SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
 
การเตรียมสารละลาย เตรียมจากตัวละลายบริสุทธิ์ เตรียมจากสารละลายเข้มข้นทำเป็นสารละลายเจือจาง
สารละลายมาตรฐาน Standard Solution   เป็นสารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน   Primary Standard Solution  สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ เป็นสารละลายที่เตรียมจากสารที่มี ความบริสุทธิ์สูง  ใช้เทียบความเข้มข้นสารละลายอื่น Secondary Standard Solution  สารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ  เป็นสารละลายที่เตรียมจาก สารทั่วไป  แล้วนำไปไทเทรตเทียบความเข้มข้นก่อนใช้งาน
การเตรียมสารละลาย
1.  เตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์
เตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์ 1.  คำนวณหาปริมาณของตัวละลาย แล้วชั่งมวลตัวละลายตามที่คำนวณได้ 3.  เทสารละลายจากข้อ  2  ลงในขวดวัดปริมาตรตามขนาดที่กำหนด 4 .  เทน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ที่ใช้ละลายสารเล็กน้อยเพื่อล้างสารที่ตกค้างอยู่ในบีกเกอร์ แล้วเทลงในขวดวัดปริมาตร  ทำซ้ำ  2 – 3  ครั้ง จนแน่ใจว่าไม่มีสารตกค้าง
4 5.  ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด  ปิดจุกขวดวัดปริมาตร  จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
How many  grams of magnesium cyanide are needed to make 275 cm 3  of a 0.075 M solution? 0.075 M  Mg(CN) 2   = = 0.075 mole Mg(CN) 2 1 dm 3  solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3  solution = mole Mg(CN) 2 275 cm 3  solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3  solution
mol  Mg(CN) 2   = =  0.0206 mol Mg(CN) 2 =  1.56 g Mg(CN) 2 275 cm 3  solution  x 0.075 mol Mg(CN) 2 1000 cm 3  solution g  Mg(CN) 2   = 0.0206 mol Mg(CN) 2   x   1 mol Mg(CN) 2 76 g  Mg(CN) 2
2.  การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง นำสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงไปทำเป็นสารละลายที่มีคามเข้มข้นน้อยกว่า
จำนวนโมลของตัวละลายก่อนและหลังการเจือจางจะเท่ากัน โมลก่อนผสม   =  โมลหลังผสม M 1 V 1   =  M 2 V 2 โมลก่อนผสม   =   โมลหลังผสม ก่อนเจือจาง หลังเจือจาง หลักการเจือจางสารละลาย
การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง 1.  คำนวณหาปริมาตรของสารละลายเข้มข้นที่ต้องแบ่งไปใช้เพื่อเตรียมสารละลายเจือจาง จาก โมลตัวละลาย  =   ความเข้มข้นละลาย  ( M 2 )  x ปริมาตรละลาย V 2   ( cm 3 ) 1000  cm 3   ปริมาตรสารละลาย V 1   ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย  ( M 1 ) 1000  cm 3   =  โมลตัวละลาย  x
โมลตัวละลาย  =   M 1 V 1   =  M 2 V 2 ความเข้มข้นละลาย  ( M 2 )  x ปริมาตรละลาย V 2   ( cm 3 ) 1000  cm 3   ปริมาตรสารละลาย V 1   ( cm 3 ) x  ความเข้มข้นละลาย  ( M 1 ) 1000  cm 3   โมลตัวละลาย  = ปริมาตรสารละลาย V 1   ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย  ( M 1 ) 1000  cm 3   =  โมลตัวละลาย  x
2.  ใช้ปิเปตต์ดูดสารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่คำนวณได้ถ่ายใส่ลงในขวดวัดปริมาตรที่กำหนด
3 3.  ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด  ปิดจุกขวดวัดปริมาตร  จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
ต้องการเตรียมสารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   ปริมาตร  100  cm 3  จากสารละลาย   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   จงหาว่าจะต้องใช้   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   กี่ cm 3  หาจำนวนโมลของ   CuSO 4   ในสารละลายเข้มข้น   0.1 mol / dm 3   100 cm 3 =  0.01 mol คำนวณหาว่าจะต้องใช้สารละลาย   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   กี่   cm 3   จึงจะมี   CuSO 4   0.01   mol =  20 cm 3 mol CuSO 4  = V  สารละลาย   =
ดังนั้น ในการเตรียมสารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   ปริมาตร  100  cm 3  จากสารละลาย   CuSO 4  0.5 mol /   dm 3 จะต้องใช้สารละลาย   CuSO 4   0.5 mol / dm 3   ปริมาตร  20  cm 3  แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร  100  cm 3
ต้องการเตรียมสารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   ปริมาตร  100  cm 3  จากสารละลาย   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   จงหาว่าจะต้องใช้   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   กี่ cm 3  (0.5 M)(V 1 ) =  (0.1 M)(100 cm 3 ) ใช้   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   20 cm 3 V 1   สารละลาย   =  20 cm 3   M 1 V 1   =  M 2 V 2
สารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   แบ่งมา  10 cm 3  แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร  100 cm 3  สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร หาจำนวนโมลของ   CuSO 4   ในสารละลายเข้มข้น   0.1 mol / dm 3   10 cm 3 เติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร   100 cm 3 =  0.001 mol ในสารละลาย   100 cm 3   มี   CuSO 4   0.001 mol =  0.01 mol / dm 3 mol CuSO 4  = ความเข้มข้น   CuSO 4  (aq)   =
สารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   แบ่งมา  10 cm 3  แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร  100 cm 3  สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร (0.1 M)(10 cm 3  ) =  (M 2 )(100 cm 3 ) สารละลายที่ได้มีความเข้มข้น   0.0.01 mol / dm 3 M 2   สารละลาย   =  0.01 M  M 1 V 1   =  M 2 V 2

Contenu connexe

Tendances

04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
สมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายสมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายพัน พัน
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5Piyanuch Plaon
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 

Tendances (20)

04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
สมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลายสมบัติบางประการของสารละลาย
สมบัติบางประการของสารละลาย
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 

Plus de Saipanya school

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionSaipanya school
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะSaipanya school
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด ASaipanya school
 

Plus de Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 

4 การเตรียมสารละลาย

  • 1.  
  • 3. สารละลายมาตรฐาน Standard Solution เป็นสารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน Primary Standard Solution สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ เป็นสารละลายที่เตรียมจากสารที่มี ความบริสุทธิ์สูง ใช้เทียบความเข้มข้นสารละลายอื่น Secondary Standard Solution สารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ เป็นสารละลายที่เตรียมจาก สารทั่วไป แล้วนำไปไทเทรตเทียบความเข้มข้นก่อนใช้งาน
  • 6. เตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์ 1. คำนวณหาปริมาณของตัวละลาย แล้วชั่งมวลตัวละลายตามที่คำนวณได้ 3. เทสารละลายจากข้อ 2 ลงในขวดวัดปริมาตรตามขนาดที่กำหนด 4 . เทน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ที่ใช้ละลายสารเล็กน้อยเพื่อล้างสารที่ตกค้างอยู่ในบีกเกอร์ แล้วเทลงในขวดวัดปริมาตร ทำซ้ำ 2 – 3 ครั้ง จนแน่ใจว่าไม่มีสารตกค้าง
  • 7. 4 5. ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด ปิดจุกขวดวัดปริมาตร จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
  • 8. How many grams of magnesium cyanide are needed to make 275 cm 3 of a 0.075 M solution? 0.075 M Mg(CN) 2 = = 0.075 mole Mg(CN) 2 1 dm 3 solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3 solution = mole Mg(CN) 2 275 cm 3 solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3 solution
  • 9. mol Mg(CN) 2 = = 0.0206 mol Mg(CN) 2 = 1.56 g Mg(CN) 2 275 cm 3 solution x 0.075 mol Mg(CN) 2 1000 cm 3 solution g Mg(CN) 2 = 0.0206 mol Mg(CN) 2 x 1 mol Mg(CN) 2 76 g Mg(CN) 2
  • 10. 2. การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง นำสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงไปทำเป็นสารละลายที่มีคามเข้มข้นน้อยกว่า
  • 11. จำนวนโมลของตัวละลายก่อนและหลังการเจือจางจะเท่ากัน โมลก่อนผสม = โมลหลังผสม M 1 V 1 = M 2 V 2 โมลก่อนผสม = โมลหลังผสม ก่อนเจือจาง หลังเจือจาง หลักการเจือจางสารละลาย
  • 12. การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง 1. คำนวณหาปริมาตรของสารละลายเข้มข้นที่ต้องแบ่งไปใช้เพื่อเตรียมสารละลายเจือจาง จาก โมลตัวละลาย = ความเข้มข้นละลาย ( M 2 ) x ปริมาตรละลาย V 2 ( cm 3 ) 1000 cm 3 ปริมาตรสารละลาย V 1 ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย ( M 1 ) 1000 cm 3 = โมลตัวละลาย x
  • 13. โมลตัวละลาย = M 1 V 1 = M 2 V 2 ความเข้มข้นละลาย ( M 2 ) x ปริมาตรละลาย V 2 ( cm 3 ) 1000 cm 3 ปริมาตรสารละลาย V 1 ( cm 3 ) x ความเข้มข้นละลาย ( M 1 ) 1000 cm 3 โมลตัวละลาย = ปริมาตรสารละลาย V 1 ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย ( M 1 ) 1000 cm 3 = โมลตัวละลาย x
  • 15. 3 3. ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด ปิดจุกขวดวัดปริมาตร จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
  • 16. ต้องการเตรียมสารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 ปริมาตร 100 cm 3 จากสารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 จงหาว่าจะต้องใช้ CuSO 4 0.5 mol / dm 3 กี่ cm 3 หาจำนวนโมลของ CuSO 4 ในสารละลายเข้มข้น 0.1 mol / dm 3 100 cm 3 = 0.01 mol คำนวณหาว่าจะต้องใช้สารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 กี่ cm 3 จึงจะมี CuSO 4 0.01 mol = 20 cm 3 mol CuSO 4 = V สารละลาย =
  • 17. ดังนั้น ในการเตรียมสารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 ปริมาตร 100 cm 3 จากสารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 จะต้องใช้สารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 ปริมาตร 20 cm 3 แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร 100 cm 3
  • 18. ต้องการเตรียมสารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 ปริมาตร 100 cm 3 จากสารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 จงหาว่าจะต้องใช้ CuSO 4 0.5 mol / dm 3 กี่ cm 3 (0.5 M)(V 1 ) = (0.1 M)(100 cm 3 ) ใช้ CuSO 4 0.5 mol / dm 3 20 cm 3 V 1 สารละลาย = 20 cm 3 M 1 V 1 = M 2 V 2
  • 19. สารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 แบ่งมา 10 cm 3 แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 100 cm 3 สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร หาจำนวนโมลของ CuSO 4 ในสารละลายเข้มข้น 0.1 mol / dm 3 10 cm 3 เติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 100 cm 3 = 0.001 mol ในสารละลาย 100 cm 3 มี CuSO 4 0.001 mol = 0.01 mol / dm 3 mol CuSO 4 = ความเข้มข้น CuSO 4 (aq) =
  • 20. สารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 แบ่งมา 10 cm 3 แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 100 cm 3 สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร (0.1 M)(10 cm 3 ) = (M 2 )(100 cm 3 ) สารละลายที่ได้มีความเข้มข้น 0.0.01 mol / dm 3 M 2 สารละลาย = 0.01 M M 1 V 1 = M 2 V 2