SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
Photoshop เป็นโปรแกรมซึ่งผลิตโดยบริษัท Adobeและได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องจน มาถึง CS3 หรือ Creative
Suite 3 เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างและตกแต่งภาพที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ก็เนื่องจากคุณสมบัติเด่นหลายๆประการ ไม่
ว่าจะเป็นความสามารถในการจัดการกับไฟล์สารพัดชนิดทั้งไฟล์รูปที่จะนาไปผ่านกระบวนการพิมพ์หรือว่ารูปที่จะ
นาไปใช้ในเว็บเพจ ความสามารถในการตกแต่งและแก้ไขภาพ และการสร้างเอฟเฟ็คต์พิเศษ ด้วยเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ
และมีความยืดหยุ่นสูง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า Photoshop เป็นโปรแกรมออกแบบกราฟิกที่มีผู้นิยมใช้อันดับ 1 ของโลก
ในปัจจุบัน Photoshop มีบทบาทและมีความสาคัญต่อวงการออกแบบอย่างมากโดยสามารถนา Photoshop ไปใช้
ออกแบบงานด้านต่างๆ ดังนี้
 ด้านสื่อสิ่งพิมพ์ไม่ว่าจะเป็น นิตยสาร วารสาร หนังสือ แผ่นพับและโบชัวร์
 ด้านงานโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์และงาน Presentation
 งานกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในฉลากสินค้าทั่วไป
 งานออกแบบกราฟิกบนเว็บไซต์
หน้าตาของโปรแกรม Photoshop
ใบความรู้ที่ 1
เรื่อง รู้จักกับ Photoshop
พื้นที่ทางานและส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม
Title Bar Menu Bar Option bar
Status bar
Title Bar แถบด้านบนสุดของวินโดว์แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ที่กาลังทางานด้วยในขณะนั้น ที่มุมอีกด้าน
จะมีไอคอนสาหับย่อ-ขยายโปรแกรมหรือไฟล์และปุ่มปิดโปรแกรม
Menu Bar หรือ แถบคาสั่ง จะประกอบด้วยเมนูคาสั่งต่างๆ ที่ใช้ทางานกับภาพ และปรับค่าต่างๆโดยเมนูเหล่านี้
จะมีเมนูย่อยให้เลือกใช้งานอีกมาก
Option Bar หรือ แถบกาหนดรูปแบบของเครื่องมือ ใช้ปรับแต่งการทางานของเครื่องมือต่างๆ สังเกตว่าค่าต่างๆ
บนออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกใช้ขณะนั้น
Tool Boox หรือ กล่องเครื่องมือ ประกอบด้วยเครื่องมือและกลุ่มต่างๆดังนี้
Move  ใช้เคลื่อนย้ายวัตถุในไฟล์เดียวกัน หรือคนละไฟล์
Marquee  สาหรับเลือกพื้นที่ที่จะใช้งาน หรือสร้าง Selection
Lasso  ใช้งานเหมือน Marquee แต่ใช้กับพื้นที่ที่มีรูปร่างอิสระ
Magic Wand  สร้าง Selection ตามตาแหน่งค่าสีที่คุณคลิกลงไป
Crop  ใช้สาหรับตัดภาพส่วนเกินที่ไม่ต้องการออก
Slice  ใช้สาหรับตัดแบ่งภาพออกเป็นส่วนย่อยๆ
Tool box
พาเล็ตต่างๆ
ใบความรู้ที่ 2
เรื่อง ส่วนประกอบและเครื่องมือต่างๆ
Healing Brush  ใช้ตกแต่งภาพส่วนที่เป็นตาหนิให้หายไป โดยการคัดลอกสีจากส่วนปกติไป
ทับส่วนที่ต้องการแก้ไข
Brush/Pencil  วาดและระบายสีภาพ มีรูปแบบและขนาดหัวแปรงต่างๆ
Clone Stamp  ใช้งานเหมือน Healing Brush เพียงแต่ไม่มีการรักษาแสงเงาและพื้นผิวของรูป
ส่วนที่ทาการแก้ไขเอาไว้
Eraser  ใช้ลบภาพส่วนที่ไม่ต้องการหรือลบฉากหลังออกจากวัตถุ
Gradient  ใช้ระบายสีหรือเติมสีให้กับภาพ
Blur/Sharpen  ใช้ปรับความเบลอหรือความคมชัดของภาพ
Dodge/Burn  ใช้เพิ่มแสงเงาหรือความสว่างให้กับภาพ
Type  สาหรับพิมพ์ข้อความในรูปแบบต่างๆ
Path Selection  ใช้ในการเคลื่อนย้ายตาแหน่งของเส้น Path ทั้งหมด
Pen  ใช้ในการสร้างเส้น Path ด้วยวิธีคลิกวางจุดแองเคอร์
Rectangle  ใช้สร้างรูปทรงต่างๆ ทั้งรูปทรงเรขาคณิตหรืออื่นๆ
Note  ใช้บันทึกหมายเหตุเพื่อเตือนความจา
Eyedropper  ใช้สาหรับดูดสีจากภาพที่มีอยู่แล้ว
Hand  ใช้เลื่อนดูภาพส่วนที่อยู่เลยขอบวินโดว์
Zoom  ใช้ซูมภาพให้เล็กลง (Zoom Out)หรือใหญ่ขึ้น(Zoom in) ตามความจาเป็นในการใช้งาน
___________________________________________
Status Bar หรือ แถบสถานะ แสดงเปอร์เซ็นต์การซูมภาพ, ข้อมูลเกี่ยวกับภาพและอธิบายการทางานของเครื่องมือที่เลือก
Palette พาเล็ต หมายถึง วินโดว์ย่อยๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียดสาหรับการทางานต่างๆ ใน Photoshop ประกอบด้วยพาเล็ตที่
สาคัญ ดังนี้
Navigator ใช้แสดงภาพตัวอย่างของไฟล์ที่กาลังแก้ไข โดยกรอบสีแดงจะบอกให้รู้ว่าขณะนั้นส่วนใดของภาพกาลังถูก
แสดงอยู่ในวินโดว์
Info ใช้แสดงข้อมูลขนาด, ตาแหน่งออบเจ็ค รวมถึงค่าสีในโมเดลต่างๆ
Color ใช้เลือกค่าสี RGB ตามที่ต้องการนาไปใช้
Swatchesใช้เลือกสีที่ต้องการได้ทันทีจากตัวอย่างสีที่โปรแกรมมีให้
Styles ใช้เลือกเอฟเฟ็คต์สาเร็จรูปที่ต้องการนามาแต่งภาพ
History ใช้เก็บบันทึกการทางานและย้อนการทางานที่ผ่านมา
Action บรรจุขั้นตอนการทางานที่บันทึกไว้ใช้ภายหลัง
Layer ใช้สาหรับควบคุมการทางานของเลเยอร์
Channel แสดงแชนแนลของแม่สีของไฟล์ที่กาลังแก้ไข
Path เป็นส่วนที่ใช้จัดเก็บเส้น Path ต่างๆที่เราสร้างขึ้น
เริ่มต้นทางานด้วยคาสั่งพื้นฐาน
 การสร้างไฟล์ใหม่
เมื่อต้องการสร้างไฟล์ใหม่ ให้เลือกคาสั่ง File New จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ New
 กาหนดชื่อไฟล์ใหม่ในช่อง Name
 ให้กาหนดขนาดกว้าง-ยาว ของรูปภาพ ที่ช่อง Width และ Height หรือ
อาจจะเลือกขนาดที่โปรแกรมตั้งค่าไว้ให้ โดยเลือกจากช่อง Preset
 กาหนดค่าความละเอียดของภาพในช่อง Resolution
 เลือกโหมดสีในช่อง Color Mode
 เลือกลักษณะของฉากหลัง
White ให้พื้นหลังมีสีขาว
Background Color ให้พื้นหลังมีสีเดียวกับสี Background ที่เลือกบนทูลบ็อกซ์
Transparent ให้พื้นหลังโปร่งใส
 คลิก OK
รู้จักกับค่าความละเอียดของภาพ (Resolution)
Resolution คือ ค่าความละเอียดของภาพๆหนึ่ง ซึ่งกาหนดเป็นจานวนเม็ดสี (Pixels) ต่อหนึ่งหน่วยความยาวของภาพ
ตัวอย่างเช่น หากภาพนั้นมีค่า Resolution = 150 pixels/inches แสดงว่าในพื้นที่ 1 ตารางนิ้วของภาพนั้นประกอบไปด้วยเม็ด
สีจานวน 150 เม็ดสี เป็นต้น ซึ่งภาพที่มีความละเอียด (Resolution) สูงกว่านั้นจะให้ความคมชัดที่ดีกว่า
เราจะกาหนดค่า Resolution อย่างไรดี
ในการทางานนั้นเราจะต้องอ้างอิงถึงค่า Resolution อยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งานประเภทต่างๆ ซึ่ง
หน่วยของค่า Resolution ที่ใช้กันมีอยู่2 แบบคือ
- pixels/inch  จานวนหรือปริมาณของเม็ดสี (Pixels) ในพื้นที่ 1 ตารางนิ้ว
- pixels/inch  จานวนหรือปริมาณของเม็ดสี (Pixels) ในพื้นที่ 1 ตาราง
เซนติเมตร
ใบความรู้ที่ 3
เรื่อง การใช้งานพื้นฐาน






ค่า Resolution ที่เรานิยมใช้คือ จานวนพิกเซลต่อนิ้วหรือ pixel/inches (ppi) โดยการทางานทั่วไปเรามักกาหนดค่า
Resolution อยู่ที่ 100 – 150 ppi แต่ในการทางานเกี่ยวกับเว็บไซต์นั้นเราต้องใช้งานที่มีความละเอียดน้อยจึงใช้ค่า Resolution
= 72 ppi และในการออกแบบสิ่งพิมพ์ที่ต้องการความคมชัดในการแสดงผลสูงเราจึงกาหนดค่า Resolution อยู่ที่ 300 – 350
ppi
อ้างอิงตาแหน่งด้วยไม้บรรทัด (Rulers)
การใช้งานไม้บรรทัดนั้นมีประโยชน์ในการทางานที่ต้องอาศัยการอ้างอิงตาแหน่งและการกาหนดระยะต่างๆจึงช่วยให้เรา
สามารถจัดวางวัตถุหรือรูปภาพได้แม่นยายิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วเรายังสามารถกาหนดหน่วยของไม้บรรทัดได้อีกด้วย
 คลิกเมนู View  Rulers เพื่อให้โปรแกรมแสดงไม้บรรทัดขึ้นมา
 จะสังเกตว่า ตอนนี้มีไม้บรรทัดปรากฏขึ้นด้านบนและด้านซ้ายของงานแล้ว
คลิกเมาส์ขวาที่ไม้บรรทัด จากนั้นเลือกหน่วยที่ต้องการ
เปิดไฟล์ภาพเพื่อนาไปใช้งาน
 คลิกเมนู FileOpen As
 เลือกตาแหน่งที่ใช้จัดเก็บไฟล์ภาพ
 ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ภาพ หรือ คลิก open
 จะได้ภาพที่เราต้องการนามาแก้ไขปรากฏอยู่ในโปรแกรม Photoshop
 ข้อควรระวังก่อนตกแต่งภาพ !!!
การแดรกเมาส์ลากภาพที่เปิดขึ้นมาลงในไฟล์งาน
 ที่ Toolbar คลิกปุ่ม เพื่อเลือกใช้เครื่องมือ Move Tool
 คลิกที่รูปภาพ จากนั้นแดรกเมาส์ลากภาพลงในไฟล์งานที่สร้างไว้เราก็จะสามารถนาภาพใส่ลงในขนาดงานใหม่ที่
สร้างขึ้นได้ตามต้องการ
นอกจากการเลื่อนภาพด้วยเครื่องมือ Move Tool แล้วเรายังสามารถใช้ปุ่มลูกศรบนคีย์บอร์ดเลื่อนภาพไปมาได้อีกด้วย
การย่อ – ขยายภาพ
หากภาพที่ใช้ในการทางานนั้นใหญ่หรือเล็กไป เราสามารถย่อ-ขยายภาพนั้นให้มีขนาดตามต้องการได้ซึ่งการย่อ-ขยายภาพ
สามารถทาได้ดังนี้
 คลิกเมนู Edit Free Transform จะสังเกตได้ว่าที่มุมของภาพมีรูปสี่เหลี่ยมเล็กๆเกิดขึ้น
 นาเมาส์ไปวางไว้ที่มุมด้านล่างขวาของภาพจนเกิดเป็นรูปลูกศร
 แดรกเมาส์ย่อภาพลงตามขนาดที่ต้องการ
 กดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ดเพื่อตกลงการทางาน เพียงเท่านี้เราก็จะสามารถย่อภาพได้เรียบร้อยแล้ว
“ก็อปปี้ภาพต้นฉบับเก็บไว้สักหน่อย”
ภาพต้นฉบับถือว่าสาคัญที่สุดในโลก
การคัดลอกภาพ
 คลิกปุ่ม จากนั้นกดปุ่ม Alt พร้อมทั้งแดรกเมาส์ ลากภาพที่ต้องการก็อปปี้ ออกมา หากต้องการให้ภาพก็อปปี้
เลื่อนออกมาในแนวเส้นตรงเดียวกันก็ให้กดปุ่ม Shit ด้วย
 สังเกตผลลัพธ์ เพียงเท่านี้เราก็สามารถก็อปปี้ ภาพได้ตามต้องการ
หากเราต้องการลบภาพก็สามารถทาได้โดยการแดรกเมาส์ลากเลเยอร์ภาพลงบนปุ่ม
การบันทึกไฟล์ภาพ
ขั้นตอนในการบันทึกไฟล์ภาพนั้นถือว่าเป็นขั้นตอนสาคัญมาก เพราะจะสามารถนางานกลับมาใช้เพื่อแก้ไขภายหลังได้
หรือบันทึกเพื่อส่งไฟล์ไปทางานร่วมกับโปรแกรมอื่น ส่วนไฟล์ของ Photoshop คือ ไฟล์.PSD (Photoshop Document) ซึ่ง
สามารถบันทึกภาพแบบแยกเลเยอร์ให้เป็นส่วนๆ
การบันทึกไฟล์ที่สร้างใหม่มีวิธีการดังนี้
 เลือกคาสั่ง File Save As
 เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการจัดเก็บในช่อง Save in
 จากนั้นตั้งชื่อไฟล์ในช่อง File name
 เลือกรูปแบบหรือนามสกุลไฟล์ในช่อง Format
 เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Save
ในการเซฟงานนั้นให้คุณคลิกเมนู File  Save As หากคุณต้องการเซฟเพื่อให้ได้ไฟล์งานใหม่ และคลิกเมนู File 
Save เมื่อคุณต้องการให้เซฟทับลงในไฟล์งานเดิม




รู้จักกับคีย์ลัด (Shortcut)
การใช้งานคีย์ลัดในแต่ละครั้งนั้นผู้อ่านจะต้องทาการเปลี่ยนภาษาใน windows ให้เป็นภาษาอังกฤษก่อนทุกครั้ง
การสร้างงานใหม่ <Ctrl+N> 
การเปิดงาน <Ctrl+O> 
การปิดงาน <Ctrl+W>
ออกจากโปรแกรม <Ctrl+Q>
การบันทึกลงในไฟล์งานเดิม <Ctrl+S> 
ยกเลิกการทางานครั้ง(Undo) <Ctrl+Alt+Z> 
การตัด (Cut) <Ctrl+X> 
การคัดลอก (Copy) <Ctrl+C> 
วางรูปแบบที่คัดลอก (Paste) <Ctrl+V> 
ย่อ – ขยาย <Ctrl+T> 
การเลือกพื้นที่ทั้งหมด <Ctrl+A> 
กลับด้าน Selection <Ctrl+Shift+I> 
ซ่อน Selection <Ctrl+H>
ยกเลิก Selection <Ctrl+D> 
เทสี Foreground <Alt+Delete> หรือ <Alt+Backspace> 
เทสี Background <Ctrl+Delete> หรือ <Ctrl+Backspace> 
ใส่ Filter เดิมอีกครั้ง <Ctrl+F>
หมายเหตุ Rating ความบ่อยในการใช้งาน
 เลเยอร์ (Layer) ใน Photoshop
เลเยอร์ (Layer) เปรียบเสมือนแผ่นใสที่วางซ้อนกันเป็นชั้นๆ โดยแต่ละชั้นจะใช้เป็นที่วางภาพที่เอามาจัดการตามคาสั่ง
ต่างๆของ Photoshop และแสดงผลการทางานของคาสั่งต่างๆบนแผ่นใสนี้ ทับซ้อนขึ้นมาเรื่อยๆ โดยเปรียบเสมือนแต่
ละแผ่นใสเป็นแต่ละเลเยอร์ บริเวณของเลเยอร์ที่ไม่มีรูปจะเห็นทะลุถึงเลเยอร์ที่อยู่ข้างล่างในการทางานนั้นสามารถ
ซ่อนหรือแสดงผลของภาพในเลเยอร์ สับเปลี่ยนลาดับ เชื่อมหรือล็อคเลเยอร์เข้าด้วยกันได้นอกจากนี้หากในการ
ทางานมีจานวนเลเยอร์มากเกินไปยังสามารถรวมเลเยอร์ที่ต้องการเข้าด้วยกันได้การทางานด้วยโปรแกรม Photoshop
นั้น การทางานด้วยเลเยอร์เป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่ง ที่จะช่วยให้สามารถสร้างงานได้ง่ายขึ้นและเป็นขั้นตอน เนื่องจาก
แต่ละเลเยอร์ทางานเป็นอิสระต่อกัน มีคุณสมบัติต่างๆ เป็นของตนเอง นอกจากนั้นแล้วยังมีประโยชน์อย่างมากในการ
กลับมาแก้ไขส่วนต่าง ๆ ของชิ้นงานโดยไม่กระทบกับส่วนอื่นๆ
 รู้จักกับพาเล็ต Layers และการใช้งานเลเยอร์
 เลเยอร์ Background
เมื่อเราสร้างไฟล์ใหม่หรือเปิดไฟล์ภาพขึ้นมา โปรแกรม Photoshop จะสร้างเลเยอร์ขึ้นมา 1 เลเยอร์ทุกครั้ง และให้ชื่อเลเยอร์
นั้นว่า “Background” เลเยอร์ Background จะอยู่ลาดับล่างสุด และถูกล็อคไว้ไม่ให้เคลื่อนย้าย แต่บางครั้งการแต่งภาพ หรือ
สร้างเอฟเฟ็กต์ที่ซับซ้อน คุณอาจต้องการให้ฉากหลังกลายเป็นพื้นแบบโปร่งใส ซึ่งทาได้โดย เปลี่ยนเลเยอร์ Background
เป็นเลเยอร์ธรรมดา โดยการดับเบิลคลิกที่เลเยอร์ Background จากนั้นหน้าต่าง New Layer จะปรากฏขึ้นมา ที่ช่อง Name
เราสามารถเปลี่ยนชื่อ Layer ได้ทันที
 การปรับค่าความโปร่งใส (Opacity) ของเลเยอร์
เรานิยมใช้การปรับค่าความโปร่งใส (Opacity) ของเลเยอร์ในหลายๆกรณีด้วยกัน เช่น เพื่อต้องการมองภาพที่อยู่ในเลเยอร์
ต่ากว่าหรือเพื่อปรับเปลี่ยนสีภาพให้ดูอ่อนลง ซึ่งการปรับค่า Opacity ที่พาเล็ตเลเยอร์การเลือกใช้งานเลเยอร์ (Ative Layer)
ในการทางานนั้นอาจจะมีเลเยอร์อยู่หลายเลเยอร์ แต่เราจะสามารถเลือกทางานได้เพียงครั้งละ 1 เลเยอร์เท่านั้นเราเรียกการ
เลือกการทางานที่เลเยอร์นั้นว่า การ Active Layer
ใบความรู้ที่ 4
เรื่อง พื้นฐานการใช้เลเยอร์
นอกจากการเลือกใช้งานเลเยอร์ด้วยการคลิกเมาส์บนเลเยอร์ที่ต้องการแล้ว เรายังสามารถใช้การคลิกเมาส์ขวา
เหนือภาพแล้วเลือกชื่อเลเยอร์ที่เราต้องการเลือกใช้งานได้อีกด้วย
 การสร้างเลเยอร์ใหม่/การลบเลเยอร์
หากภาพที่เราสร้างมีความซับซ้อน หรือมีออบเจ็คต่างๆ มากมาย ควรวางออบเจ็คแต่ละชิ้นไว้คนละเลเยอร์กันเพื่อง่ายต่อ
การแก้ไข
 การสร้างเลเยอร์ใหม่ คลิกปุ่ม ที่อยู่ด้านล่างของพาเล็ต Layers เพื่อสร้างเลเยอร์ใหม่ หรือคลิกปุ่ม บนพา
เล็ตเลเยอร์แล้วเลือกคาสั่ง New Layer
 การลบเลเยอร์ คลิกลากเลเยอร์ที่ต้องการลบไปทับกับปุ่ม ที่ด้านล่างของพาเล็ต หรือคลิกปุ่ม แล้วเลือก
Delete Layer จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ขึ้นมา ให้คลิก Yes เพื่อยืนยันการลบ
 การคัดลอกเลเยอร์ในไฟล์เดียวกัน
วิธีที่ 1 คลิกลากเลเยอร์ที่ต้องการไปทับกับปุ่ม ที่ด้านล่างของพาเล็ต โปรแกรมจะสร้างเลเยอร์ใหม่ซ้อมขึ้นมา โดยใช้
ชื่อเดิมแต่มีคาว่า copy ต่อท้าย
วิธีที่ 2 คลิกเลเยอร์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม บนพาเล็ต แล้วเลือกคาสั่ง Duplicate Layer
 กาหนดสีเลเยอร์
การสร้างเลเยอร์ใหม่โดยคลิกปุ่ม โปรแกรมจะกาหนดชื่อให้อัตโนมัติ แต่เพื่อง่ายในการจา คุณสามารถเปลี่ยน
ชื่อ และกาหนดสีให้แต่ละเลเยอร์ โดยเลือกใช้คาสั่ง Layer>Layer Properties จากนั้นก็ให้ใส่ชื่อ หรือ กาหนดสีให้กับเลเยอร์
 การซ่อนและแสดงเลเยอร์
ใช้เมาส์คลิกไอคอนรูปดวงตาหน้าเลเยอร์ที่ต้องการซ่อน รูปดวงตาจะหายไปและออบเจ็คของเลเยอร์นั้นก็จะไม่ปรากฏบน
รูปภาพ เมื่อต้องการแสดงเลเยอร์นั้นใหม่ ให้คลิกตรงช่องนั้นอีกครั้ง ไอคอนรูปดวงตาก็จะปรากฏออบเจ็คของเลเยอร์นั้นก็
จะปรากฏบนภาพเช่นกัน
 การเปลี่ยนลาดับของเลเยอร์
ใช้เมาส์คลิกลากที่ชื่อหรือที่ภาพตัวอย่างของเลเยอร์แล้วนาไปวางในลาดับที่ต้องการ ออบเจ็คของเลเยอร์ที่อยู่ด้านบนของพา
เล็ต Layers ก็จะบังออบเจ็คของเลเยอร์ล่าง
 การกาหนดและเลือกสี เครื่องมือที่ใช้เลือกสี
พาเล็ต Color สามารถใช้เลือกได้ทั้งสี Foreground และ สี Background โดยให้เลื่อนสไลเดอร์ของแม่สีแต่ละสีเพื่อสร้างสีที่
ต้องการ นอกจากนั้นยังสามารถเลือกโมเดลสีได้จากเมนูของพาเล็ต ซึ่งทาให้พาเล็ตแสดงองค์ประกอบสีในโมเดลนั้น
พาเล็ต Swatches ใช้สาหรับเก็บสีที่เลือกไว้เช่น สีที่ต้องใช้บ่อยๆ เพื่อความสะดวก และสามารถคลิกเลือกสีได้ทันทีจากพา
เล็ตนี้ โดยไม่ต้องกาหนดค่าสีใหม่
Color Picker เมื่อคลิกสี Foreground หรือ สี Background บน Toolbox เพื่อเลือกสีใหม่ จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Color
Picker สาหรับใช้เลือกสีที่ต้องการ
 รู้จักกับสี foreground และสี background
ในโปรแกรม Photoshop นั้นมีความสามารถในการใช้งานสีได้ถึง 2 สีพร้อมๆกัน โดยเราสามารถคลิกเลือกสีเก็บไว้เพื่อ
ความสะดวกในการสลับใช้งานซึ่งเราเรียกสีแรกที่ปรากฏในการทางานต่างๆ เช่น การระบายสีว่าสีโฟร์กราวน์ (Foreground
Color) และสีที่ 2 ที่เราเก็บไว้ใช้ว่าสีแบ็คกราวน์ (Background)
เราสามารถคลิกที่ไอคอน เพื่อสลับสีโฟว์กราวน์กับสีแบ็คกราวน์และคลิกไอคอน เพื่อเซตค่าสีให้เป็นค่าเริ่มต้น
โดยโปรแกรมจะเปลี่ยนสีโฟร์กราวน์ให้เป็นสีดาและเปลี่ยนสีแบ็คกราวน์ให้เป็นสีขาวแบบอัติโนมัติ
 การเลือกสีจาก Color Picker มีวิธีดังนี้
1.1 คลิกที่สีโฟว์กราวน์หรือแบ็คกราวน์ที่ต้องการเปลี่ยนสี
1.2 หน้าต่าง Color Picker จะปรากฏขึ้น จากนั้นคลิกเลือกสีบริเวณที่ต้องการ
1.3 คลิกปุ่ม OK เพื่อตกลงการทางาน
 การเทสีด้วยคีย์ลัด
1. กดปุ่ม <Alt+Delete> บนคีย์บอร์ดเพื่อเทสีโฟร์กราวน์ (Foreground)
2. กดปุ่ม <Ctrl+Delete> บนคีย์บอร์ดเพื่อเทสีแบ็คกราวน์ (Background)
ใบความรู้ที่ 5
เรื่อง การใช้สีใน Photoshop
 การเทสีภาพด้วย Paint Bucket Tool มีวิธีดังนี้
2.1 เปิดภาพที่ต้องการขึ้นมาด้วยคาสั่ง File > Open
2.2 คลิกปุ่ม ค้างไว้จากนั้นเลือกเครื่องมือ
2.3 คลิกเลือกสีที่ต้องการ
2.4 คลิกเทสีลงในบริเวณที่ต้องการ
 เทสีภาพแบบไล่โทนสีด้วย Gradient Tool ซึ่งเป็นการไล่สีในรูปแบบปกติจะเป็นการไล่สีจากสีโฟว์กราวน์
ไปยังสีแบ็คกราวน์ โดยเราสามารถกาหนดลักษณะของการไล่โทนสีและทิศทางได้
การเลือกพื้นที่ในการทางาน (Selection) คือ การกาหนดขอบเขตพื้นที่เพื่อที่จะกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งลงบนภาพ เช่น
แก้ไข ปรับแต่งและวาดภาพ ฯลฯ ทาให้เราสามารถแก้ไขภาพได้ในบริเวณที่เราเลือกไว้
 การเลือกพื้นที่ทางานด้วยเครื่องมือ Marquee Tool ประกอบด้วยเครื่องมือย่อย คือ
A. Rectangular Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selection แบบสี่เหลี่ยมด้วยวิธีคลิกลากเมาส์
B. Elliptical Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selesction แบบวงกลมและวงรีด้วยวิธีคลิกลากเมาส์
C. Single Row Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selection แบบเส้นตรงในแนวนอน 1 pixel ตรงตาแหน่งที่คลิกเมาส์
D. Single Column Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selection แบบเส้นตรงในแนวตั้ง 1 pixel ตรงตาแหน่งที่คลิกเมาส์
 การเลือกพื้นที่ทางานด้วยเครื่องมือ Lasso Tool ประกอบด้วยเครื่องมือย่อย คือ
A. Lasso Tool ใช้สร้าง Selection แบบอิสระด้วยวิธีคลิกลากเมาส์รอบบริเวณที่ต้องการ
B. Polygonal Lasso Tool ใช้สร้าง Selection รูปหลายเหลี่ยม เหมาะกับการเลือกออบเจ็คที่มีขอบตรง เช่น ภาพอาคาร
รถไฟ หนังสือ ฯลฯ โดยใช้เมาส์คลิกกาหนดจุดเริ่มต้นของ Selection จากนั้นเลื่อนเมาส์ไปยังตาแหน่งถัดไป จะมีเส้นตรง
ยืดออกมาจากจุดแรก และเชื่อมต่ออยู่กับเมาส์เส้นนี้ช่วยให้กะระยะง่ายขึ้น เมื่อได้ตาแหน่งที่ต้องการแล้วให้คลิกเพื่อสร้าง
จุดต่อไปเรื่อยๆ จนครบรอบรูป
C. Magnetic Lasso Tool ใช้สร้าง Selection ตามขอบรอบวัตถุโดยโปรแกรมจะกาหนดจุดยึคให้อัตโนมัติเรียกว่า “จุดแอง
เคอร์”(Anchor) เหมาะกับออบเจ็คที่มีสีสันตัดกับฉากหลังอย่างชัดเจน แต่ถ้าสีของออบเจ็ค และสีฉากหลังไม่ตัดกันชัดเจน
คุณก็อาจคลิกวางจุด anchor ด้วยตัวเองได้
 การใช้เครื่องมือ Magic Wand
ใช้สร้าง Selection ตามค่าสีของตาแหน่งที่คุณคลิกเมาส์ รวมทั้งบริเวณโดยรอบที่มีสีใกล้เคียงกัน คุณสามารถ
กาหนดความแตกต่างของระดับสีของตาแหน่งที่คุณเลือก และสีบริเวณใกล้เคียงได้จากออปชั่น Tolerance (โดยถ้าค่า
Tolerance ยิ่งมากพื้นที่ที่ถูกเลือกก็จะเพิ่มขึ้น)
 การสร้าง Selection ในโหมด Quick Mask
ที่ผ่านมาเราสร้าง Selection ในโหมด Standard โดยให้สังเกตจากปุ่ม Edit in Standard Mode ถูกเลือกไว้สาหรับการสร้าง
Selection ในโหมด Quick Mask จะเป็นการสร้าง Mask หรือหน้ากาก บังส่วนที่ไม่ต้องการเลือกหรือส่วนที่ไม่ต้องการสร้าง
Selection ไว้โดยระบายสีด้วย Brush Tool
วิธีการสร้าง Selection ในโหมด Quick Mask
 เปิดไฟล์ภาพ
 คลิกปุ่ม Edit in Quick Mask Mode
 คลิกเลือกเครื่องมือ กาหนดขนาดหัวแปรงตามต้องการ นามาระบายสีบนรูปภาพ
 คลิกปุ่ม Edit in Standard Mode สังเกตผลลัพธ์โปรแกรมจะสร้าง Selection บริเวณรอบนอกของพื้นที่ที่เราได้
ระบายสีไว้
ใบความรู้ที่ 7
เรื่อง การสร้าง Selection
 การปรับเปลี่ยนขนาดของ Selection มีวิธีดังนี้
 เลือกเมนู Select > Transform Selection เพื่อปรับเปลี่ยนขนาดของ Selection
 สังเกตว่าจะปรากฏจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆขึ้นที่มุมของ Selection ทั้งหมด 8 จุด
 นาเมาส์ไปวางไว้ที่มุมของ Selection สังเกตว่าจะมีลูกศรเกิดขึ้น
 กดปุ่ม <Shift> พร้อมกับแดรกเมาส์ขยาย Selection
 การสลับ Selection
เป็นการเปลี่ยนส่วนที่ถูกเลือกไว้ให้กลายเป็นส่วนที่ไม่ถูกเลือก และเปลี่ยนส่วนที่ไม่ถูกต้องให้กลายเป็นส่วนที่ถูกเลือก โดย
ใช้คาสั่ง Select  Inverse
 การยกเลิก Selection
เมื่อต้องการยกเลิก Selection ให้เลือกเมนู Select > Deselect หรือ <Ctrl+D>
 สร้างเอฟเฟ็กต์ด้วย Layer Style
Layer Style คือการสร้างเอฟเฟ็กต์พิเศษให้กับเลเยอร์ เช่น สร้างเงาแบบตกลงพื้น การทาให้ออบเจ็คนูนขึ้น หรือ
ใส่ลวดลายพื้นผิวให้ออบเจ็ค เป็นต้น สามารถยกเลิก เปลี่ยนแปลง แก้ไขได้ตลอดเวลา และยังสามารถซ่อนเอ็ฟเฟ็กต์ได้ด้วย
สาหรับเอฟเฟ็กต์จะประกอบด้วย
 Drop Shadow เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพ โดยเราสามารถกาหนดทิศทางและปรับระดับความเข้ม
ของเงาได้(ทาให้ตัวอักษรดูเหมือนลอยขึ้น)
 Inner Shadow เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพเช่นเดียวกับ Drop Shadow แต่แตกต่างกันตรงที่เป็นการ
ใส่เงาแบบภายในวัตถุ(ทาให้ตัวอักษรดูเหมือนยุบลง)
 Outer Glow เป็นการใส่สีแบบฟุ้งกระจายภายนอกวัตถุ ทาให้ตัวอักษรดูมีลักษณะเรืองแสงออกมา
 Inner Glow มีลักษณะเช่นเดียวกันกับ Outer Glow แต่เป็นการใส่สีแบบฟุ้งกระจายภายในวัตถุ
 Bevel and Emboss เป็นการทาให้ภาพดูมีลักษณะนูนในหลายๆรูปแบบ โดยมีทั้งแบบนูนขึ้นและยุบลง
- Contour ปรับลักษณะการนูนของขอบออบเจ็คให้เป็นแบบต่างๆ
- Texture ใช้เติมลวดลายพื้นผิวให้ออบเจ็ค
 Stain เป็นการใส่สีเพิ่มลงไปให้กับตัวอักษรโดยมีลักษณะเป็นเหลือบเงาและมีหลายรูปแบบไว้ให้ปรับแต่งกัน
 Color Overlay เป็นการเติมสีใหม่ทับลงไปในตัวอักษร เมื่อเรายกเลิกการใช้เอฟเฟ็กต์นี้แล้วสีเก่าจะยังคงอยู่
 Gradient Overlay เป็นการเติมสีให้ตัวอักษรในรูปแบบการไล่สีซึ่งเราสามารถกาหนดลักษณะได้
 Pattern Overlay เป็นการใส่ลวดลายแบบต่างๆลงไปในภาพ
 Stroke เป็นการใส่เส้นขอบล้อมรอบให้กับตัวอักษรหรือภาพเราสามารถกาหนดสีและความหนาของเส้นขอบได้
เลือกเอฟเฟ็กต์
ปรับแต่งคุณสมบัติ
ของเอฟเฟ็กต์
ใบความรู้ที่ 9
เรื่อง สร้างเอฟเฟ็กต์ด้วย Layer Style
 รู้จักกับเครื่องมือ Shape Tool
เมื่อเราสร้างรูปร่างด้วยเครื่องมือ Shape Tool โปรแกรมจะทาการสร้างเลเยอร์พิเศษขึ้นมา 1 เลเยอร์ โดยเราเรียกเล
เยอร์นี้ว่า “Shape Layer”
ภายใน Shape Layer นี้จะบรรจุรูปร่างเวคเตอร์ที่เราได้สร้างขึ้น โดยเราสามารถปรับเปลี่ยนและแก้ไขภาพได้
ตลอดเวลา ซึ่งเครื่องมือสร้างรูปร่าง Shape Tool นั้นมีทั้งหมด 6 รูปแบบคือ
A. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบสี่เหลี่ยมมุมฉาก
B. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบสี่เหลี่ยมมุมโค้ง
C. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบวงกลมและวงรี
D. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบหลายเหลี่ยม
E. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบเส้นตรง
F. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบภาพสาเร็จ
 การใช้งานรูปร่างสาเร็จรูป (Custom Shape Tool)
โปรแกรม Photoshop ได้แบ่งรูปร่างสาเร็จรูปออกเป็นหมวดหมู่เพื่อเพิ่มความสะดวกในการสร้างสรรค์ผลงาน
โดยแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆเช่น สัตว์,ธรรมชาติ,ดนตรี,และสัญลักษณ์ เป็นต้น
ใบความรู้ที่ 8
เรื่อง รู้จักกับเครื่องมือ Shape Tool
 การเปลี่ยนขนาดของ Shape Tool คือ
 คลิกที่เมนู Edit > Free Transform Path
 จะเกิดสี่เหลี่ยมๆเล็กตามมุม สามารถหดหรือขยายได้ตามต้องการ
 เสร็จคลิกที่เครื่องหมายถูกบนออบชั่นบาร์หรือกดEnter
 การเปลี่ยนสี Shape Tool คือ
 ดับเบิลคลิก สีที่ปรากฏอยู่บนเลเยอร์ของ Shape นั้น
 สามารถคลิกเลือกสีที่ต้องการจาก Color picker ได้ทันที จากนั้น กด OK
เราสามารถเลือกใช้งานรูปร่างแบบสาเร็จรูป (Custom Shape Tool) ได้โดยวิธีการ
ดังต่อไปนี้
 คลิกเลือกเครื่องมือ จากนั้นคลิกปุ่ม
 คลิกปุ่ม จากนั้นเลือกหมวดหมู่ที่ต้องการ
 คลิกปุ่ม Ok เพื่อเลือกใช้หมวดหมูนั้น หรือ กด Append เพื่อให้หมวดหมู่เดิม
ยังอยู่
 คลิกเลือกรูปร่าง หลักจากนั้นทดลองแดรกเมาส์สร้าง Shape ก็จะได้รูปร่าง
สาเร็จรูปตามต้องการแล้ว
หากต้องการให้โปรแกรมแสดงรูปร่างสาเร็จรูปทั้งหมดเราก็สามารถทา
ได้ดังนี้ คลิกปุ่ม จากนั้นเลือกคาสั่ง All


 การใช้งานฟิลเตอร์
ฟิลเตอร์ (Filter) คือ การตกแต่งภาพด้วยเทคนิคพิเศษ โดยเราสามารถปรับเปลี่ยนภาพธรรมดาให้ดูแปลกใหม่ขึ้น
กลายเป็นภาพที่กล้องราคาแพงแค่ไหนก็ไม่สามารถทาได้ซึ่งลักษณะของฟิลเตอร์ใน Photoshop นั้นเราสามารถแบ่ง
ออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
1. ฟิลเตอร์ (Filter) คาสั่งการตกแต่งภาพของโปรแกรม Photoshop ที่มีอยู่แล้วเมื่อเราทาการติดตั้ง
โปรแกรม
2. ปลั๊กอิน (Plug-In) เป็นการติดตั้งคาสั่งพิเศษนอกเหนือไปจากฟิลเตอร์ที่มีอยู่ในโปรแกรมเพิ่มเข้ามา เพื่อใช้
ในการตกแต่งภาพ
3. เลเยอร์สไตล์(Layer Style) เป็นการตกแต่งชิ้นงานภายในเลเยอร์แต่ละเลเยอร์ ถึงจะมีรูปแบบให้เลือก
น้อยแต่เราสามารถปรับเปลี่ยนใหม่ได้ตลอดเวลา
 ลักษณะกลุ่มการทางานของฟิลเตอร์ (Filter)
Filter และ Plug-In เสริมต่างๆ เป็นการรวบรวมลักษณะของการตกแต่งภาพแบบพิเศษที่เราไม่สามารถสร้างขึ้นได้
โดยง่าย เพื่อให้เราสามารถสร้างสรรค์ผลงานให้สวยงามเหนือจินตนาการด้วยการปรับแต่งข้อกาหนดต่างๆที่ระบุไว้ใน
Filter
หากเรากาหนดค่าของข้อกาหนดแตกต่างกันเราก็จะสามารถปรับแต่งภาพให้มีลักษณะแตกต่างกันได้อีกด้วย
ซึ่งผู้เขียนได้แบ่งกลุ่มการทางานของ Filter ออกเป็นลักษณะต่างๆดังนี้
1. กลุ่มการปรับแต่งภาพ คือ กลุ่มฟิลเตอร์ที่จาเป็นต้องมีภาพต้นฉบับแล้วจึงจะสามารถทาการปรับแต่งภาพได้
เช่น Artistic, Blur, Brush Strokes, Sketch ฯลฯ
2. กลุ่มบิดเบือนรูปภาพ คือ กลุ่มฟิลเตอร์ที่จาเป็นต้องมีภาพต้นฉบับแล้วจึงสามารถทาการบิดเบือนรูปภาพได้
เช่น Distort และ Plug-In ต่างๆ
3. กลุ่มการสร้างภาพ คือ กลุ่มฟิลเตอร์ที่ไม่จาเป็นต้องมีภาพต้นฉบับ แต่สามารถทางานกับภาพที่สร้างขึ้นมา
ใหม่ได้เช่น Noise, Render และ Plug-In ต่างๆ
ใบความรู้ที่ 10
เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
 การสร้างข้อความแบบ Type Layer
เป็นการสร้างข้อความแบบปกติเหมือนใน Word โดยข้อความที่พิมพ์จะถูกเก็บไว้บนเลเยอร์พิเศษที่เรียกว่า Type Layer ซึ่ง
สามารถกลับมาแก้ไขตัวสะกดหรือจัดรูปแบบใหม่ได้วิธีการสร้างข้อความ มีดังนี้
 คลิกที่เครื่องมือ Type แล้วเลือกเครื่องมือ Horizontal Type (แนวนอน) หรือ Vertical Type (แนวตั้ง)
 คลิกเมาส์ลงบนบริเวณที่ต้องการสร้างข้อความ
 กาหนดออปชั่นต่างๆให้ตัวอักษร
ใช้สาหรับเปลี่ยนทิศทางของข้อความจาแนวนอนเป็นแนวตั้งหรือแนวตั้งเป็นแนวนอน
สาหรับกาหนดฟอนต์(Font) หรือรูปแบบของตัวอัษร
กาหนดขนาดของตัวอักษร ซึ่งคุณสามารถระบุค่าที่ต้องการลงไปได้
กาหนดลักษณะการจัดย่อหน้า คือ จัดให้ชิดซ้าย,จัดให้อยู่กึ่งกลาง หรือจัดชิดขวา
สาหรับกาหนดสีให้กับตัวอักษร โดยคลิกในช่องสี โปรแกรมจะเปิดไดอะล็อกบ็อกซ์ Color Picker
เพื่อให้คุณเลือกสีที่ต้องการ
สาหรับปรับแต่งตัวอักษรโค้งแบบต่างๆ
สาหรับคลิกเพื่อยกเลิกข้อความหรือตัวอักษรที่พิมพ์ลงไปแล้ว
สาหรับคลิกเพื่อยืนยันข้อความหรือตัวอักษรที่พิมพ์
 พิมพ์ข้อความลงไป ระหว่างพิมพ์คุณสามารถเปลี่ยนแปลงออปชั่นต่างๆบนออปชั่นบาร์ได้ซึ่งก็จะส่งผลต่อ
ข้อความที่พิมพ์ไป หากต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ให้กด Enter
 เมื่อต้องการยืนยันข้อความที่พิมพ์ให้คลิกปุ่ม บนออปชั่นบาร์ถ้าไม่ต้องการข้อความนั้นให้กดคีย์ESC
หรือคลิกปุ่ม บนออปชั่นบาร์
ใบความรู้ที่ 6
เรื่อง การสร้างและปรับแต่งข้อความ
 การแก้ไขและปรับแต่งข้อความ
 คลิกเลือกเครื่องมือ Type
 เลือกการแก้ไขปรับแต่งข้อความโดย
 หากต้องการปรับทั้งเลเยอร์ ให้คลิกเลือกเลเยอร์ของข้อความนั้นบนพาเล็ต Layers
 หากต้องการปรับข้อความบางส่วน ให้คลิกลากเมาส์เป็นแถบสีดา ครอบคลุมข้อความ
 เลือกปรับข้อความตามต้องการ โดยการเปลี่ยนฟอนต์,สีหรือคุณสมบัติอื่นของตัวอักษรบนออปชั่นบาร์
 หากต้องการแก้ไขหรือพิมพ์ข้อความเพิ่ม ให้คลิกเมาส์เพื่อวางเคอร์เซอร์ตรงตาแหน่งที่ต้องการ จากนั้นพิมพ์
ข้อความลงไป
 คลิกปุ่ม บนออปชั่นบาร์เพื่อจบการแก้ไข
 เพิ่มลูกเล่นให้กับข้อความโดย Style Palette
Style Palette เป็นเอฟเฟ็กต์แบบสาเร็จรูปคือสามารถเรียกใช้งานได้ทันที โดยคลิกที่แท็ป Palette Style แล้วคลิกเลือกใช้
ได้ทันที
 การบิดข้อความเป็นรูปร่างต่างๆ
คลิกปุ่ม Warp Text บนออปชั่นบาร์ จะได้ไดอะล็อกบ็อกซ์ Warp Text ขึ้นมา คลิกปุ่ม
ที่ช่อง Style เพื่อเลือกรูปทรงที่ต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถปรับแต่งรูปทรงนั้นได้จากออปชั่นเพิ่มเติม คือ
 Horizontal,Vertical กาหนดให้บิดตัวอักษรในแนวนอนหรือแนวตั้ง
 Bend กาหนดปริมาณและด้านของตัวอักษรที่จะถูกบิด
 Horizontal Distortion กาหนดให้บิดเบือนสัดส่วนในแนวนอน
 Vertical Distortion กาหนดให้บิดเบือนสัดส่วนในแนวตั้ง
เลือกรูปแบบในการบิดข้อความ
ออปชั่นสาหรับปรับแต่งการบิดข้อความ

Contenu connexe

Tendances

คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cssamnaknit
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
แบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshopแบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshopwattaree
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
PhotoshopBua Rom
 
ใบความรู้ Type tool ใน photoshop
ใบความรู้ Type tool ใน photoshopใบความรู้ Type tool ใน photoshop
ใบความรู้ Type tool ใน photoshopObob Kukkong
 
Photoshop cs2
Photoshop  cs2Photoshop  cs2
Photoshop cs2krujew
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopองประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopอ้าย ปุ้ย
 
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorรู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorQoo Kratai
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cssurachet179
 
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6  การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6 Nattapong Manlee
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 

Tendances (20)

Adobe Indesign
Adobe IndesignAdobe Indesign
Adobe Indesign
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
แบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshopแบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshop
 
Caption5
Caption5Caption5
Caption5
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
2.3
2.32.3
2.3
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
ใบความรู้ Type tool ใน photoshop
ใบความรู้ Type tool ใน photoshopใบความรู้ Type tool ใน photoshop
ใบความรู้ Type tool ใน photoshop
 
Photoshop cs2
Photoshop  cs2Photoshop  cs2
Photoshop cs2
 
2.1
2.12.1
2.1
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopองประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
 
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorรู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
 
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6  การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign  CS6
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์และ Interactive Magazine Indesign CS6
 
2.6new
2.6new2.6new
2.6new
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 

Similaire à ใบความรู้

การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศAnuchata Aumpaikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2ยิ้ม' เเฉ่ง
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกPpatbongga
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นshe-vit-guu
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1teaw-sirinapa
 

Similaire à ใบความรู้ (20)

การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Photoshop lab1
Photoshop lab1Photoshop lab1
Photoshop lab1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
โครงงานคอมพิวเตอร์Photoshop cc2014 1/2
 
Photo3
Photo3Photo3
Photo3
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
B1
B1B1
B1
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 
ซอฟแวร์
ซอฟแวร์ซอฟแวร์
ซอฟแวร์
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
 
การใช้ Photoshop cs3 m1
การใช้ Photoshop cs3 m1การใช้ Photoshop cs3 m1
การใช้ Photoshop cs3 m1
 
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
โปรแกรม Photoshop ครั้งที่_1
 

ใบความรู้

  • 1. Photoshop เป็นโปรแกรมซึ่งผลิตโดยบริษัท Adobeและได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องจน มาถึง CS3 หรือ Creative Suite 3 เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างและตกแต่งภาพที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ก็เนื่องจากคุณสมบัติเด่นหลายๆประการ ไม่ ว่าจะเป็นความสามารถในการจัดการกับไฟล์สารพัดชนิดทั้งไฟล์รูปที่จะนาไปผ่านกระบวนการพิมพ์หรือว่ารูปที่จะ นาไปใช้ในเว็บเพจ ความสามารถในการตกแต่งและแก้ไขภาพ และการสร้างเอฟเฟ็คต์พิเศษ ด้วยเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ และมีความยืดหยุ่นสูง ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า Photoshop เป็นโปรแกรมออกแบบกราฟิกที่มีผู้นิยมใช้อันดับ 1 ของโลก ในปัจจุบัน Photoshop มีบทบาทและมีความสาคัญต่อวงการออกแบบอย่างมากโดยสามารถนา Photoshop ไปใช้ ออกแบบงานด้านต่างๆ ดังนี้  ด้านสื่อสิ่งพิมพ์ไม่ว่าจะเป็น นิตยสาร วารสาร หนังสือ แผ่นพับและโบชัวร์  ด้านงานโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์และงาน Presentation  งานกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในฉลากสินค้าทั่วไป  งานออกแบบกราฟิกบนเว็บไซต์ หน้าตาของโปรแกรม Photoshop ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง รู้จักกับ Photoshop
  • 2. พื้นที่ทางานและส่วนประกอบต่างๆของโปรแกรม Title Bar Menu Bar Option bar Status bar Title Bar แถบด้านบนสุดของวินโดว์แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ที่กาลังทางานด้วยในขณะนั้น ที่มุมอีกด้าน จะมีไอคอนสาหับย่อ-ขยายโปรแกรมหรือไฟล์และปุ่มปิดโปรแกรม Menu Bar หรือ แถบคาสั่ง จะประกอบด้วยเมนูคาสั่งต่างๆ ที่ใช้ทางานกับภาพ และปรับค่าต่างๆโดยเมนูเหล่านี้ จะมีเมนูย่อยให้เลือกใช้งานอีกมาก Option Bar หรือ แถบกาหนดรูปแบบของเครื่องมือ ใช้ปรับแต่งการทางานของเครื่องมือต่างๆ สังเกตว่าค่าต่างๆ บนออปชั่นบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกใช้ขณะนั้น Tool Boox หรือ กล่องเครื่องมือ ประกอบด้วยเครื่องมือและกลุ่มต่างๆดังนี้ Move  ใช้เคลื่อนย้ายวัตถุในไฟล์เดียวกัน หรือคนละไฟล์ Marquee  สาหรับเลือกพื้นที่ที่จะใช้งาน หรือสร้าง Selection Lasso  ใช้งานเหมือน Marquee แต่ใช้กับพื้นที่ที่มีรูปร่างอิสระ Magic Wand  สร้าง Selection ตามตาแหน่งค่าสีที่คุณคลิกลงไป Crop  ใช้สาหรับตัดภาพส่วนเกินที่ไม่ต้องการออก Slice  ใช้สาหรับตัดแบ่งภาพออกเป็นส่วนย่อยๆ Tool box พาเล็ตต่างๆ ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง ส่วนประกอบและเครื่องมือต่างๆ
  • 3. Healing Brush  ใช้ตกแต่งภาพส่วนที่เป็นตาหนิให้หายไป โดยการคัดลอกสีจากส่วนปกติไป ทับส่วนที่ต้องการแก้ไข Brush/Pencil  วาดและระบายสีภาพ มีรูปแบบและขนาดหัวแปรงต่างๆ Clone Stamp  ใช้งานเหมือน Healing Brush เพียงแต่ไม่มีการรักษาแสงเงาและพื้นผิวของรูป ส่วนที่ทาการแก้ไขเอาไว้ Eraser  ใช้ลบภาพส่วนที่ไม่ต้องการหรือลบฉากหลังออกจากวัตถุ Gradient  ใช้ระบายสีหรือเติมสีให้กับภาพ Blur/Sharpen  ใช้ปรับความเบลอหรือความคมชัดของภาพ Dodge/Burn  ใช้เพิ่มแสงเงาหรือความสว่างให้กับภาพ Type  สาหรับพิมพ์ข้อความในรูปแบบต่างๆ Path Selection  ใช้ในการเคลื่อนย้ายตาแหน่งของเส้น Path ทั้งหมด Pen  ใช้ในการสร้างเส้น Path ด้วยวิธีคลิกวางจุดแองเคอร์ Rectangle  ใช้สร้างรูปทรงต่างๆ ทั้งรูปทรงเรขาคณิตหรืออื่นๆ Note  ใช้บันทึกหมายเหตุเพื่อเตือนความจา Eyedropper  ใช้สาหรับดูดสีจากภาพที่มีอยู่แล้ว Hand  ใช้เลื่อนดูภาพส่วนที่อยู่เลยขอบวินโดว์ Zoom  ใช้ซูมภาพให้เล็กลง (Zoom Out)หรือใหญ่ขึ้น(Zoom in) ตามความจาเป็นในการใช้งาน ___________________________________________
  • 4. Status Bar หรือ แถบสถานะ แสดงเปอร์เซ็นต์การซูมภาพ, ข้อมูลเกี่ยวกับภาพและอธิบายการทางานของเครื่องมือที่เลือก Palette พาเล็ต หมายถึง วินโดว์ย่อยๆ ที่ใช้เลือกรายละเอียดสาหรับการทางานต่างๆ ใน Photoshop ประกอบด้วยพาเล็ตที่ สาคัญ ดังนี้ Navigator ใช้แสดงภาพตัวอย่างของไฟล์ที่กาลังแก้ไข โดยกรอบสีแดงจะบอกให้รู้ว่าขณะนั้นส่วนใดของภาพกาลังถูก แสดงอยู่ในวินโดว์ Info ใช้แสดงข้อมูลขนาด, ตาแหน่งออบเจ็ค รวมถึงค่าสีในโมเดลต่างๆ Color ใช้เลือกค่าสี RGB ตามที่ต้องการนาไปใช้ Swatchesใช้เลือกสีที่ต้องการได้ทันทีจากตัวอย่างสีที่โปรแกรมมีให้ Styles ใช้เลือกเอฟเฟ็คต์สาเร็จรูปที่ต้องการนามาแต่งภาพ History ใช้เก็บบันทึกการทางานและย้อนการทางานที่ผ่านมา Action บรรจุขั้นตอนการทางานที่บันทึกไว้ใช้ภายหลัง Layer ใช้สาหรับควบคุมการทางานของเลเยอร์ Channel แสดงแชนแนลของแม่สีของไฟล์ที่กาลังแก้ไข Path เป็นส่วนที่ใช้จัดเก็บเส้น Path ต่างๆที่เราสร้างขึ้น
  • 5. เริ่มต้นทางานด้วยคาสั่งพื้นฐาน  การสร้างไฟล์ใหม่ เมื่อต้องการสร้างไฟล์ใหม่ ให้เลือกคาสั่ง File New จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ New  กาหนดชื่อไฟล์ใหม่ในช่อง Name  ให้กาหนดขนาดกว้าง-ยาว ของรูปภาพ ที่ช่อง Width และ Height หรือ อาจจะเลือกขนาดที่โปรแกรมตั้งค่าไว้ให้ โดยเลือกจากช่อง Preset  กาหนดค่าความละเอียดของภาพในช่อง Resolution  เลือกโหมดสีในช่อง Color Mode  เลือกลักษณะของฉากหลัง White ให้พื้นหลังมีสีขาว Background Color ให้พื้นหลังมีสีเดียวกับสี Background ที่เลือกบนทูลบ็อกซ์ Transparent ให้พื้นหลังโปร่งใส  คลิก OK รู้จักกับค่าความละเอียดของภาพ (Resolution) Resolution คือ ค่าความละเอียดของภาพๆหนึ่ง ซึ่งกาหนดเป็นจานวนเม็ดสี (Pixels) ต่อหนึ่งหน่วยความยาวของภาพ ตัวอย่างเช่น หากภาพนั้นมีค่า Resolution = 150 pixels/inches แสดงว่าในพื้นที่ 1 ตารางนิ้วของภาพนั้นประกอบไปด้วยเม็ด สีจานวน 150 เม็ดสี เป็นต้น ซึ่งภาพที่มีความละเอียด (Resolution) สูงกว่านั้นจะให้ความคมชัดที่ดีกว่า เราจะกาหนดค่า Resolution อย่างไรดี ในการทางานนั้นเราจะต้องอ้างอิงถึงค่า Resolution อยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งานประเภทต่างๆ ซึ่ง หน่วยของค่า Resolution ที่ใช้กันมีอยู่2 แบบคือ - pixels/inch  จานวนหรือปริมาณของเม็ดสี (Pixels) ในพื้นที่ 1 ตารางนิ้ว - pixels/inch  จานวนหรือปริมาณของเม็ดสี (Pixels) ในพื้นที่ 1 ตาราง เซนติเมตร ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การใช้งานพื้นฐาน      
  • 6. ค่า Resolution ที่เรานิยมใช้คือ จานวนพิกเซลต่อนิ้วหรือ pixel/inches (ppi) โดยการทางานทั่วไปเรามักกาหนดค่า Resolution อยู่ที่ 100 – 150 ppi แต่ในการทางานเกี่ยวกับเว็บไซต์นั้นเราต้องใช้งานที่มีความละเอียดน้อยจึงใช้ค่า Resolution = 72 ppi และในการออกแบบสิ่งพิมพ์ที่ต้องการความคมชัดในการแสดงผลสูงเราจึงกาหนดค่า Resolution อยู่ที่ 300 – 350 ppi อ้างอิงตาแหน่งด้วยไม้บรรทัด (Rulers) การใช้งานไม้บรรทัดนั้นมีประโยชน์ในการทางานที่ต้องอาศัยการอ้างอิงตาแหน่งและการกาหนดระยะต่างๆจึงช่วยให้เรา สามารถจัดวางวัตถุหรือรูปภาพได้แม่นยายิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วเรายังสามารถกาหนดหน่วยของไม้บรรทัดได้อีกด้วย  คลิกเมนู View  Rulers เพื่อให้โปรแกรมแสดงไม้บรรทัดขึ้นมา  จะสังเกตว่า ตอนนี้มีไม้บรรทัดปรากฏขึ้นด้านบนและด้านซ้ายของงานแล้ว คลิกเมาส์ขวาที่ไม้บรรทัด จากนั้นเลือกหน่วยที่ต้องการ เปิดไฟล์ภาพเพื่อนาไปใช้งาน  คลิกเมนู FileOpen As  เลือกตาแหน่งที่ใช้จัดเก็บไฟล์ภาพ  ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ภาพ หรือ คลิก open  จะได้ภาพที่เราต้องการนามาแก้ไขปรากฏอยู่ในโปรแกรม Photoshop  ข้อควรระวังก่อนตกแต่งภาพ !!! การแดรกเมาส์ลากภาพที่เปิดขึ้นมาลงในไฟล์งาน  ที่ Toolbar คลิกปุ่ม เพื่อเลือกใช้เครื่องมือ Move Tool  คลิกที่รูปภาพ จากนั้นแดรกเมาส์ลากภาพลงในไฟล์งานที่สร้างไว้เราก็จะสามารถนาภาพใส่ลงในขนาดงานใหม่ที่ สร้างขึ้นได้ตามต้องการ นอกจากการเลื่อนภาพด้วยเครื่องมือ Move Tool แล้วเรายังสามารถใช้ปุ่มลูกศรบนคีย์บอร์ดเลื่อนภาพไปมาได้อีกด้วย การย่อ – ขยายภาพ หากภาพที่ใช้ในการทางานนั้นใหญ่หรือเล็กไป เราสามารถย่อ-ขยายภาพนั้นให้มีขนาดตามต้องการได้ซึ่งการย่อ-ขยายภาพ สามารถทาได้ดังนี้  คลิกเมนู Edit Free Transform จะสังเกตได้ว่าที่มุมของภาพมีรูปสี่เหลี่ยมเล็กๆเกิดขึ้น  นาเมาส์ไปวางไว้ที่มุมด้านล่างขวาของภาพจนเกิดเป็นรูปลูกศร  แดรกเมาส์ย่อภาพลงตามขนาดที่ต้องการ  กดปุ่ม Enter บนคีย์บอร์ดเพื่อตกลงการทางาน เพียงเท่านี้เราก็จะสามารถย่อภาพได้เรียบร้อยแล้ว “ก็อปปี้ภาพต้นฉบับเก็บไว้สักหน่อย” ภาพต้นฉบับถือว่าสาคัญที่สุดในโลก
  • 7. การคัดลอกภาพ  คลิกปุ่ม จากนั้นกดปุ่ม Alt พร้อมทั้งแดรกเมาส์ ลากภาพที่ต้องการก็อปปี้ ออกมา หากต้องการให้ภาพก็อปปี้ เลื่อนออกมาในแนวเส้นตรงเดียวกันก็ให้กดปุ่ม Shit ด้วย  สังเกตผลลัพธ์ เพียงเท่านี้เราก็สามารถก็อปปี้ ภาพได้ตามต้องการ หากเราต้องการลบภาพก็สามารถทาได้โดยการแดรกเมาส์ลากเลเยอร์ภาพลงบนปุ่ม การบันทึกไฟล์ภาพ ขั้นตอนในการบันทึกไฟล์ภาพนั้นถือว่าเป็นขั้นตอนสาคัญมาก เพราะจะสามารถนางานกลับมาใช้เพื่อแก้ไขภายหลังได้ หรือบันทึกเพื่อส่งไฟล์ไปทางานร่วมกับโปรแกรมอื่น ส่วนไฟล์ของ Photoshop คือ ไฟล์.PSD (Photoshop Document) ซึ่ง สามารถบันทึกภาพแบบแยกเลเยอร์ให้เป็นส่วนๆ การบันทึกไฟล์ที่สร้างใหม่มีวิธีการดังนี้  เลือกคาสั่ง File Save As  เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการจัดเก็บในช่อง Save in  จากนั้นตั้งชื่อไฟล์ในช่อง File name  เลือกรูปแบบหรือนามสกุลไฟล์ในช่อง Format  เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Save ในการเซฟงานนั้นให้คุณคลิกเมนู File  Save As หากคุณต้องการเซฟเพื่อให้ได้ไฟล์งานใหม่ และคลิกเมนู File  Save เมื่อคุณต้องการให้เซฟทับลงในไฟล์งานเดิม    
  • 8. รู้จักกับคีย์ลัด (Shortcut) การใช้งานคีย์ลัดในแต่ละครั้งนั้นผู้อ่านจะต้องทาการเปลี่ยนภาษาใน windows ให้เป็นภาษาอังกฤษก่อนทุกครั้ง การสร้างงานใหม่ <Ctrl+N>  การเปิดงาน <Ctrl+O>  การปิดงาน <Ctrl+W> ออกจากโปรแกรม <Ctrl+Q> การบันทึกลงในไฟล์งานเดิม <Ctrl+S>  ยกเลิกการทางานครั้ง(Undo) <Ctrl+Alt+Z>  การตัด (Cut) <Ctrl+X>  การคัดลอก (Copy) <Ctrl+C>  วางรูปแบบที่คัดลอก (Paste) <Ctrl+V>  ย่อ – ขยาย <Ctrl+T>  การเลือกพื้นที่ทั้งหมด <Ctrl+A>  กลับด้าน Selection <Ctrl+Shift+I>  ซ่อน Selection <Ctrl+H> ยกเลิก Selection <Ctrl+D>  เทสี Foreground <Alt+Delete> หรือ <Alt+Backspace>  เทสี Background <Ctrl+Delete> หรือ <Ctrl+Backspace>  ใส่ Filter เดิมอีกครั้ง <Ctrl+F> หมายเหตุ Rating ความบ่อยในการใช้งาน
  • 9.  เลเยอร์ (Layer) ใน Photoshop เลเยอร์ (Layer) เปรียบเสมือนแผ่นใสที่วางซ้อนกันเป็นชั้นๆ โดยแต่ละชั้นจะใช้เป็นที่วางภาพที่เอามาจัดการตามคาสั่ง ต่างๆของ Photoshop และแสดงผลการทางานของคาสั่งต่างๆบนแผ่นใสนี้ ทับซ้อนขึ้นมาเรื่อยๆ โดยเปรียบเสมือนแต่ ละแผ่นใสเป็นแต่ละเลเยอร์ บริเวณของเลเยอร์ที่ไม่มีรูปจะเห็นทะลุถึงเลเยอร์ที่อยู่ข้างล่างในการทางานนั้นสามารถ ซ่อนหรือแสดงผลของภาพในเลเยอร์ สับเปลี่ยนลาดับ เชื่อมหรือล็อคเลเยอร์เข้าด้วยกันได้นอกจากนี้หากในการ ทางานมีจานวนเลเยอร์มากเกินไปยังสามารถรวมเลเยอร์ที่ต้องการเข้าด้วยกันได้การทางานด้วยโปรแกรม Photoshop นั้น การทางานด้วยเลเยอร์เป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่ง ที่จะช่วยให้สามารถสร้างงานได้ง่ายขึ้นและเป็นขั้นตอน เนื่องจาก แต่ละเลเยอร์ทางานเป็นอิสระต่อกัน มีคุณสมบัติต่างๆ เป็นของตนเอง นอกจากนั้นแล้วยังมีประโยชน์อย่างมากในการ กลับมาแก้ไขส่วนต่าง ๆ ของชิ้นงานโดยไม่กระทบกับส่วนอื่นๆ  รู้จักกับพาเล็ต Layers และการใช้งานเลเยอร์  เลเยอร์ Background เมื่อเราสร้างไฟล์ใหม่หรือเปิดไฟล์ภาพขึ้นมา โปรแกรม Photoshop จะสร้างเลเยอร์ขึ้นมา 1 เลเยอร์ทุกครั้ง และให้ชื่อเลเยอร์ นั้นว่า “Background” เลเยอร์ Background จะอยู่ลาดับล่างสุด และถูกล็อคไว้ไม่ให้เคลื่อนย้าย แต่บางครั้งการแต่งภาพ หรือ สร้างเอฟเฟ็กต์ที่ซับซ้อน คุณอาจต้องการให้ฉากหลังกลายเป็นพื้นแบบโปร่งใส ซึ่งทาได้โดย เปลี่ยนเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดา โดยการดับเบิลคลิกที่เลเยอร์ Background จากนั้นหน้าต่าง New Layer จะปรากฏขึ้นมา ที่ช่อง Name เราสามารถเปลี่ยนชื่อ Layer ได้ทันที  การปรับค่าความโปร่งใส (Opacity) ของเลเยอร์ เรานิยมใช้การปรับค่าความโปร่งใส (Opacity) ของเลเยอร์ในหลายๆกรณีด้วยกัน เช่น เพื่อต้องการมองภาพที่อยู่ในเลเยอร์ ต่ากว่าหรือเพื่อปรับเปลี่ยนสีภาพให้ดูอ่อนลง ซึ่งการปรับค่า Opacity ที่พาเล็ตเลเยอร์การเลือกใช้งานเลเยอร์ (Ative Layer) ในการทางานนั้นอาจจะมีเลเยอร์อยู่หลายเลเยอร์ แต่เราจะสามารถเลือกทางานได้เพียงครั้งละ 1 เลเยอร์เท่านั้นเราเรียกการ เลือกการทางานที่เลเยอร์นั้นว่า การ Active Layer ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พื้นฐานการใช้เลเยอร์
  • 10. นอกจากการเลือกใช้งานเลเยอร์ด้วยการคลิกเมาส์บนเลเยอร์ที่ต้องการแล้ว เรายังสามารถใช้การคลิกเมาส์ขวา เหนือภาพแล้วเลือกชื่อเลเยอร์ที่เราต้องการเลือกใช้งานได้อีกด้วย  การสร้างเลเยอร์ใหม่/การลบเลเยอร์ หากภาพที่เราสร้างมีความซับซ้อน หรือมีออบเจ็คต่างๆ มากมาย ควรวางออบเจ็คแต่ละชิ้นไว้คนละเลเยอร์กันเพื่อง่ายต่อ การแก้ไข  การสร้างเลเยอร์ใหม่ คลิกปุ่ม ที่อยู่ด้านล่างของพาเล็ต Layers เพื่อสร้างเลเยอร์ใหม่ หรือคลิกปุ่ม บนพา เล็ตเลเยอร์แล้วเลือกคาสั่ง New Layer  การลบเลเยอร์ คลิกลากเลเยอร์ที่ต้องการลบไปทับกับปุ่ม ที่ด้านล่างของพาเล็ต หรือคลิกปุ่ม แล้วเลือก Delete Layer จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ขึ้นมา ให้คลิก Yes เพื่อยืนยันการลบ  การคัดลอกเลเยอร์ในไฟล์เดียวกัน วิธีที่ 1 คลิกลากเลเยอร์ที่ต้องการไปทับกับปุ่ม ที่ด้านล่างของพาเล็ต โปรแกรมจะสร้างเลเยอร์ใหม่ซ้อมขึ้นมา โดยใช้ ชื่อเดิมแต่มีคาว่า copy ต่อท้าย วิธีที่ 2 คลิกเลเยอร์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม บนพาเล็ต แล้วเลือกคาสั่ง Duplicate Layer  กาหนดสีเลเยอร์ การสร้างเลเยอร์ใหม่โดยคลิกปุ่ม โปรแกรมจะกาหนดชื่อให้อัตโนมัติ แต่เพื่อง่ายในการจา คุณสามารถเปลี่ยน ชื่อ และกาหนดสีให้แต่ละเลเยอร์ โดยเลือกใช้คาสั่ง Layer>Layer Properties จากนั้นก็ให้ใส่ชื่อ หรือ กาหนดสีให้กับเลเยอร์  การซ่อนและแสดงเลเยอร์ ใช้เมาส์คลิกไอคอนรูปดวงตาหน้าเลเยอร์ที่ต้องการซ่อน รูปดวงตาจะหายไปและออบเจ็คของเลเยอร์นั้นก็จะไม่ปรากฏบน รูปภาพ เมื่อต้องการแสดงเลเยอร์นั้นใหม่ ให้คลิกตรงช่องนั้นอีกครั้ง ไอคอนรูปดวงตาก็จะปรากฏออบเจ็คของเลเยอร์นั้นก็ จะปรากฏบนภาพเช่นกัน  การเปลี่ยนลาดับของเลเยอร์ ใช้เมาส์คลิกลากที่ชื่อหรือที่ภาพตัวอย่างของเลเยอร์แล้วนาไปวางในลาดับที่ต้องการ ออบเจ็คของเลเยอร์ที่อยู่ด้านบนของพา เล็ต Layers ก็จะบังออบเจ็คของเลเยอร์ล่าง
  • 11.  การกาหนดและเลือกสี เครื่องมือที่ใช้เลือกสี พาเล็ต Color สามารถใช้เลือกได้ทั้งสี Foreground และ สี Background โดยให้เลื่อนสไลเดอร์ของแม่สีแต่ละสีเพื่อสร้างสีที่ ต้องการ นอกจากนั้นยังสามารถเลือกโมเดลสีได้จากเมนูของพาเล็ต ซึ่งทาให้พาเล็ตแสดงองค์ประกอบสีในโมเดลนั้น พาเล็ต Swatches ใช้สาหรับเก็บสีที่เลือกไว้เช่น สีที่ต้องใช้บ่อยๆ เพื่อความสะดวก และสามารถคลิกเลือกสีได้ทันทีจากพา เล็ตนี้ โดยไม่ต้องกาหนดค่าสีใหม่ Color Picker เมื่อคลิกสี Foreground หรือ สี Background บน Toolbox เพื่อเลือกสีใหม่ จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ Color Picker สาหรับใช้เลือกสีที่ต้องการ  รู้จักกับสี foreground และสี background ในโปรแกรม Photoshop นั้นมีความสามารถในการใช้งานสีได้ถึง 2 สีพร้อมๆกัน โดยเราสามารถคลิกเลือกสีเก็บไว้เพื่อ ความสะดวกในการสลับใช้งานซึ่งเราเรียกสีแรกที่ปรากฏในการทางานต่างๆ เช่น การระบายสีว่าสีโฟร์กราวน์ (Foreground Color) และสีที่ 2 ที่เราเก็บไว้ใช้ว่าสีแบ็คกราวน์ (Background) เราสามารถคลิกที่ไอคอน เพื่อสลับสีโฟว์กราวน์กับสีแบ็คกราวน์และคลิกไอคอน เพื่อเซตค่าสีให้เป็นค่าเริ่มต้น โดยโปรแกรมจะเปลี่ยนสีโฟร์กราวน์ให้เป็นสีดาและเปลี่ยนสีแบ็คกราวน์ให้เป็นสีขาวแบบอัติโนมัติ  การเลือกสีจาก Color Picker มีวิธีดังนี้ 1.1 คลิกที่สีโฟว์กราวน์หรือแบ็คกราวน์ที่ต้องการเปลี่ยนสี 1.2 หน้าต่าง Color Picker จะปรากฏขึ้น จากนั้นคลิกเลือกสีบริเวณที่ต้องการ 1.3 คลิกปุ่ม OK เพื่อตกลงการทางาน  การเทสีด้วยคีย์ลัด 1. กดปุ่ม <Alt+Delete> บนคีย์บอร์ดเพื่อเทสีโฟร์กราวน์ (Foreground) 2. กดปุ่ม <Ctrl+Delete> บนคีย์บอร์ดเพื่อเทสีแบ็คกราวน์ (Background) ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้สีใน Photoshop
  • 12.  การเทสีภาพด้วย Paint Bucket Tool มีวิธีดังนี้ 2.1 เปิดภาพที่ต้องการขึ้นมาด้วยคาสั่ง File > Open 2.2 คลิกปุ่ม ค้างไว้จากนั้นเลือกเครื่องมือ 2.3 คลิกเลือกสีที่ต้องการ 2.4 คลิกเทสีลงในบริเวณที่ต้องการ  เทสีภาพแบบไล่โทนสีด้วย Gradient Tool ซึ่งเป็นการไล่สีในรูปแบบปกติจะเป็นการไล่สีจากสีโฟว์กราวน์ ไปยังสีแบ็คกราวน์ โดยเราสามารถกาหนดลักษณะของการไล่โทนสีและทิศทางได้
  • 13. การเลือกพื้นที่ในการทางาน (Selection) คือ การกาหนดขอบเขตพื้นที่เพื่อที่จะกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งลงบนภาพ เช่น แก้ไข ปรับแต่งและวาดภาพ ฯลฯ ทาให้เราสามารถแก้ไขภาพได้ในบริเวณที่เราเลือกไว้  การเลือกพื้นที่ทางานด้วยเครื่องมือ Marquee Tool ประกอบด้วยเครื่องมือย่อย คือ A. Rectangular Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selection แบบสี่เหลี่ยมด้วยวิธีคลิกลากเมาส์ B. Elliptical Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selesction แบบวงกลมและวงรีด้วยวิธีคลิกลากเมาส์ C. Single Row Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selection แบบเส้นตรงในแนวนอน 1 pixel ตรงตาแหน่งที่คลิกเมาส์ D. Single Column Marquee Tool ใช้สร้างพื้นที่ Selection แบบเส้นตรงในแนวตั้ง 1 pixel ตรงตาแหน่งที่คลิกเมาส์  การเลือกพื้นที่ทางานด้วยเครื่องมือ Lasso Tool ประกอบด้วยเครื่องมือย่อย คือ A. Lasso Tool ใช้สร้าง Selection แบบอิสระด้วยวิธีคลิกลากเมาส์รอบบริเวณที่ต้องการ B. Polygonal Lasso Tool ใช้สร้าง Selection รูปหลายเหลี่ยม เหมาะกับการเลือกออบเจ็คที่มีขอบตรง เช่น ภาพอาคาร รถไฟ หนังสือ ฯลฯ โดยใช้เมาส์คลิกกาหนดจุดเริ่มต้นของ Selection จากนั้นเลื่อนเมาส์ไปยังตาแหน่งถัดไป จะมีเส้นตรง ยืดออกมาจากจุดแรก และเชื่อมต่ออยู่กับเมาส์เส้นนี้ช่วยให้กะระยะง่ายขึ้น เมื่อได้ตาแหน่งที่ต้องการแล้วให้คลิกเพื่อสร้าง จุดต่อไปเรื่อยๆ จนครบรอบรูป C. Magnetic Lasso Tool ใช้สร้าง Selection ตามขอบรอบวัตถุโดยโปรแกรมจะกาหนดจุดยึคให้อัตโนมัติเรียกว่า “จุดแอง เคอร์”(Anchor) เหมาะกับออบเจ็คที่มีสีสันตัดกับฉากหลังอย่างชัดเจน แต่ถ้าสีของออบเจ็ค และสีฉากหลังไม่ตัดกันชัดเจน คุณก็อาจคลิกวางจุด anchor ด้วยตัวเองได้  การใช้เครื่องมือ Magic Wand ใช้สร้าง Selection ตามค่าสีของตาแหน่งที่คุณคลิกเมาส์ รวมทั้งบริเวณโดยรอบที่มีสีใกล้เคียงกัน คุณสามารถ กาหนดความแตกต่างของระดับสีของตาแหน่งที่คุณเลือก และสีบริเวณใกล้เคียงได้จากออปชั่น Tolerance (โดยถ้าค่า Tolerance ยิ่งมากพื้นที่ที่ถูกเลือกก็จะเพิ่มขึ้น)  การสร้าง Selection ในโหมด Quick Mask ที่ผ่านมาเราสร้าง Selection ในโหมด Standard โดยให้สังเกตจากปุ่ม Edit in Standard Mode ถูกเลือกไว้สาหรับการสร้าง Selection ในโหมด Quick Mask จะเป็นการสร้าง Mask หรือหน้ากาก บังส่วนที่ไม่ต้องการเลือกหรือส่วนที่ไม่ต้องการสร้าง Selection ไว้โดยระบายสีด้วย Brush Tool วิธีการสร้าง Selection ในโหมด Quick Mask  เปิดไฟล์ภาพ  คลิกปุ่ม Edit in Quick Mask Mode  คลิกเลือกเครื่องมือ กาหนดขนาดหัวแปรงตามต้องการ นามาระบายสีบนรูปภาพ  คลิกปุ่ม Edit in Standard Mode สังเกตผลลัพธ์โปรแกรมจะสร้าง Selection บริเวณรอบนอกของพื้นที่ที่เราได้ ระบายสีไว้ ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การสร้าง Selection
  • 14.  การปรับเปลี่ยนขนาดของ Selection มีวิธีดังนี้  เลือกเมนู Select > Transform Selection เพื่อปรับเปลี่ยนขนาดของ Selection  สังเกตว่าจะปรากฏจุดสี่เหลี่ยมเล็กๆขึ้นที่มุมของ Selection ทั้งหมด 8 จุด  นาเมาส์ไปวางไว้ที่มุมของ Selection สังเกตว่าจะมีลูกศรเกิดขึ้น  กดปุ่ม <Shift> พร้อมกับแดรกเมาส์ขยาย Selection  การสลับ Selection เป็นการเปลี่ยนส่วนที่ถูกเลือกไว้ให้กลายเป็นส่วนที่ไม่ถูกเลือก และเปลี่ยนส่วนที่ไม่ถูกต้องให้กลายเป็นส่วนที่ถูกเลือก โดย ใช้คาสั่ง Select  Inverse  การยกเลิก Selection เมื่อต้องการยกเลิก Selection ให้เลือกเมนู Select > Deselect หรือ <Ctrl+D>
  • 15.  สร้างเอฟเฟ็กต์ด้วย Layer Style Layer Style คือการสร้างเอฟเฟ็กต์พิเศษให้กับเลเยอร์ เช่น สร้างเงาแบบตกลงพื้น การทาให้ออบเจ็คนูนขึ้น หรือ ใส่ลวดลายพื้นผิวให้ออบเจ็ค เป็นต้น สามารถยกเลิก เปลี่ยนแปลง แก้ไขได้ตลอดเวลา และยังสามารถซ่อนเอ็ฟเฟ็กต์ได้ด้วย สาหรับเอฟเฟ็กต์จะประกอบด้วย  Drop Shadow เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพ โดยเราสามารถกาหนดทิศทางและปรับระดับความเข้ม ของเงาได้(ทาให้ตัวอักษรดูเหมือนลอยขึ้น)  Inner Shadow เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพเช่นเดียวกับ Drop Shadow แต่แตกต่างกันตรงที่เป็นการ ใส่เงาแบบภายในวัตถุ(ทาให้ตัวอักษรดูเหมือนยุบลง)  Outer Glow เป็นการใส่สีแบบฟุ้งกระจายภายนอกวัตถุ ทาให้ตัวอักษรดูมีลักษณะเรืองแสงออกมา  Inner Glow มีลักษณะเช่นเดียวกันกับ Outer Glow แต่เป็นการใส่สีแบบฟุ้งกระจายภายในวัตถุ  Bevel and Emboss เป็นการทาให้ภาพดูมีลักษณะนูนในหลายๆรูปแบบ โดยมีทั้งแบบนูนขึ้นและยุบลง - Contour ปรับลักษณะการนูนของขอบออบเจ็คให้เป็นแบบต่างๆ - Texture ใช้เติมลวดลายพื้นผิวให้ออบเจ็ค  Stain เป็นการใส่สีเพิ่มลงไปให้กับตัวอักษรโดยมีลักษณะเป็นเหลือบเงาและมีหลายรูปแบบไว้ให้ปรับแต่งกัน  Color Overlay เป็นการเติมสีใหม่ทับลงไปในตัวอักษร เมื่อเรายกเลิกการใช้เอฟเฟ็กต์นี้แล้วสีเก่าจะยังคงอยู่  Gradient Overlay เป็นการเติมสีให้ตัวอักษรในรูปแบบการไล่สีซึ่งเราสามารถกาหนดลักษณะได้  Pattern Overlay เป็นการใส่ลวดลายแบบต่างๆลงไปในภาพ  Stroke เป็นการใส่เส้นขอบล้อมรอบให้กับตัวอักษรหรือภาพเราสามารถกาหนดสีและความหนาของเส้นขอบได้ เลือกเอฟเฟ็กต์ ปรับแต่งคุณสมบัติ ของเอฟเฟ็กต์ ใบความรู้ที่ 9 เรื่อง สร้างเอฟเฟ็กต์ด้วย Layer Style
  • 16.  รู้จักกับเครื่องมือ Shape Tool เมื่อเราสร้างรูปร่างด้วยเครื่องมือ Shape Tool โปรแกรมจะทาการสร้างเลเยอร์พิเศษขึ้นมา 1 เลเยอร์ โดยเราเรียกเล เยอร์นี้ว่า “Shape Layer” ภายใน Shape Layer นี้จะบรรจุรูปร่างเวคเตอร์ที่เราได้สร้างขึ้น โดยเราสามารถปรับเปลี่ยนและแก้ไขภาพได้ ตลอดเวลา ซึ่งเครื่องมือสร้างรูปร่าง Shape Tool นั้นมีทั้งหมด 6 รูปแบบคือ A. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบสี่เหลี่ยมมุมฉาก B. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบสี่เหลี่ยมมุมโค้ง C. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบวงกลมและวงรี D. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบหลายเหลี่ยม E. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบเส้นตรง F. เครื่องมือวาดรูปร่างเวคเตอร์แบบภาพสาเร็จ  การใช้งานรูปร่างสาเร็จรูป (Custom Shape Tool) โปรแกรม Photoshop ได้แบ่งรูปร่างสาเร็จรูปออกเป็นหมวดหมู่เพื่อเพิ่มความสะดวกในการสร้างสรรค์ผลงาน โดยแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆเช่น สัตว์,ธรรมชาติ,ดนตรี,และสัญลักษณ์ เป็นต้น ใบความรู้ที่ 8 เรื่อง รู้จักกับเครื่องมือ Shape Tool
  • 17.  การเปลี่ยนขนาดของ Shape Tool คือ  คลิกที่เมนู Edit > Free Transform Path  จะเกิดสี่เหลี่ยมๆเล็กตามมุม สามารถหดหรือขยายได้ตามต้องการ  เสร็จคลิกที่เครื่องหมายถูกบนออบชั่นบาร์หรือกดEnter  การเปลี่ยนสี Shape Tool คือ  ดับเบิลคลิก สีที่ปรากฏอยู่บนเลเยอร์ของ Shape นั้น  สามารถคลิกเลือกสีที่ต้องการจาก Color picker ได้ทันที จากนั้น กด OK เราสามารถเลือกใช้งานรูปร่างแบบสาเร็จรูป (Custom Shape Tool) ได้โดยวิธีการ ดังต่อไปนี้  คลิกเลือกเครื่องมือ จากนั้นคลิกปุ่ม  คลิกปุ่ม จากนั้นเลือกหมวดหมู่ที่ต้องการ  คลิกปุ่ม Ok เพื่อเลือกใช้หมวดหมูนั้น หรือ กด Append เพื่อให้หมวดหมู่เดิม ยังอยู่  คลิกเลือกรูปร่าง หลักจากนั้นทดลองแดรกเมาส์สร้าง Shape ก็จะได้รูปร่าง สาเร็จรูปตามต้องการแล้ว หากต้องการให้โปรแกรมแสดงรูปร่างสาเร็จรูปทั้งหมดเราก็สามารถทา ได้ดังนี้ คลิกปุ่ม จากนั้นเลือกคาสั่ง All  
  • 18.  การใช้งานฟิลเตอร์ ฟิลเตอร์ (Filter) คือ การตกแต่งภาพด้วยเทคนิคพิเศษ โดยเราสามารถปรับเปลี่ยนภาพธรรมดาให้ดูแปลกใหม่ขึ้น กลายเป็นภาพที่กล้องราคาแพงแค่ไหนก็ไม่สามารถทาได้ซึ่งลักษณะของฟิลเตอร์ใน Photoshop นั้นเราสามารถแบ่ง ออกเป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. ฟิลเตอร์ (Filter) คาสั่งการตกแต่งภาพของโปรแกรม Photoshop ที่มีอยู่แล้วเมื่อเราทาการติดตั้ง โปรแกรม 2. ปลั๊กอิน (Plug-In) เป็นการติดตั้งคาสั่งพิเศษนอกเหนือไปจากฟิลเตอร์ที่มีอยู่ในโปรแกรมเพิ่มเข้ามา เพื่อใช้ ในการตกแต่งภาพ 3. เลเยอร์สไตล์(Layer Style) เป็นการตกแต่งชิ้นงานภายในเลเยอร์แต่ละเลเยอร์ ถึงจะมีรูปแบบให้เลือก น้อยแต่เราสามารถปรับเปลี่ยนใหม่ได้ตลอดเวลา  ลักษณะกลุ่มการทางานของฟิลเตอร์ (Filter) Filter และ Plug-In เสริมต่างๆ เป็นการรวบรวมลักษณะของการตกแต่งภาพแบบพิเศษที่เราไม่สามารถสร้างขึ้นได้ โดยง่าย เพื่อให้เราสามารถสร้างสรรค์ผลงานให้สวยงามเหนือจินตนาการด้วยการปรับแต่งข้อกาหนดต่างๆที่ระบุไว้ใน Filter หากเรากาหนดค่าของข้อกาหนดแตกต่างกันเราก็จะสามารถปรับแต่งภาพให้มีลักษณะแตกต่างกันได้อีกด้วย ซึ่งผู้เขียนได้แบ่งกลุ่มการทางานของ Filter ออกเป็นลักษณะต่างๆดังนี้ 1. กลุ่มการปรับแต่งภาพ คือ กลุ่มฟิลเตอร์ที่จาเป็นต้องมีภาพต้นฉบับแล้วจึงจะสามารถทาการปรับแต่งภาพได้ เช่น Artistic, Blur, Brush Strokes, Sketch ฯลฯ 2. กลุ่มบิดเบือนรูปภาพ คือ กลุ่มฟิลเตอร์ที่จาเป็นต้องมีภาพต้นฉบับแล้วจึงสามารถทาการบิดเบือนรูปภาพได้ เช่น Distort และ Plug-In ต่างๆ 3. กลุ่มการสร้างภาพ คือ กลุ่มฟิลเตอร์ที่ไม่จาเป็นต้องมีภาพต้นฉบับ แต่สามารถทางานกับภาพที่สร้างขึ้นมา ใหม่ได้เช่น Noise, Render และ Plug-In ต่างๆ ใบความรู้ที่ 10 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
  • 19.  การสร้างข้อความแบบ Type Layer เป็นการสร้างข้อความแบบปกติเหมือนใน Word โดยข้อความที่พิมพ์จะถูกเก็บไว้บนเลเยอร์พิเศษที่เรียกว่า Type Layer ซึ่ง สามารถกลับมาแก้ไขตัวสะกดหรือจัดรูปแบบใหม่ได้วิธีการสร้างข้อความ มีดังนี้  คลิกที่เครื่องมือ Type แล้วเลือกเครื่องมือ Horizontal Type (แนวนอน) หรือ Vertical Type (แนวตั้ง)  คลิกเมาส์ลงบนบริเวณที่ต้องการสร้างข้อความ  กาหนดออปชั่นต่างๆให้ตัวอักษร ใช้สาหรับเปลี่ยนทิศทางของข้อความจาแนวนอนเป็นแนวตั้งหรือแนวตั้งเป็นแนวนอน สาหรับกาหนดฟอนต์(Font) หรือรูปแบบของตัวอัษร กาหนดขนาดของตัวอักษร ซึ่งคุณสามารถระบุค่าที่ต้องการลงไปได้ กาหนดลักษณะการจัดย่อหน้า คือ จัดให้ชิดซ้าย,จัดให้อยู่กึ่งกลาง หรือจัดชิดขวา สาหรับกาหนดสีให้กับตัวอักษร โดยคลิกในช่องสี โปรแกรมจะเปิดไดอะล็อกบ็อกซ์ Color Picker เพื่อให้คุณเลือกสีที่ต้องการ สาหรับปรับแต่งตัวอักษรโค้งแบบต่างๆ สาหรับคลิกเพื่อยกเลิกข้อความหรือตัวอักษรที่พิมพ์ลงไปแล้ว สาหรับคลิกเพื่อยืนยันข้อความหรือตัวอักษรที่พิมพ์  พิมพ์ข้อความลงไป ระหว่างพิมพ์คุณสามารถเปลี่ยนแปลงออปชั่นต่างๆบนออปชั่นบาร์ได้ซึ่งก็จะส่งผลต่อ ข้อความที่พิมพ์ไป หากต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ให้กด Enter  เมื่อต้องการยืนยันข้อความที่พิมพ์ให้คลิกปุ่ม บนออปชั่นบาร์ถ้าไม่ต้องการข้อความนั้นให้กดคีย์ESC หรือคลิกปุ่ม บนออปชั่นบาร์ ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างและปรับแต่งข้อความ
  • 20.  การแก้ไขและปรับแต่งข้อความ  คลิกเลือกเครื่องมือ Type  เลือกการแก้ไขปรับแต่งข้อความโดย  หากต้องการปรับทั้งเลเยอร์ ให้คลิกเลือกเลเยอร์ของข้อความนั้นบนพาเล็ต Layers  หากต้องการปรับข้อความบางส่วน ให้คลิกลากเมาส์เป็นแถบสีดา ครอบคลุมข้อความ  เลือกปรับข้อความตามต้องการ โดยการเปลี่ยนฟอนต์,สีหรือคุณสมบัติอื่นของตัวอักษรบนออปชั่นบาร์  หากต้องการแก้ไขหรือพิมพ์ข้อความเพิ่ม ให้คลิกเมาส์เพื่อวางเคอร์เซอร์ตรงตาแหน่งที่ต้องการ จากนั้นพิมพ์ ข้อความลงไป  คลิกปุ่ม บนออปชั่นบาร์เพื่อจบการแก้ไข  เพิ่มลูกเล่นให้กับข้อความโดย Style Palette Style Palette เป็นเอฟเฟ็กต์แบบสาเร็จรูปคือสามารถเรียกใช้งานได้ทันที โดยคลิกที่แท็ป Palette Style แล้วคลิกเลือกใช้ ได้ทันที  การบิดข้อความเป็นรูปร่างต่างๆ คลิกปุ่ม Warp Text บนออปชั่นบาร์ จะได้ไดอะล็อกบ็อกซ์ Warp Text ขึ้นมา คลิกปุ่ม ที่ช่อง Style เพื่อเลือกรูปทรงที่ต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถปรับแต่งรูปทรงนั้นได้จากออปชั่นเพิ่มเติม คือ  Horizontal,Vertical กาหนดให้บิดตัวอักษรในแนวนอนหรือแนวตั้ง  Bend กาหนดปริมาณและด้านของตัวอักษรที่จะถูกบิด  Horizontal Distortion กาหนดให้บิดเบือนสัดส่วนในแนวนอน  Vertical Distortion กาหนดให้บิดเบือนสัดส่วนในแนวตั้ง เลือกรูปแบบในการบิดข้อความ ออปชั่นสาหรับปรับแต่งการบิดข้อความ