาพ และบุคลิกภาพที่ดีอยู่เสมอ - แต่งกายสะอาดสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ - แสดงกริยามารยาทสุภาพเรียบร้อยอยู่เสมอ - ตรงต่อเวลา - แสดงออกซึ่งนิสัยในการประหยัดซื่อสัตย์ อดทน สามัคคี มีวินัย ฯลฯ จรรยาบรรณข้อที่ 4 : ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกายสติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษย์ หลักการ การแสดงออกของครูใด ๆ ก็ตามย่อมมีผลในทางบวกหรือลบ ต่อความเจริญเติบโตของ ศิษย์เมื่อครูเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงต่อการพัฒนาทุก ๆ ด้านของศิษย์ จึงต้องพิจารณาเลือกแสดง แต่เฉพาะการแสดงที่มีผลทางบวก พึงระงับและละเว้นการก้าวหน้าของศิษย์ ทุก ๆ ด้าน การไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติ ปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ หมายถึง การตอบสนองต่อศิษย์ในการลงโทษหรือให้รางวัลการกระทาอื่นใดที่นาไปสู่การลด พฤติกรรมที่พึงปรารถนา และการเพิ่มพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา พฤติกรรมสาคัญ 1. ละเว้นการกระทาที่ทาให้ศิษย์เกิดความกระทบกระเทือนต่อจิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ของศิษย์ ตัวอย่างเช่น - ไม่นาปมด้อยของศิษย์มาล้อเลียน - ไม่ประจานศิษย์ - ไม่พูดจาหรือกระทาการใด ๆ ที่เป็นการซ้าเติมปัญหาหรือข้อบกพร่องของศิษย์ - ไม่นาความเครียดมาระบายต่อศิษย์ไม่ว่าจะด้วยคาพูด หรือสีหน้าท่าทาง - ไม่เปรียบเทียบฐานะความเป็นอยู่ของศิษย์ - ไม่ลงโทษศิษย์เกินกว่าเหตุ 2. ละเว้นการกระทาที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและร่างกายของศิษย์ ตัวอย่างเช่น - ไม่ทาร้ายร่างกายศิษย์ - ไม่ลงโทษศิษย์เกินกว่าระเบียบกาหนด - ไม่ใช้ศิษย์ทางานเกินกาลังความสามารถ ฯลฯ 3. ละเว้นการกระทาที่สกัดกั้นพัฒนาการทาง สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของศิษย์ - ไม่ตัดสินคาตอบถูกผิดโดยยึดคาตอบของครู - ไม่ดุด่าซ้าเติมศิษย์ที่เรียนช้า - ไม่ขัดขวางโอกาสให้ศิษย์ได้แสดงออกทางสร้างสรรค์ - ไม่ตั้งฉายาในทางลบให้แก่ศิษย์ ฯลฯ
  • 10. จรรยาบรรณข้อที่ 5 : ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติ หน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ หลักการ การใช้ตาแหน่งหน้าที่ในวิชาชีพแสวงหาประโยชน์ตนโดยมิชอบ ย่อมทาให้เกิดความ ลาเอียงในการปฏิบัติหน้าที่ สร้างความไม่เสมอภาคนาไปสู่ความเสื่อมศรัทธาในบุคคลและวิชาชีพ นั้นดังนั้น ครูจึงต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันมิควรได้จากศิษย์ หรือใช้ศิษย์ให้ไปแสวงหาประโยชน์ ให้แก่ตนโดยมิชอบ การไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์ กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ หมายถึง การไม่กระทาการใด ๆ ที่จะ ได้มาซึ่งผลตอบแทนเกินสิทธิที่พึงมีพึงได้จากการปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบตามปกติ พฤติกรรมสาคัญ 1. ไม่รับหรือแสวงหาอามิสสินจ้างหรือผลประโยชน์อันมิควรจากศิษย์ ตัวอย่างเช่น - ไม่หารายได้จาการนาสินค้ามาขายให้ศิษย์ - ไม่ตัดสินผลงานหรือผลการเรียน โดยมีสิ่งแลกเปลี่ยน - ไม่บังคับหรือสร้างเงื่อนไขให้ศิษย์มาเรียนพิเศษเพื่อหารายได้ ฯลฯ 2. ไม่ใช่ศิษย์เป็นเครื่องมือหาประโยชน์ให้กับคนโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ขนมธรรมเนียม ประเพณี หรือความรู้สึกของสังคม ตัวอย่างเช่น - ไม่นาผลงานของศิษย์ไปแสวงหากาไรส่วนคน - ไม่ใช้แรงงานศิษย์เพื่อประโยชน์ส่วนตน - ไม่ใช้หรือจ้างวานศิษย์ไปทาสิ่งผิดกฎหมาย ฯลฯ จรรยาบรรณข้อที่ 6 : กฎย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทัน ต่อการพัฒนาทางวิทยาการเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ หลักการ สังคมและวิทยาการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ดังนั้น ครูในฐานะผู้พัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ จึงต้องพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงใน อนาคต การพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทาง วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยู่เสมอ หมายถึง การใฝ่รู้ ศึกษาค้นคว้า ริเริ่ม สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ให้ทัน สมัย ทันเหตุการณ์ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและเทคโนโลยี สามารถพัฒนาบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ พฤติกรรมสาคัญ 1. ใส่ใจศึกษาค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ที่เกี่ยวกับวิชาชีพอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น - หาความรู้จากเอกสาร ตารา และสื่อต่าง ๆ อยู่เสมอ - จัดทาและเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ตามโอกาส - เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา หรือฟังการบรรยายหรืออภิปรายทางวิชาการ ฯลฯ
  • 11. 2. มีความรอบรู้ ทันสมัย ทันเหตุการณ์สามารถนามาวิเคราะห์ กาหนดเป้าหมาย แนวทางพัฒนา ตนเองและวิชาชีพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การอาชีพ และ เทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น - นาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ประกอบการเรียนการสอน - ติดตามข่าวสารเหตุการณ์ด้านการเมืองเศรษฐกิจ สังคม การเมืองอยู่เสมอ - วางแผนพัฒนาตนเองและพัฒนางาน ฯลฯ 3. แสดงออกทางร่างกาย กริยา วาจา อย่างสง่างาม เหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวอย่างเช่น - รักษาสุขภาพและปรับปรุงบุคลิกภาพอยู่เสมอ - มีความเชื่อมั่นในตนเอง - แต่งกายสะอาดเหมาะสมกับกาลเทศะและทันสมัย - มีความกระตือรือร้น ไวต่อความรู้สึกของสังคม ฯลฯ จรรยาบรรณข้อที่ 7 : ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู หลักการ ความรักและเชื่อมั่นในอาชีพของตนย่อมทาให้ทางานอย่างมีความสุขและมุ่งมั่น อันจะ ส่งผลให้อาชีพนั้นเจริญรุ่งเรืองและมั่นคง ดังนั้นครูย่อมรักและศรัทธาในอาชีพครูด้วยความเต็มใจ ความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู หมายถึง การแสดงออก ด้วยความชื่นชมและเชื่อมั่นในอาชีพครูด้วยตระหนักว่าอาชีพนี้เป็นอาชีพที่มีเกียรติ มีความสาคัญ และจาเป็นต่อสังคม ครูพึงปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจและภูมิใจ รวมทั้งปกป้องเกียรติภูมิของ อาชีพครู เข้าร่วมกิจกรรมและสนับสนุนองค์กรวิชาชีพครู พฤติกรรมสาคัญ 1. เชื่อมั่น ชื่นชม ภูมิใจในความเป็นครูและองค์กรวิชาชีพครู ว่ามีความสาคัญและจาเป็นต่อสังคม ตัวอย่างเช่น - ชื่นชมในเกียรติและรางวัลที่ได้รับและรักษาไว้อย่างเสมอต้นเสมอปลาย - ยกย่องชมเชยเพื่อนครูที่ประสบผลสาเร็จเกี่ยวกับการสอน - เผยแพร่ผลสาเร็จของตนเองและเพื่อนครู - แสดงตนว่าเป็นครูอย่างภาคภูมิ ฯลฯ 2. เป็นสมาชิกองค์กรวิชาชีพครูและสนับสนุนหรือเข้าร่วมหรือเป็นผู้นาในกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพ ครู ตัวอย่างเช่น - ปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อกาหนดขององค์กร - ร่วมกิจกรรมที่องค์กรจัดขึ้น - เป็นกรรมการหรือคณะทางานขององค์กร ฯลฯ 3. ปกป้องเกียรติภูมิของครูและองค์กรวิชาชีพ ตัวอย่างเช่น - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานของครูและองค์กรวิชาชีพครู - เมื่อมีผู้เข้าใจผิดเกี่ยวกับวงการวิชาชีพครูก็ชี้แจงทาความเข้าใจให้ถูกต้อง จรรยาบรรณข้อที่ 8 : ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
  • 12. หลักการ สมาชิกของสังคมใดพึงผนึกกาลังพัฒนาสังคมนั้นและเกื้อกูลสังคมรอบข้าง ในวงวิชาชีพ ครูผู้ประกอบอาชีพครูพึงร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันด้วยความเต็มใจ อันจะยังผลให้เกิดพลัง และศักยภาพในการพัฒนาวิชาชีพครู และการพัฒนาสังคม การช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ หมายถึง การให้ความร่วมมือ แนะนาปรึกษา ช่วยเหลือแก่เพื่อนครูทั้งเรื่องส่วนตัว ครอบครัว และการงานตามโอกาสอย่างเหมาะสม รวมทั้งเข้า ร่วมกิจกรรมของชุมชน โดยการให้คาปรึกษาแนะนาแนวทางวิธีการปฏิบัติตน ปฏิบัติงาน เพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน พฤติกรรมสาคัญ 1. ให้ความร่วมมือแนะนา ปรึกษาแก่เพื่อนครูตามโอกาสและความเหมาะสม ตัวอย่างเช่น - ให้คาปรึกษาการจัดทาผลงานทางวิชาการ - ให้คาปรึกษาแนะนาการผลิตสื่อการเรียนการสอน ฯลฯ 2. ให้ความช่วยเหลือด้านทุนทรัพย์ สิ่งของแก่เพื่อนครูตามโอกาสและความเหมาะสม ตัวอย่างเช่น - ร่วมงานกุศล - ช่วยทรัพย์เมื่อเพื่อนครูเดือนร้อน - จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ฯลฯ 3. เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนรวมทั้งให้คาปรึกษาแนะนา แนวทางวิธีการปฏิบัติตน ปฏิบัติงานเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทยชุมชน ตัวอย่างเช่น - แนะแนวทางการป้องกัน และกาจัดมลพิษ - ร่วมกิจกรรมตามเพณีของชุมชน ฯลฯ จรรยาบรรณข้อที่ 9 : ครูพึงประสงค์ ปฏิบัติตน เป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญา และ วัฒนธรรมไทย หลักการ หน้าที่สาคัญประการหนึ่งของการศึกษาคือการพัฒนาคนให้มีภูมิปัญญา และรู้จักเลือก วิธีการดาเนินชีวิตที่ดีงาม ในฐานะที่ครูเป็นบุคลากรทางการศึกษา ครูจึงควรเป็นผู้นาในการ อนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย การเป็นผู้นาในการอนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย หมายถึง การริเริ่มดาเนิน กิจกรรม สนับสนุนส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โดยรวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์ เลือกสรร ปฏิบัติตนและเผยแพร่ศิลปะ ประเพณีดนตรี กีฬา การละเล่น อาหาร เครื่องแต่งกาย ฯลฯ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน การดารงชีวิตตนและสังคม พฤติกรรมสาคัญ 1. รวบรวมข้อมูลและเลือกสรรภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมที่เหมาะสมใช้จัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ตัวอย่างเช่น - เชิญบุคคลในท้องถิ่นเป็นวิทยากร - นาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้จัดการเรียนการสอน - นาศิษย์ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการชุมชน ฯลฯ
  • 13. 2. เป็นผู้นาในการวางแผน และดาเนินการเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น - ฝึกการละเล่นท้องถิ่นให้แก่ศิษย์ - จัดตั้งชมรม สนใจศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น - จัดทาพิพิธภัณฑ์ในสถานศึกษา ฯลฯ 3. สนับสนุนส่งเสริมเผยแพร่และร่วมกิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนอย่างสม่าเสมอ - รณรงค์การใช้สินค้าพื้นเมือง - เผยแพร่การแสดงศิลปะพื้นบ้าน - ร่วมงานประเพณีของท้องถิ่น ฯลฯ 4. ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อนาผลมาใช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน ตัวอย่างเช่น - ศึกษาวิเคราะห์ วิจัยภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อนาผลมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน ตัวอย่างเช่น - ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน นิทานพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ตานาน และความ เชื่อถือ - นาผลการศึกษาวิเคราะห์มาใช้ในการเรียนการสอน ฯลฯ จากปัญหาการกวดวิชาของผู้เรียนในปัจจุบัน ทาให้ส่งผลสะท้อนถึงภาพรวมการศึกษาไทยว่ามี ความเหลื่อมล้า แตกต่างและมีความไม่เท่าเทียมกันสูง การศึกษาไทยยังเน้นการเรียนการสอนที่ยัง เน้นการสอบสูง มีการแข่งขันตามมามาก และการ เรียนการสอนในโรงเรียนยังมีปัญหามาก โดยเฉพาะในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ ระบบดังกล่าวนาไปสู่ค่านิยมของ การเลือกสถาบันมีชื่อ ทางแก้จึงกลับมาอยู่ที่พื้นฐานหลัก คือการส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาการสอน อย่างแท้จริงและมีคุณภาพสูง หากว่าครูปฏิบัติได้ตามจรรยาบรรณดังกล่าวได้ ปัญหาระดับชาติก็ จะไม่เกิดขึ้น หรือว่าเกิดขึ้นก็เกิดขึ้นในระดับที่น้อยมาก ในสมัยก่อนไม่มีการกวดวิชา ก็ยังสามารถ ผลิตบุคลลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพได้มากมายหลายคน ในขณะเดียวกันรัฐก็จะต้องทาให้ ความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษานั้นลดน้อยลง โดย ภาพรวมจึงต้องดู 2 แนวทางหลัก คือใน ส่วนของการกวดวิชา รัฐจะต้องร่วมมือกับเด็ก ผู้ปกครอง โรงเรียนกวดวิชาเอง กาหนดเกณฑ์ คุณภาพของโรงเรียนกวดวิชาขึ้นมาแล้วดูแลให้ปฏิบัติได้ ส่งเสริมโครงการระยะสั้น เตรียมความ พร้อมให้เด็กที่ขาดโอกาสเรียนเสริม ในส่วนของระบบการศึกษาโดยรวมจะต้องปรับระบบการสอบ คัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยหรือเข้าศึกษาต่อในระดับ ชั้นต่างๆ ใหม่ รวมถึงการกระจายคุณภาพและ โอกาสทางการศึกษาให้ กว้างขวางใกล้เคียงกัน ข้อมูลจาก ดร.นรีภัทร ผิวพอใช้ เอกสารอ้างอิง ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2545) การกวดวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในปนระเทศไทย. รายงาน การวิจัย.สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
  • 14. สานักงานเลขาธิการคุรุสภา. แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539. ค้นหาออนไลน์ จาก http://www.edu.chula.ac.th/knowledge/rule/rule2539.htm ตัวอย่างข้อสอบ (พร้อมเฉลย) คาสั่ง จงเลือกคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดพียงข้อเดียว 1. “จรรยา” มีความหมายเช่นเดียวกับคาใด? ก. กริยา ข.จริยา ค. มรรยาท ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ข.จริยา 2. “ความประพฤติที่ผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ วิชาชีพถึงปฏิบัติ โดยบัญญัติไว้เป็นลายลักษณ์ อักษร”หมายถึง? ก. จรรยาบรรณ ข. สัตยาบรรณ ค. มาตรฐานวิชาชีพ ง. จรรยาบรรณวิชาชีพครู ตอบ ก. จรรยาบรรณ 3. ข้อใดคือความหมายของคาว่า จรรยาบรรณวิชาชีพครู? ก. แบบแผนที่ข้าราชการควรประพฤติปฏิบัติ ข. แบบแผนที่ข้าราชการต้องประพฤติปฏิบัติ ค. แบบแผนที่ข้าราชการยึดประพฤติปฏิบัติ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ข. แบบแผนที่ข้าราชการต้องปฏิบัติ 4. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กาหนดขั้นเพื่อวัตถุประสงค์ในข้อใด? ก. รักษาและส่งเริมเกียรติคุณ ของผู้ประกอบวิชาชีพครู ข. รักษาและส่งเสริมชื่อเสียง ของผู้ประกอบวิชาชีพครู ค. รักษาและส่งเสริมฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพครู ง.ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 5. จรรยาบรรณวิชาชีพครู กาหนดไว้ในกฎหมายใด? ก. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ข. พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ 2546 ค. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง.ถูกทุกข้อ 6. ผู้ที่จะเข้ารับราชการครู ต้องมีอายุตามข้อใด?
  • 15. ก. 18ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ากว่า18ปีบริบูรณ์ ค. 20ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ ตอบ ข.ไม่ต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์ 7. ผู้ที่จะเข้ารับใบประประกอบวิชาชีพครู ต้องมีอายุตามข้อใด? ก. 18 ปีบริบูรณ์ ข. ไม่ต่ากว่า18ปีบริบูรณ์ ค. 20ปีบริบูรณ์ ง. ไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ ตอบ ง. ไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ 8. มาตรฐานวิชาชีพครู มีจานวนกี่มาตรฐาน? ก. 3 มาตรฐาน ข. 4 มาตรฐาน ค. 5 มาตรฐาน ง. 6 มาตรฐาน ตอบ ก. 3 มาตรฐาน 9. มาตรฐานวิชาชีพครูในข้อใดที่กาหนดให้เป็นจรรยาบรรณของวิชาชีพ? ก. มาตรฐานการปฏิบัติตน ข. มาตรฐานการปฏิบัติงาน ค. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ ง. มาตรฐานการสอน ตอบ ก. มาตรฐานการปฏิบัติตน 10. จรรยาบรรณวิชาชีพครู มรจานวนเท่าใด? ก. 4 จรรยาบรรณ ข. 5 จรรยาบรรณ ค. 6 จรรยาบรรณ ง. 7 จรรยาบรรณ ตอบ ข. 5จรรยาบรรณ 11.จรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่? ก. จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ข. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ ค. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 12. หน่วยงานใดเป็นผู้กาหนดข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู? ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการข้าราชการครุและบุคลากรทางการศึกษา ค. คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ก. คุรุสภา 13. จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 มีจานวนกี่ข้อ? ก. 6 ข้อ ข. 7ข้อ ค. 8 ข้อ ง. 9 ข้อ
  • 16. ตอบ ง. 9 ข้อ 14. ข้อใดไม่ได้กาหนดไว้ในจรรยาบรรณครู พ.ศ.2539 ก.ครูต้องรักและเมตตาศิษย ข. ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ค. ครูย่อมเป็นบุคคลที่ประหยัดและมัธยัสถ ง. ไม่มีคาตอบ ตอบ ค. ครูย่อมเป็นบุคคลที่ประหยัดและมัธยัสถ 15. บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ของผู้ได้รับ ใบอนุญาต มีสิทธิกล่าวกาผู้ได้รับอนุญาต โดยยื่นเรื่องต่อผู้ใด? ก. คุรุสภา ข. คณะกรรมการคุรุสภา ค. กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตอบ ก. คุรุสภา 16. จากข้อ 15 สิทธิกล่าวโทษสิ้นสุดเมื่อระยะเวลาตามข้อใดนับแต่กล่าวโทษรู้เรื่องการ ประพฤติผิด จรรยาบรรณ(แอ๊คกรุ๊ป)ของวิชาชีพครู และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด? ก. พ้น 1 ปี ข. พ้น 2 ปี ค. พ้น 3 ปี ง. พ้น 4 ปี ตอบ ก. พ้น 1 ปี 17. จากข้อ 15 สิทธิกล่าวโทษสิ้นสุดเมื่อระยะเวลาตามข้อใดนับแต่ผู้กล่าวโทษรู้เรื่องการ ประพฤติผิด จรรยาบรรณ(แอ๊ค)ของวิชาชีพ และรู้ตัวผู้ประพฤติผิด? ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข. คณะกรรมการคุรุสภา ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตอบ ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ 18. โทษของผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีกี่สถาน? ก. 4 สถาน ข. 5สถาน ค.6สถาน ง. 7สถาน ตอบ ข. 5 สถาน 19. ข้อใดไม่เป็นโทษของผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู? ก. ยกข้อกล่าวหา ข.ตักเตือน ค. ภาคทัณฑ ง. ตัดเงินเดือน
  • 17. ตอบ ง. ตัดเงินเดือน 20. โทษ พักใบอนุญาต ผู้ประพฤติจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีจานวนกี่ป ก. ไม่เกิน 3 ปี ข. ไม่เกิน 4 ปี ค. ไม่เกิน 5 ปี ง. ไม่เกิน 6 ปี ตอบ ค. ไม่เกิน 5 ปี 21. ผู้ถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู จะขออีกได้เมื่อใด? ก. พ้น 2 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ข. พ้น 3 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ค. พ้น 4 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ง. พ้น 5 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน ตอบ ง. พ้น 5 ปี นับแต่ถูกสั่งเพิกถอน 22. ครู ถูกลงโทษ สาหรับผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีสิทธิดาเนินการเพื่อรักษา สิทธิของ ตนเอง ได้ตามข้อใด? ก. ร้องทุกข์ ข. ร้องเรียน ค. อุทธรณ์ ง. ฎีกา ตอบ ค. อุทธรณ์ 23. จากข้อ 222 ต้องดาเนินการต่อองค์คณะบุคคลในข้อใด? ก. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข.คณะกรรมการคุรุสภา ค. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ง. คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตอบ ข.คณะกรรมการคุรุสภา 24. จากข้อ 23 ต้องดาเนินการภายในระยะเวลาเท่าใด? ก. 7 วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย ข.10 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย ค.15 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย ง. 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย ตอบ ง. 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งคาวินิจฉัย 25. ผู้ใดประกอบอาชีพครูโดยไม่ได้รับอนุญาตต้องได้รับระวางโทษตามข้อใด? ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ค. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ง. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ
  • 18. ตอบ ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ 26. ผู้ใดประกอบอาชีพครูในระหว่างพักใบอนุญาตต้องได้รับการระวางโทษตามข้อใด? ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ค. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ง. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ตอบ ค. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ 27. ผู้ใดแสดงให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิ์พร้อมจะประกอบวิชาชีพควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษ ตามข้อใด? ก. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ข. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ค. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ง. จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ ตอบ ค. จาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 30,000 บาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ 28. ครูควรรับผิดชอบต่อสิ่งใดมากที่สุด? ก. โรงเรียน ข. นักเรียน ค. ผู้ร่วมงาน ง. ชุมชน ตอบ ข. นักเรียน 29. อาชีพใดที่ใช้กาลังความคิดและสมองเป็นหลัก? ก. Technican ข. Labour ค.Profession ง.Semilabour ตอบ ค.Profession 30. พฤติกรรมในข้อใดที่แสดงว่าไม่มีความสามารถทางวิชาชีพครู? ก. ใช้อุปกรณ์การสอนชนิดเดียวกันทุกเนื้อหาวิชา ข. เขียนจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมได้ถูกต้อง ค. จัดบรรยากาศในชั้นเรียนได้เหมาะสมทุกเนื้อหาทุกวิชา ง. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา ตอบ ก.ใช้อุปกรณ์การสอนชนิดเดียวกันทุกเนื้อหาทุกวิชา 31. เรื่องใดต่อไปนี้มิใช่ลักษณะสาคัญของวิชาชีพชั้นสูง? ก. วิธีการแห่งปัญญา ข. ทักษะและเทคนิคพิเศษ ค. จรรยาบรรณ ง. เสรีภาพในการใช้วิชาชีพ
  • 19. ตอบ ข. ทักษะและเทคนิคพิเศษ 32. คาเปรียบเทียบข้อใดชี้ให้เห็นว่าครูเป็นบุคคลที่ควรเคารพนับถือ? ก. ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ ข. ครู คือเรือจ้าง ค. ครู คือ ปูชนียบุคคล ง. ครู คือ ผู้ยกระดับสติปัญญาของมนุษย ตอบ ค. ครู คือ ปูชนียบุคคล 33. บุคคลใดที่ได้ชื่อว่าเป็นครูคนแรกบุตร? ก. อุปัชฌาจารย ข. บุพพาจารย์ บูรพาจารย ค. ปรมาจารย์ ง. อาจารย์ ตอบ ข. บุพพาจารย์ บูรพาจารย 34. ถ้าขาดข้อใดจะเป็นอุปสรรคต่อวิชาชีพครูอย่างยิ่ง? ก. การถ่ายทอดความรู้ ข. ความศรัทธา ค. เงินเดือน ง. สวัสดิการ ตอบ ข. ความศรัทธา 35. คุณสมบัติที่สาคัญประจาตัวครู คือข้อใด? ก. บุคลิกภาพดี ข. ความรู้ดี ค. มนุษยสัมพันธ์ดี ง. สอนดีมีคุณธรรม ตอบ ง. สอนดีมีคุณธรรม 36. ธรรมะ ที่ครูยึดมั่นเป็นที่ตั้งคือข้อใด? ก. อิทธิบาท 4 ข. สังคหวัตถุ 4 ค. พรหมวิหาร 4 ง. มรรคและผล ตอบ ค. พรหมวิหาร 4 37. จรยาบรรณขอบงครูไทย บัญญัติเป็นลายลักษณ์อักษรและมีกฎหมายรองรับครั้งแรก เมื่อใด? ก. พ.ศ. 2504 ข.พ.ศ. 2505 ค. พ.ศ. 2506 ง. 2507 ตอบ ค. พ.ศ. 2506 38. ข้อใดไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครูก็ได้ ตามพ.ร.บ. การศึกษา 2542? ก. คณาจารย์ ข. วิทยากรพิเศษ ค. ผู้อานวยการวิทยาลัย ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ข. วิทยากรพิเศษ 39. ครูต้องมีความรู้เกี่ยวกับอะไร? ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ข. ความก้าวหน้าในอาชีพ ค. การหารายได้จาการสอนพิเศษ ง. การทาผลงานทางวิชาการ
  • 20. ตอบ ก. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 40. ครูที่ได้รับยกย่องว่า”สอนดี”คือข้อใด ก. เลือกวิธีสอนใหม่ๆมาใช้ ข. สอนตามแผนการสอน ค. สอนให้เหมาะกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมายง.สอนตามข้อตกลงระหว่างครูกับนักเรียน ตอบ ค. สอนให้เหมาะกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมาย 41. จาการวิจัยของเฉลียว บุรีภักดี พบข้อบกพร่องของครูในด้านใดมากที่สุด? ก. ไม่รับผิดชอบการงาน มัวเมาในอบายมุข ข.ประพฤติไม่เหมาะสมแต่งกายไม่สุภาพ ค. ชอบนินทา,พูดจาไม่สุภาพ ง. เจ้าอารมณ์ จู้จี้ขี้บ่น ตอบ ข.ประพฤติไม่เหมาะสมแต่งกายไม่สุภาพ 42. ลักษณะของครูที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานของคุรุสภา เป็นอย่างไร? ก. มีบุคลิกภาพดีตรงเวลา ข. รอบรู้สอนดีมีคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนา ค. เสียสละมีความยุติธรรม ง. มีความประพฤติดี ซอื่ สัตย ตอบ ข. รอบรู้สอนดีมีคุณธรรม มุ่งมั่นพัฒนา 43. เป้าหมายสาคัญของครูที่ต้องการให้เกิดแก่ตัวนักเรียนคือข้อใด? ก. ความรู้ ข. ความดี ค. ความคิด ง. ความสามารถ ตอบ ข. ความดี 44. สังคมมีความคาดหวังว่าสิ่งใดสามารถแก้ปัญหาสังคมได้? ก. เศรษฐกิจ ข. กฎหมาย ค. การศึกษา ง. วัฒนธรรม ตอบ ค. การศึกษา 45. คาว่า “อาจารย์” แต่เดิมใช้เรียกบุคคลกลุ่มใด? ก. ครูในโรงเรียน ข. อาจารย์ในมหาวิทยาลัย ค. พระภิกษุสงฆ์ในพุทธศาสนา ง.บัณฑิต นักปราชญ์ ตอบ ค. พระภิกษุสงฆ์ในพุทธศาสนา 46. วิชาชีพชั้นสูง หมายถึงข้อใด? ก. Profession ข.Labour ค. Semilabour ง.Techician ตอบ ก.Profession 47. อาชีพใดเป็นอาชีพที่สังคมยกย่องมากที่สุด? ก. ตารวจ ข. ทหาร ค. พยาบาล ง.ครู ตอบ ง. ครู
  • 21. 48. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด? ก. วิชาชีพชั้นสูงจะต้องมีจรรยาบรรณ ข. วิชาชีพชนั้ สูงเน้นการบริการต่อสังคมมากกว่าการหาผลประโยชน ค. วิชาชีพชั้นสูงจะต้องอาศัยความรู้ ความคิด สติปัญญาเป็นหลัก ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ 49. คาว่า”ครูมาจากรากศัพท์” ภาษาใด? ก. ภาษาบาลี ข. ภาษาสันสกฤต ค. ภาษาละติน ง. ภาษากรีก ตอบ ข. ภาษาสันสกฤต 50. ข้อใดให้ความหมายของคาว่า”ครู” ถูกต้องที่สุด? ก. ครู คือ แสงเทียนและดวงประทีป ข. ครู คือ แม่พิมพ์ของชาติ ค. ครู คือ ผู้ให้ ผู้ควรแก่ศิษย์เคารพ ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ที่มา : http://www.sobtidsure.net/ 51. ความหมายใดตรงกับว่า”ครู”? ก. เบา ข. หนัก ค. สูง ง. ต่า ตอบ ข. หนัก 52. ครู คือ ปูชนียบุคคล คาว่า” ปูชนียบุคคล” ตรงกับความหมายใด? ก. ผู้ที่ควรแก่การยกย่อง ข.ผู้ที่ควรแก่การเคารพ ค. ผู้ที่ควรแก่การนับถือ ง.ผู้ที่ควรแก่การบูชา ตอบ ข. ผู้ที่ควรแก่การเคารพ 53. ในบทบัญญัติมาตรฐาน 38 (ก) ตาแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงาน การศึกษาบัญญัติไว้กี่ตาแหน่ง? ก. 3 ตาแหน่ง ข. 4 ตาแหน่ง ค. 5 ตาแหน่ง ง. 6 ตาแหน่ง ตอบ ง. 6 ตาแหน่ง 54. คาว่า”อาจารย์” ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ ความหมายตรงกับข้อใด? ก. ผู้สั่งสอน คาที่ใช้เรียกนาหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ในทาง
  • 22. ใดทางหนึ่ง ข. ผู้สั่งสอนและอบรมความประพฤติปฏิบัติ ค. ผู้สั่งสอนในมหาวิทยาลัย ง. ผู้สั่งสอนทาหน้าที่ทางด้านวิชาการเรียนการสอน ตอบ ก. ผู้สั่งสอน คาที่ใช้เรียกนาหน้าบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ ในทางใดทางหนึ่ง 55. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ให้คากาจัดความไว้ว่า” คณาจารย์” หมายถึงข้อใด? ก. บุคลากรกระทาหน้าที่หลักในการสอนในสถานศึกษา ข. บุคลากรหน้าที่หลักในการวิจัยในสถานศึกษา ค. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษา ง. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของรัฐ และเอกชน ตอบ ง. บุคลากรหน้าที่หลักในการสอนและวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ของรัฐและเอกชน 56. คาสอนเรื่อง”กัลยาณมิตร”ธรรม 7” คาว่า””ภาวนีโย” ตรงกับข้อใด? ก. น่ารัก ข. รู้จักพูด ค. น่ายกย่อง ง. อดทนต่อถ้อยคา ตอบ ค. น่ายกย่อง 57. หน้าที่ของครูที่จาเป็นมากที่สุด คือข้อใด? ก. การสอนและอบรม ข. การแนะแนวและชี้นา ค. การศึกษาค้นคว้าและวิจัย ง. ถูกทุกข้อ ตอบ ก. การสอนและอบรม 58.ผู้บริหารการศึกษา หมายถึง ข้อใด? ก. บุคคลซึ่งหน้าที่สนับสนุนการศึกษา ข. บุคลซึ่งหน้าที่ผู้บริหารการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ค. บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ง. บุคคลซึ่งทาหน้าที่บริหารการศึกษาทางด้านการเรียนการสอนทั้งสอนทั้ง ภาครัฐและเอกชน ตอบ ค. บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาในระดับเขต พื้นที่การศึกษา 59. คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีทั้งหมดกี่คน? ก. 18 คน ข. 19 คน ค. 20 คน ง. 21 คน