SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 1
ÊÒúÑÞ
ÊÃØ»Êٵä³ÔµÈÒʵϾ×é¹°Ò¹ Á.4/Á.5/Á.6
เรื่อง หน้า
ม.4 เทอมต้น
บทที่ 1 เซต 2
บทที่ 2 การให้เหตุผล 3
บทที่ 3 จํานวนจริง 4
บทที่ 4 เลขยกกําลัง 6
ม.4 เทอมปลาย
บทที่ 5 ฟังก์ชัน 7
บทที่ 6 อัตราส่วนตรีโกณมิติ 9
ม.5 เทอมต้น
บทที่ 7 ลําดับและอนุกรม 10
บทที่ 8 ความน่าจะเป็น 11
ม.5 เทอมปลาย
บทที่ 9 สถิติและข้อมูล 12
บทที่ 10 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 12
ม.6 ไม่มีเนื้อหาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
¤íÒá¹Ð¹íÒ : เอกสารนี้เป็นสรุปสูตรวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 ทําแจกสําหรับ
น้องๆ สมาชิก Dektalent.com เรียนเรื่องไหนสามารถเลือกพิมพ์เฉพาะเรื่องที่ต้องการได้เลย
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 2
º··Õè 1 ૵
ความรู้เบื้องต้นเรื่องเซต
1) เซตเป็นคําอนิยาม สิ่งที่อยู่ในเซตเรียก “สมาชิก” สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมายคอมม่า
2) สัญลักษณ์ ∈ แทนการเป็นสมาชิกของเซต / สัญลักษณ์ ∉ แทนการไม่เป็นสมาชิกของเซต
3) วิธีการเขียนเซต มี 2 แบบ (แบบบอกเงื่อนไข / แบบแจกแจงสมาชิก)
4) เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ { } หรือ φ
5) เซตจํากัด คือ เซตที่บอกจํานวนสมาชิกได้ว่ามีกี่ตัว
6) เซตอนันต์ คือ เซตที่ไม่ใช่เซตจํากัด หรือ เซตที่มีสมาชิกมากมายนับไม่ถ้วน เช่น เซตของจํานวนนับ
7) เซตที่เท่ากัน คือ เซตที่มีจํานวนสมาชิกเหมือนกันทุกตัว แต่ถ้าเป็นเซตที่มีจํานวนสมาชิกเท่ากัน จะเรียก “เซต
เทียบเท่ากัน”
สับเซต
1) สัญลักษณ์ ⊂ แทน การเป็นสับเซต เช่น A เป็นสับเซต B เขียนแทนด้วย A ⊂ B
2) สัญลักษณ์ ⊄ แทน การไม่เป็นสับเซต
3) เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต
4) จํานวนสับเซตทั้งหมด = 2𝑛𝑛
โดย n คือ จํานวนสมาชิกของเซต
5) จํานวนสับเซตแท้ = สับเซตทุกตัวยกเว้นตัวมันเอง = 2𝑛𝑛
− 1 ( n คือ จํานวนสมาชิกของเซต)
เพาเวอร์เซต
1) เพาเวอร์เซต คือ เซตของสับเซต สัญลักษณ์ P(A) แทน เพาเวอร์เซต A
2) เวลาเขียนเพาเวอร์เซต ให้เขียนสับเซตให้หมดทุกตัวก่อน แล้วเขียน ปีกกา คลุมหัวท้ายก็จะได้เพาเวอร์เซตแล้ว
3) φ ∈ P(A) เซตว่างเป็นสมาชิกของเพาเวอร์เซตเสมอ
4) จํานวนสมาชิกของเพาเวอร์เซต คือ จํานวนสับเซตทั้งหมด
การกระทําของเซต
1) มี 4 แบบ ยูเนียน /อินเตอร์เซคชัน/ ผลต่าง/ คอมพลีเมนต์
2) ยูเนียน คือ เอาสมาชิกมารวมกัน สัญลักษณ์ ∪
3) อินเตอร์เซคชัน คือ เอาสมาชิกที่ซํ้ากัน สัญลักษณ์ ∩
4) ผลต่าง คือ เอามาลบกัน โดยดูตัวตั้งเป็นหลัก สัญลักษณ์ เครื่องหมายลบ (-)
5) คอมพลีเมนท์ คือ ไม่เอา เช่น A′หมายถึง ไม่เอาสมาชิกที่อยู่ใน A สัญลักษณ์ ( ′ )
โจทย์ปัญหาเรื่องเซต
1) อ่านโจทย์แล้ววาดรูปก่อน
2) สูตรสําหรับ 2 เซต n(A∪B) = n(A) + n(B) – n(A∩B)
3) สูตรสําหรับ 3 เซต n(A∪B∪C) = n(A)+n(B)+n(C)–n(A∩B)-n(A∩C)-n(B∩C) +n(A∩B∩C)
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 3
º··Õè 2 ¡ÒÃãËŒà˵ؼÅ
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สําคัญมี 2 วิธี
1) การให้เหตุผลแบบอุปนัย 2) การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
1) เป็นการให้เหตุผลโดยยึดความจริงจากส่วนย่อยที่พบเห็น ไปสู่ความจริงที่เป็นส่วนรวม
2) วิธีการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆแล้วนํามาสรุป
เป็นความรู้แบบทั่วไป
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
เป็นการนําความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือ บทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและ
ยอมรับว่าเป็น จริง เพื่อหาเหตุผลนําไปสู่ข้อสรุป
ข้อความที่ใช้ในการอ้างเหตุผล
มีอยู่ 6 แบบ คือ
ข้อความ รูปวาด
1) สมาชิกของ A ทุกตัวเป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่าง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกตัวเป็นสัตว์เลือดอุ่น
2) ไม่มีสมาชิกของ A ตัวใด เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่าง ไม่มีงูตัวใดที่มีขา
3) สมาชิกบางตัวของ A เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่าง รถโดยสารบางคันเป็นรถปรับอากาศ
4) สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่าง รถโดยสารบางคันไม่ได้เป็นรถปรับอากาศ
5) มีสมาชิก A หนึ่งตัวที่เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่าง สุนัขของฉันเป็นสุนัขพันธุ์ไทยแท้
6) มีสมาชิกของ A หนึ่งตัวไม่เป็นสมาชิกของ B
ตัวอย่าง สุนัขของแตงไม่ใช่สุนัขพันธุ์ไทยแท้
B
A
A
B
B
A
B
A
B
A
B
A
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 4
º··Õè 3 ¨íҹǹ¨ÃÔ§
โครงสร้างของระบบจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ
เปรียบเทียบจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ ได้ตามตารางด้านล่าง
การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม และการเปลี่ยนทศนิยมเป็นเศษส่วน
1) การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมใช้วิธีการตั้งหาร จะหารสั้น หรือ หารยาวก็ได้ตามใจเลย
2) การเปลี่ยนทศนิยมเป็นเศษส่วน
- ถ้าเป็นทศนิยมธรรมดา ก็สามารถทําได้เลย เช่น 0.2 =
2
10
- ถ้าเป็นทศนิยมซํ้า เช่น 0. 4̇ =
4
9
, 0.23̇ =
23−2
90
=
21
90
, 0. 3̇1̇ =
31
99
เป็นต้น
การแก้สมการ
1) แก้สมการด้วยวิธีการแยกตัวประกอบของพหุนาม (มักจะใช้การแยกตัวประกอบแบบ 2 วงเล็บ)
- การดึงตัวร่วม - การแยกตัวประกอบสองวงเล็บ
- กําลังสองสมบูรณ์ - ผลต่างกําลังสอง
- ผลบวก หรือ ผลต่างกําลังสาม - วิธีเพิ่มเข้า-ลบออก
- จับคู่ ดึงตัวร่วม - การหารสังเคราะห์
2) หรือใช้สูตรสําหรับแก้สมการกําลังสอง ที่อยู่ในรูป 𝑎𝑎𝑎𝑎2
+ 𝑏𝑏𝑏𝑏 + 𝑐𝑐 = 0 ดังนี้
จํานวนตรรกยะ คือ จํานวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป
เศษส่วน
a
b
ได้ เมื่อ a, b เป็นจํานวนเต็มและ b ≠ 0
จํานวนอตรรกยะ คือ จํานวนจริงที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ใน
รูปเศษส่วนของจํานวนเต็มได้
𝑥𝑥 =
−𝑏𝑏 ± √𝑏𝑏2 − 4𝑎𝑎𝑎𝑎
2𝑎𝑎
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 5
ช่วง (Interval)
กําหนดให้ a,b เป็นจํานวนจริง และ a < b
1) ช่วง แบ่งเป็น 4 แบบ ช่วงปิด ช่วงเปิด ช่วงครึ่งเปิด และ ช่วงอนันต์
2) ช่วงปิด สัญลักษณ์ [a,b] ถ้าวาดกราฟจะเป็นวงกลมทึบ
3) ช่วงเปิด สัญลักษณ์ (a,b) ถ้าวาดกราฟจะเป็นวงกลมโปร่ง
4) ช่วงครึ่งเปิด มี 2 แบบ สัญลักษณ์ คือ [a, b) หรือ [a, b) ถ้าวาดกราฟตรงที่เป็นวงเล็บ [, ] จะเป็นวงกลมทึบ
และถ้าเป็น (,) จะเป็นวงกลมโปร่ง
5) ช่วงอนันต์ มี 2 แบบ สัญลักษณ์ คือ (a, ∞) หรือ (-∞, a)
6) การเขียนช่วงอนันต์ ด้านที่เป็นตัวอินฟินีตี้เป็นช่วงเปิดเสมอ
การแก้อสมการ
1) ขั้นตอนการแก้อสมการ มี 3 ส่วนคือ แยกตัวประกอบ ตีเส้นจํานวน และ เลือกช่วงของคําตอบ
2) ถ้าย้ายจํานวนที่ติดลบ ไปคูณหรือหาร เครื่องหมาย >, <, ≥ และ ≤ ของอสมการจะต้องเปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย
ตรงกันข้าม เช่น -2x < 6 เอา -2 หารตลอด จะได้ x > - 3
ค่าสัมบูรณ์ (Absolute value)
1) ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนจริง a ใดๆ หมายถึง ระยะห่างระหว่าง 0 (ศูนย์) กับจุด a บนเส้นจํานวน
2) ค่าสัมบูรณ์เป็นบวกเสมอ เพราะเป็นระยะห่าง
3) สมบัติของค่าสัมบูรณ์
• เสมอ
• xx −=
• xyyx −=−
• 222
xxx ==
• yxxy =
•
y
x
y
x
=
• yxyx +≤+
• yxyx −≥−
4) การแก้สมการค่าสัมบูรณ์ มี 3 วิธี ดังนี้
4.1 แปลตามนิยาม 4.2 ยกกําลังสอง 4.3 แปลค่าทีละค่าสัมบูรณ์
5) การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีบท เมื่อ a เป็นจํานวนจริงบวก จะได้
- ถ้า |x| < a หมายถึง –a < x < a - ถ้า |x| ≤ a หมายถึง –a ≤ x ≤ a
- ถ้า |x| > a หมายถึง x < -a หรือ x > a - ถ้า |x| ≥ a หมายถึง x ≤ -a หรือ x ≥ a
0≥x
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 6
º··Õè 4 àŢ¡¡íÒÅѧ
สมบัติของเลขยกกําลัง
1) สมบัติของเลขยกกําลัง
• 𝑎𝑎m
∙ 𝑎𝑎n
= 𝑎𝑎m+n
• 𝑎𝑎m
÷ 𝑎𝑎n
= 𝑎𝑎m−n
• 𝑎𝑎0
= 1
• 𝑎𝑎−n
=
1
𝑎𝑎n
• (𝑎𝑎m
)n
= 𝑎𝑎mn
• (𝑎𝑎𝑎𝑎)m
= 𝑎𝑎m
𝑏𝑏m
• (
𝑎𝑎
𝑏𝑏
)m
=
𝑎𝑎m
𝑏𝑏m
• 𝑎𝑎
m
n = √𝑎𝑎mn
การหารากที่สองของจํานวนอตรรกยะ
1) ( ) ( ) ( )222
2 bbaaba ++=+ abba 2++=
2) ( ) ( ) ( )222
2 bbaaba +−=− abba 2−+=
การแก้สมการที่ติดเครื่องหมายราก
1) การแก้สมการที่มีเครื่องหมายราก โดยทั่วไปใช้วิธียกกําลัง และจะต้องตรวจคําตอบด้วยว่าคําตอบที่ได้มานั้นใช้ได้
ทุกค่าหรือไม่
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 7
º··Õè 5 ¿˜§¡ªÑ¹
คู่อันดับ
นิยาม คู่อันดับ (a , b) = (c , d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ผลคูณคาร์ทีเชียน
นิยาม ผลคูณคาร์ทีเชียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (a , b) ทั้งหมด โดยที่ a ∈ A และ b ∈ B
สัญลักษณ์ A×B เช่น A = {1,2} , B = {3,4,5} จะได้ AxB = {(1,3),(1,4),(1,5),(2,3),(2,4),(2,5)}
สมบัติที่สําคัญของผลคูณคาร์ทีเชียน
1) ถ้า A มีสมาชิก m ตัว และ B มีสมาชิก n ตัว ∴ A×B มีสมาชิก mn ตัว
2) A × B = φ ก็ต่อเมื่อ A = φ หรือ B = φ
3) A × (B ∪ C) = (A × B) ∪ (A × C)
4) A × (B ∩ C) = (A × B) ∩ (A × C)
5) A × (B – C) = (A × B) – (A × C)
6) A × B ≠ B × A
ความสัมพันธ์
นิยาม r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r ⊂ A × B ถ้า A × B มีสมาชิก n ตัว
เราสามารถสร้างความสัมพันธ์จาก A ไป B ได้ 2n
วิธี
การหาโดเมน และ การหาเรนจ์
จากความสัมพันธ์ r
- เรียก เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r ว่า โดเมน
- เรียก เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r ว่า เรนจ์
ฟังก์ชัน
นิยาม 𝑓𝑓 จะเป็นฟังก์ชัน ก็ต่อเมื่อ 𝑓𝑓 เป็นความสัมพันธ์ ซึ่งมีเงื่อนไขว่า ถ้า (𝑥𝑥 , 𝑦𝑦1) ∈ 𝑓𝑓 และ
(𝑥𝑥 , 𝑦𝑦2) ∈ 𝑓𝑓 แล้ว 𝑦𝑦1 = 𝑦𝑦2
สรุปง่ายๆ ว่า ถ้าสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใดๆ เหมือนกันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องเหมือนกันด้วย
วิธีตรวจสอบว่าเป็นฟังก์ชันโดยใช้กราฟ คือ ถ้าลากเส้นตรงขนานแกน y แล้วตัดกราฟ 1 จุด แปลว่าเป็นฟังก์ชัน
การหาโดเมน มีหลักการคิด ดังนี้
- จัดรูปสมการ ให้อยู่ในรูป y ในเทอม x
- พิจารณาเทอมของ x ว่า ค่า x มีข้อยกเว้นใดหรือไม่โดยดูจาก
1. ถ้าเป็นรูปเศษส่วน ∴ส่วนต้อง ≠ 0
2. ถ้าติดเครื่องหมายรากเลขคู่
∴ภายในเครื่องหมายรากต้อง ≥ 0
การหาเรนจ์ มีหลักการคิด ดังนี้
- จัดรูปสมการ ให้อยู่ในรูป x ในเทอม y
- พิจารณาเทอมของ y ว่า ค่า y มีข้อยกเว้นใดหรือไม่โดยดูจาก
1. ถ้าเป็นรูปเศษส่วน ∴ส่วนต้อง ≠ 0
2. ถ้าติดเครื่องหมายรากเลขคู่
∴ภายในเครื่องหมายรากต้อง ≥ 0
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 8
ฟังก์ชันที่ควรรู้จัก
ฟังก์ชันเชิงเส้น รูปสมการทั่วไป คือ 𝐴𝐴𝐴𝐴 + 𝐵𝐵𝐵𝐵 + 𝐶𝐶 = 0 หรือ 𝑦𝑦 = 𝑚𝑚𝑚𝑚 + 𝑐𝑐
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ รูปสมการทั่วไป คือ 𝑦𝑦 = 𝑎𝑎|𝑥𝑥 − 𝑏𝑏| + 𝑐𝑐
ฟังก์ชันขั้นบันได เป็นฟังก์ชันที่เป็นฟังก์ชันคงที่เป็นช่วงๆ กราฟของฟังก์ชัน
มีรูปคล้ายขั้นบันได เช่น อัตราค่าไฟฟ้า
ฟังก์ชันกําลังสอง รูปสมการทั่วไป 𝑦𝑦 = 𝑎𝑎𝑥𝑥2
+ 𝑏𝑏𝑏𝑏 + 𝑐𝑐
ฟังก์ชันพหุนาม รูปสมการทั่วไป𝑦𝑦 = 𝑎𝑎1 𝑥𝑥𝑛𝑛 + 𝑎𝑎2 𝑥𝑥𝑛𝑛−1 + 𝑎𝑎3 𝑥𝑥𝑛𝑛−2 + ⋯
เช่น 𝑦𝑦 = 2𝑥𝑥3
− 5𝑥𝑥 + 2
ฟังก์ชันที่เป็นคาบ เป็นฟังก์ชันที่ไม่ใช่ฟังก์ชันคงตัว เช่น ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 9
º··Õè 6 ÍѵÃÒʋǹµÃÕ⡳ÁÔµÔ
สามเหลี่ยมมุมฉาก
จากรูปจะได้ ฉาก2
= ข้าม2
+ ชิด2
อัตราส่วนด้านของ ∆ มุมฉากที่ควรจํา
1) 3 : 4 : 5
2) 5 : 12 : 13
3) 7 : 24 : 25
4) 8 : 15 : 17
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
มี 6 อัตราส่วนสําคัญ ดังนี้
1) sin 𝐴𝐴 =
ข้ามฉาก
4) cot 𝐴𝐴 =
ชิดข้าม
2) cos 𝐴𝐴 =
ชิดฉาก
5) sec 𝐴𝐴 =
ฉากชิด
3) tan 𝐴𝐴 =
ข้ามชิด
6) cosec 𝐴𝐴 =
ฉากข้าม
สูตรพื้นฐาน 8 สูตร
1. sin𝐴𝐴 cosec𝐴𝐴 = 1 2. cos 𝐴𝐴 sec𝐴𝐴 = 1
3. tan𝐴𝐴 cot𝐴𝐴 = 1 4. sin2
𝐴𝐴 + cos2
𝐴𝐴 = 1
5. sec2
𝐴𝐴 − tan2
𝐴𝐴 = 1 6. cosec2
𝐴𝐴 − cot2
𝐴𝐴 = 1
7. tan 𝐴𝐴 =
sin 𝐴𝐴
cos 𝐴𝐴
8. cot 𝐴𝐴 =
cos 𝐴𝐴
sin 𝐴𝐴
อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30° , 45° และ 60°
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 10
º··Õè 7 ÅíҴѺáÅÐ͹ءÃÁ
ลําดับ
1) ลําดับเลขคณิต คือ ลําดับที่มีผลต่างของพจน์ที่ n+1 กับพจน์ที่ n เป็นค่าคงตัว
พจน์ทั่วไป dnaan )1(1 −+= เมื่อ d คือ ผลต่างร่วม, 𝑎𝑎1 คือ พจน์ที่ 1
2) ลําดับเรขาคณิต คือ ลําดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n+1 ต่อพจน์ที่ n เป็นค่าคงตัว
พจน์ทั่วไป 1
1
−
= n
n raa เมื่อ r คือ อัตราส่วนร่วม, 𝑎𝑎1 คือ พจน์ที่ 1
อนุกรม
1) สัญลักษณ์แทนการบวก ( ∑ อ่านว่า ซิกมา )
สมบัติของ ∑
2) อนุกรมเลขคณิต (Arithmetic Series)
สูตรผลบวก [ ]dna
n
Sn )1(2
2
1 −+= หรือ [ ]nn aa
n
S += 1
2
มี 2 สูตร ต้องจําได้เลือกใช้ตามสะดวกเลยจ้า
3) อนุกรมเรขาคณิต (Geometric Series)
สูตรผลบวก
1
)1(
1
)1( 11
−
−
=
−
−
=
r
ra
r
ra
S
nn
n
∑∑∑ ===
−=−
N
i
i
N
i
i
N
i
ii yxyx
111
)(.4
cNccccc
N
N
i
=++++=∑=
   ....1
1
∑∑ ==
=
N
i
i
N
i
i xccx
11
.2
∑ ∑∑ = ==
+=+
N
i
N
i
ii
N
i
ii yxyx
1 11
)(.3
(ดึงค่าคงที่ไปอยู่หน้า ∑ ได้)
(∑ ผลบวก สามารถกระจายได้)
(∑ ผลลบ สามารถกระจายได้)
2
)1(
...321.5
1
+
=++++=∑=
nn
ni
n
i
6
)12)(1(
...321.6 2222
1
2 ++
=++++=∑=
nnn
ni
n
i
22
1
3333
1
3
2
)1(
...321.7 




 +
=





=++++= ∑∑ ==
nn
ini
n
i
n
i
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 11
º··Õè 8 ¤ÇÒÁ¹‹Ò¨Ð໚¹
กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
กฎข้อ 1
ในการทํางาน 2 อย่าง โดยที่งานอย่างแรกสามารถทําได้ n1 วิธี และในแต่ละวิธีของงานอย่างแรก
สามารทํางานอย่างที่สองได้อีก n2 วิธี
∴จํานวนวิธีการทํางานทั้ง 2 อย่าง = n1⋅n2 วิธี
กฎข้อ 2
ในการทํางาน k อย่าง ถ้างานอย่างแรก มีวิธีทําได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธี ของงานอย่างแรก สามารถทํางานที่ 2 ได้อีก n2
วิธีและในแต่ละวิธีของงานอย่างแรกและงานอย่างที่ 2 สามารถทํางานอย่างที่ 3 ได้อีก n3 วิธี เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ
∴จํานวนวิธีการทํางานทั้ง k อย่าง = n1⋅n2⋅n3⋅ … ⋅nk วิธี
ความน่าจะเป็น
1) การทดลองสุ่ม คือ การทดลองหรือการกระทําที่ทราบว่าผลลัพธ์อาจเป็นอะไรได้บ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้อย่าง
แน่นอนว่า ในแต่ละครั้งที่ทดลองนั้นผลจะเกิดเป็นอะไร เช่น การโยนเหรียญ, การทอดลูกเต๋า
2) แซมเปิลสเปซ(S) คือ เซตของผลลัพธ์ที่อาจเป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม
3) เหตุการณ์(E) คือ สับเซตของแซมเปิลสเปซ
4) สูตรความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E
)(
)(
)(
Sn
En
EP ==
สมบัติของความน่าจะเป็น
1) 0 ≤ P(E) ≤ 1
2) ถ้า P(E) = 0 แสดงว่า E = φ นั่นคือ เหตุการณ์นั้นไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเลย
3) ถ้า P(E) = 1 แสดงว่า E = S นั่นคือ เหตุการณ์นั้น เกิดขึ้นแน่นอน
4) P(E′) = 1 – P(E)
5) P(A∪B) = P(A) + P(B) – P(A∩B)
6) P(A∪B) = P(A) + P(B) เมื่อ A และ B เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน
7) P(A - B) = P(A) – P(A∩B)
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 12
º··Õè 9-10 ʶԵÔáÅТŒÍÁÙÅ áÅСÒÃÇÔà¤ÃÒÐˏ¢ŒÍÁÙÅàº×éͧµŒ¹
สถิติเบื้องต้น
1. ความหมายของสถิติ
สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่บอกข้อเท็จจริงต่างๆ ซึ่งตัวเลขนี้จะอยู่ในลักษณะ รวบยอดที่ได้มาจากการวิเคราะห์การเปรียบเทียบ หรือ
การคํานวณ หรือ หมายถึง ศาสตร์ที่เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ กระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.2 การนําเสนอข้อมูล 1.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 1.4 การตีความหมายของข้อมูล
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลสถิติ หรือ ข้อมูล หมายถึง ข้อความจริงในเรื่องใด เรื่องหนึ่งที่ เราสนใจศึกษา ซึ่งอาจเป็นตัวเลข หรือข้อความก็ได้ ข้อสําคัญ
ข้อมูลเพียงหน่วยเดียวไม่ถือเป็นข้อมูลสถิติ
ประเภทของข้อมูล ถ้าจําแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูล หรือ สังเกตจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
เช่น ดช. วีกิจ สํารวจส่วนสูงของเพื่อนในชั้นเรียนโดยการเดินถามทีละคน
2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากข้อมูลที่ผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว
เช่น จากรายงานต่างๆ ของหน่วยงานราชการ องค์การ หรือ เอกชน บทความจากหนังสือพิมพ์ วารสาร เป็นต้น
ลักษณะของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่ใช้แทนขนาด หรือ ปริมาณ ซึ่งสามารถ ชั่ง ตวง วัด ออกมาเป็นตัวเลขได้โดยตรง
2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้โดยตรง แต่วัดออกมาโดยอาศัยคุณลักษณะของสิ่งนั้นๆแต่ใน
บางกรณี ข้อมูลเชิงคุณภาพวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ แต่ตัวเลขเหล่านั้นไม่สามารถนํามาหาค่าเฉลี่ยได้ เช่น เบอร์เสื้อ เบอร์รองเท้า
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล มีวิธีเก็บได้หลายวิธี คือ
1) จากทะเบียนประวัติ เป็นการเก็บรวบรวมจากฝ่ายทะเบียนต่างๆ เช่น ฝ่ายทะเบียนของโรงเรียน เขต โรงพยาบาล หน่วยงานของ
รัฐ การเก็บรวบรวมโดยทําการคัดลอกซึ่งข้อมูลที่ได้มีความเชื่อถือค่อนข้างสูง ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
2) จากการสํารวจ บางครั้งข้อมูลจากทะเบียนประวัติมีไม่ครบตามที่ต้องการ หรือไม่ได้เก็บรวบรวมไว้จึงจําเป็นต้องใช้วิธีสํารวจเอง
โดยใช้แบบสอบถาม หรือ การสัมภาษณ์
3) จากการสังเกต ข้อมูลบางประเภทใช้แบบสอบถามหรือ สัมภาษณ์ อาจไม่ได้ข้อเท็จจริง ก็ต้องใช้วิธีแอบดูหรือสังเกตเอง
4) จากการทดลอง ส่วนใหญ่เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เป็นข้อมูลที่ถูกต้องและ เชื่อถือได้มาก ถ้าไม่เกิดความ
คลาดเคลื่อนจากการวัด หรือ การวางแผนการทดลอง
3. การนําเสนอข้อมูล
การนําเสนออย่างไม่เป็นแบบแผน เช่น
- การนําเสนอในรูปข้อความ คือ การนําข้อมูลมาเสนอเป็นส่วนหนึ่งของข้อความ
- การนําเสนอในรูปกึ่งตาราง คือ การนําเสนอข้อมูลโดยแยกตัวเลขออกจากข้อความ
การนําเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน เช่น
- การนําเสนอด้วยตาราง แผนภูมิ หรือ แผนภาพ กราฟเส้น
4. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
- ตารางแจกแจงความถี่
- ฮิสโตแกรม
- รูปหลายเหลี่ยมของความถี่
- เส้นโค้งความถี่
- เส้นโค้งความถี่สะสม
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 13
สัญลักษณ์แทนการบวก ( ∑ อ่านว่า ซิกมา)
สมบัติของ ∑
ค่ากลางของข้อมูล
ค่ากลางของข้อมูล ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ข้อมูลแจกแจงความถี่
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (𝑥𝑥̅)
• ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
• ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วง
นํ้าหนัก
• ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม
𝑥𝑥̅ =
∑ 𝑥𝑥
𝑁𝑁
𝑥𝑥̅ =
𝑤𝑤1 𝑥𝑥1 + 𝑤𝑤2 𝑥𝑥2 + ⋯ + 𝑤𝑤𝑛𝑛 𝑥𝑥𝑛𝑛
𝑤𝑤1 + 𝑤𝑤2 + ⋯ + 𝑤𝑤𝑛𝑛
𝑥𝑥̅ =
𝑁𝑁1 𝑥𝑥1 + 𝑁𝑁2 𝑥𝑥2 + ⋯ + 𝑁𝑁𝑛𝑛 𝑥𝑥𝑛𝑛
𝑁𝑁1 + 𝑁𝑁2 + ⋯ + 𝑁𝑁𝑛𝑛
𝑥𝑥̅ =
∑ 𝑓𝑓𝑓𝑓
𝑁𝑁
หรือ 𝑥𝑥̅ = 𝐴𝐴 + �
∑ 𝑓𝑓𝑓𝑓
𝑁𝑁
� 𝐼𝐼
-
-
2) มัธยฐาน (Median = Med.) 1) เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก
2) ข้อมูลที่อยู่ตรงกลางคือ มัธยฐาน 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀. = 𝐿𝐿 + �
𝑁𝑁
2
− ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿
𝑓𝑓𝑚𝑚
� 𝐼𝐼
3) ฐานนิยม (Mode = Mo.) ข้อมูลที่ซํ้ากันมากที่สุด คือ ฐานนิยม 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀 = 𝐿𝐿 + �
𝑑𝑑1
𝑑𝑑1 + 𝑑𝑑2
� 𝐼𝐼
4) ค่ากึ่งกลางพิสัย (Mid - range) 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀 − 𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟 =
𝑥𝑥𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 + 𝑥𝑥𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚
2
𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀 − 𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟 =
ขอบบน + ขอบล่าง
2
5) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิก
(Harmonic Mean = H.M.)
𝐻𝐻. 𝑀𝑀. =
𝑁𝑁
1
𝑥𝑥1
+
1
𝑥𝑥2
+ ⋯ +
1
𝑥𝑥𝑁𝑁
-
6) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric
Mean = G.M.)
𝐺𝐺. 𝑀𝑀. = �𝑥𝑥1 ∙ 𝑥𝑥2 ∙ … ∙ 𝑥𝑥𝑁𝑁
𝑁𝑁
-
∑∑∑ ===
−=−
N
i
i
N
i
i
N
i
ii yxyx
111
)(.4
cNccccc
N
N
i
=++++=∑=
   ....1
1
∑∑ ==
=
N
i
i
N
i
i xccx
11
.2
∑ ∑∑ = ==
+=+
N
i
N
i
ii
N
i
ii yxyx
1 11
)(.3
(ดึงค่าคงที่ไปอยู่หน้า ∑ ได้)
(∑ ผลบวก สามารถกระจายได้)
(∑ ผลลบ สามารถกระจายได้)
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 14
การวัดตําแหน่งที่ของข้อมูล
การวัดตําแหน่งที่ของข้อมูล ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ข้อมูลแจกแจงความถี่
1) ควอไทล์(แบ่ง 4 ส่วน) 1)เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก
2)หาตําแหน่ง สูตร
3)เทียบคะแนนจาก
คะแนน = ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตําแหน่ง
+ (เศษ x ช่วงห่างของข้อมูล)
1)สร้างช่องความถี่สะสมของข้อมูลที่
กําหนดให้
2)หาตําแหน่ง สูตร
3)เทียบคะแนน สูตร
𝑄𝑄𝑟𝑟 = 𝐿𝐿 + �
𝑁𝑁𝑁𝑁
4
− ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿
𝑓𝑓𝑚𝑚
� 𝐼𝐼
2) เดไซล์ (แบ่ง 10 ส่วน) 1)เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก
2) หาตําแหน่ง สูตร
3)เทียบคะแนนจาก
คะแนน = ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตําแหน่ง
+ (เศษ x ช่วงห่างของข้อมูล)
1)สร้างช่องความถี่สะสมของข้อมูลที่
กําหนดให้
2)หาตําแหน่ง สูตร
3)เทียบคะแนน สูตร
𝐷𝐷𝑟𝑟 = 𝐿𝐿 + �
𝑁𝑁𝑁𝑁
10
− ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿
𝑓𝑓𝑚𝑚
� 𝐼𝐼
3) เปอร์เซ็นไทล์ (แบ่ง 100 ส่วน) 1)เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก
2) หาตําแหน่ง สูตร
3)เทียบคะแนนจาก
คะแนน = ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตําแหน่ง
+ (เศษ x ช่วงห่างของข้อมูล)
1)สร้างช่องความถี่สะสมของข้อมูลที่
กําหนดให้
2)หาตําแหน่ง สูตร
3)เทียบคะแนน สูตร
𝑃𝑃𝑟𝑟 = 𝐿𝐿 + �
𝑁𝑁𝑁𝑁
100
− ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿
𝑓𝑓𝑚𝑚
� 𝐼𝐼
เมื่อ 𝐿𝐿 คือ ขอบล่างของชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่
∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿 คือ ความถี่สะสมของชั้นที่อยู่ก่อนจะถึงชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่
𝑓𝑓𝑚𝑚
คือ ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่
𝐼𝐼 คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่
𝑛𝑛 คือ จํานวนข้อมูลทั้งหมด
r
N
Qr ×
+
=
4
)1(
r
N
Dr ×
+
=
10
)1(
r
N
Pr ×
+
=
100
)1(
r
N
Qr ×=
4
r
N
Dr ×=
10
r
N
Pr ×=
100
DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋
เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 15
การวัดการกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายสัมบูรณ์ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
1) พิสัย
( ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่)
พิสัย
( ข้อมูลแจกแจงความถี่)
พิสัย = ขอบบนชั้นสูงสุด – ขอบล่างชั้นตํ่าสุด
1) สัมประสิทธิ์ของพิสัย
2) ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 2) สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
3) ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
( ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่)
( ข้อมูลแจกแจงความถี่)
3) สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
4) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
( ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่)
หรือ
( ข้อมูลแจกแจงความถี่)
หรือ
4) สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน
ความแปรปรวน (𝑆𝑆2
)
1) ความแปรปรวน
( )2
2222
2
)(
x
N
x
N
x
N
x
N
xx
S −=







−=
−
=
∑∑∑∑
2) ความแปรปรวนรวม
2
21
21
21
2
2
2
1








+
+
−
+
+
=
∑ ∑∑ ∑
NN
xx
NN
xx
minmax xx −=
minmax
minmax
xx
xx
+
−
=
2
.. 13 QQ
DQ
−
=
13
13
QQ
QQ
+
−
=
N
xx
DM
i∑ −
=.
N
xxf
DM
i∑ −
=.
N
xx
DS
N
i
i∑=
−
= 1
2
)(
..
22
.. 







−=
∑∑
N
x
N
x
DS
N
xxf
DS
N
i
ii∑=
−
= 1
2
)(
..
22
.. 







−=
∑∑
N
fx
N
fx
DS
x
DM ..
=
x
DS ..
=

Contenu connexe

Tendances

อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53Seohyunjjang
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามsawed kodnara
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558Tonson Lalitkanjanakul
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุนApirak Potpipit
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1อนุชิต ไชยชมพู
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 

Tendances (20)

อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
เฉลยข้อสอบ Onet ปี 53
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2558
 
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
แบบฝึกการแก้อสมการเชิงเส้นม.3
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
4. โจทย์ปัญหาการซื้อขาย กำไร ขาดทุน
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
สรุปสูตรคณิตศาสตร์ ม.ปลาย (ม.4-6) ชุด 1
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 

En vedette

สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตK'Keng Hale's
 
สรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลายAphisak Srichan
 
สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นkrulerdboon
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติpattya0207
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันguest5ec5625
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตNuchita Kromkhan
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต pairtean
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลbenjalakpitayaschool
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติTaew Nantawan
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานPasit Suwanichkul
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายKittepot
 

En vedette (20)

สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
ตรรกศาสตร์ (Logic)
ตรรกศาสตร์ (Logic)ตรรกศาสตร์ (Logic)
ตรรกศาสตร์ (Logic)
 
สรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปเนื้อหา คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็น
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
 
สูตรสถิติ
สูตรสถิติสูตรสถิติ
สูตรสถิติ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลายสรุปเคมี ม.ปลาย
สรุปเคมี ม.ปลาย
 

Similaire à [สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1

Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)masakonatty
 
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551nampeungnsc
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeThanakrit Muangjun
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1cookie47
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6noonatzu
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1Manas Panjai
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1jutarattubtim
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1JunyapornTakumnoi
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ParattakornDokrueankham
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชาNichaphon Tasombat
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)Thanuphong Ngoapm
 

Similaire à [สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1 (20)

ทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวนทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวน
 
Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)Math เฉลย (วิทย์)
Math เฉลย (วิทย์)
 
เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551เฉลยคณิต 2551
เฉลยคณิต 2551
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgngeG tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
G tp9q xhf7cauijj9bav6k9frkamazm3eqwgtwnpk81sxnf4pfubgdnuqndgcgnge
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6ข้อสอบ O net คณิต ม.6
ข้อสอบ O net คณิต ม.6
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด1
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด1
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net คณิต ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 1
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
 

Plus de kanjana2536

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันkanjana2536
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นkanjana2536
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆkanjana2536
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12kanjana2536
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90kanjana2536
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานkanjana2536
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9kanjana2536
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8kanjana2536
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุมkanjana2536
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุมkanjana2536
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้kanjana2536
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลังkanjana2536
 

Plus de kanjana2536 (20)

ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 6 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบงานที่ 5 เรื่องความน่าจะเป็นและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ใบงานที่ 4 เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
ใบงานที่ 3 เรื่อง เหตุการณ์
 
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่มใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
ใบงานที่ 2 เรื่องการทดลองสุ่ม
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้นใบงานที่ 1  เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
ใบงานที่ 1 เรื่อง โอกาสที่เหตุการณ์จะเกิดขึ้น
 
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆใบงานที่ 13  เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
ใบงานที่ 13 เรื่อง การใช้ความรู้เรื่องมุมไปใช้ในการสร้างรูปต่างๆ
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90ใบงานที่ 11  การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
ใบงานที่ 11 การสร้างมุมที่มีขนาดเท่ากับ 90
 
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนานใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
ใบงานที่10 เรื่อง การสร้างเส้นขนาน
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
7การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรงและมุม
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุมใบงานที่ 6  เรื่อง  การแบ่งครึ่งมุม
ใบงานที่ 6 เรื่อง การแบ่งครึ่งมุม
 
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้ใบงาน5เรื่อง  การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
ใบงาน5เรื่อง การสร้างมุมให้มีขนาดเท่ากับมุมที่กำหนดให้
 
ใบ'งาน4
ใบ'งาน4ใบ'งาน4
ใบ'งาน4
 
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุมใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
ใบงานที่ 2 มุมชนิดมุม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 

[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1

  • 1. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 1 ÊÒúÑÞ ÊÃØ»Êٵä³ÔµÈÒʵϾ×é¹°Ò¹ Á.4/Á.5/Á.6 เรื่อง หน้า ม.4 เทอมต้น บทที่ 1 เซต 2 บทที่ 2 การให้เหตุผล 3 บทที่ 3 จํานวนจริง 4 บทที่ 4 เลขยกกําลัง 6 ม.4 เทอมปลาย บทที่ 5 ฟังก์ชัน 7 บทที่ 6 อัตราส่วนตรีโกณมิติ 9 ม.5 เทอมต้น บทที่ 7 ลําดับและอนุกรม 10 บทที่ 8 ความน่าจะเป็น 11 ม.5 เทอมปลาย บทที่ 9 สถิติและข้อมูล 12 บทที่ 10 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 12 ม.6 ไม่มีเนื้อหาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ¤íÒá¹Ð¹íÒ : เอกสารนี้เป็นสรุปสูตรวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 ทําแจกสําหรับ น้องๆ สมาชิก Dektalent.com เรียนเรื่องไหนสามารถเลือกพิมพ์เฉพาะเรื่องที่ต้องการได้เลย
  • 2. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 2 º··Õè 1 ૵ ความรู้เบื้องต้นเรื่องเซต 1) เซตเป็นคําอนิยาม สิ่งที่อยู่ในเซตเรียก “สมาชิก” สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมายคอมม่า 2) สัญลักษณ์ ∈ แทนการเป็นสมาชิกของเซต / สัญลักษณ์ ∉ แทนการไม่เป็นสมาชิกของเซต 3) วิธีการเขียนเซต มี 2 แบบ (แบบบอกเงื่อนไข / แบบแจกแจงสมาชิก) 4) เซตว่าง คือ เซตที่ไม่มีสมาชิก สัญลักษณ์ { } หรือ φ 5) เซตจํากัด คือ เซตที่บอกจํานวนสมาชิกได้ว่ามีกี่ตัว 6) เซตอนันต์ คือ เซตที่ไม่ใช่เซตจํากัด หรือ เซตที่มีสมาชิกมากมายนับไม่ถ้วน เช่น เซตของจํานวนนับ 7) เซตที่เท่ากัน คือ เซตที่มีจํานวนสมาชิกเหมือนกันทุกตัว แต่ถ้าเป็นเซตที่มีจํานวนสมาชิกเท่ากัน จะเรียก “เซต เทียบเท่ากัน” สับเซต 1) สัญลักษณ์ ⊂ แทน การเป็นสับเซต เช่น A เป็นสับเซต B เขียนแทนด้วย A ⊂ B 2) สัญลักษณ์ ⊄ แทน การไม่เป็นสับเซต 3) เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต 4) จํานวนสับเซตทั้งหมด = 2𝑛𝑛 โดย n คือ จํานวนสมาชิกของเซต 5) จํานวนสับเซตแท้ = สับเซตทุกตัวยกเว้นตัวมันเอง = 2𝑛𝑛 − 1 ( n คือ จํานวนสมาชิกของเซต) เพาเวอร์เซต 1) เพาเวอร์เซต คือ เซตของสับเซต สัญลักษณ์ P(A) แทน เพาเวอร์เซต A 2) เวลาเขียนเพาเวอร์เซต ให้เขียนสับเซตให้หมดทุกตัวก่อน แล้วเขียน ปีกกา คลุมหัวท้ายก็จะได้เพาเวอร์เซตแล้ว 3) φ ∈ P(A) เซตว่างเป็นสมาชิกของเพาเวอร์เซตเสมอ 4) จํานวนสมาชิกของเพาเวอร์เซต คือ จํานวนสับเซตทั้งหมด การกระทําของเซต 1) มี 4 แบบ ยูเนียน /อินเตอร์เซคชัน/ ผลต่าง/ คอมพลีเมนต์ 2) ยูเนียน คือ เอาสมาชิกมารวมกัน สัญลักษณ์ ∪ 3) อินเตอร์เซคชัน คือ เอาสมาชิกที่ซํ้ากัน สัญลักษณ์ ∩ 4) ผลต่าง คือ เอามาลบกัน โดยดูตัวตั้งเป็นหลัก สัญลักษณ์ เครื่องหมายลบ (-) 5) คอมพลีเมนท์ คือ ไม่เอา เช่น A′หมายถึง ไม่เอาสมาชิกที่อยู่ใน A สัญลักษณ์ ( ′ ) โจทย์ปัญหาเรื่องเซต 1) อ่านโจทย์แล้ววาดรูปก่อน 2) สูตรสําหรับ 2 เซต n(A∪B) = n(A) + n(B) – n(A∩B) 3) สูตรสําหรับ 3 เซต n(A∪B∪C) = n(A)+n(B)+n(C)–n(A∩B)-n(A∩C)-n(B∩C) +n(A∩B∩C)
  • 3. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 3 º··Õè 2 ¡ÒÃãËŒà˵ؼŠการให้เหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สําคัญมี 2 วิธี 1) การให้เหตุผลแบบอุปนัย 2) การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย 1) เป็นการให้เหตุผลโดยยึดความจริงจากส่วนย่อยที่พบเห็น ไปสู่ความจริงที่เป็นส่วนรวม 2) วิธีการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆแล้วนํามาสรุป เป็นความรู้แบบทั่วไป การให้เหตุผลแบบนิรนัย เป็นการนําความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือ บทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและ ยอมรับว่าเป็น จริง เพื่อหาเหตุผลนําไปสู่ข้อสรุป ข้อความที่ใช้ในการอ้างเหตุผล มีอยู่ 6 แบบ คือ ข้อความ รูปวาด 1) สมาชิกของ A ทุกตัวเป็นสมาชิกของ B ตัวอย่าง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกตัวเป็นสัตว์เลือดอุ่น 2) ไม่มีสมาชิกของ A ตัวใด เป็นสมาชิกของ B ตัวอย่าง ไม่มีงูตัวใดที่มีขา 3) สมาชิกบางตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ตัวอย่าง รถโดยสารบางคันเป็นรถปรับอากาศ 4) สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็นสมาชิกของ B ตัวอย่าง รถโดยสารบางคันไม่ได้เป็นรถปรับอากาศ 5) มีสมาชิก A หนึ่งตัวที่เป็นสมาชิกของ B ตัวอย่าง สุนัขของฉันเป็นสุนัขพันธุ์ไทยแท้ 6) มีสมาชิกของ A หนึ่งตัวไม่เป็นสมาชิกของ B ตัวอย่าง สุนัขของแตงไม่ใช่สุนัขพันธุ์ไทยแท้ B A A B B A B A B A B A
  • 4. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 4 º··Õè 3 ¨íҹǹ¨ÃÔ§ โครงสร้างของระบบจํานวนจริง จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ เปรียบเทียบจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ ได้ตามตารางด้านล่าง การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยม และการเปลี่ยนทศนิยมเป็นเศษส่วน 1) การเปลี่ยนเศษส่วนเป็นทศนิยมใช้วิธีการตั้งหาร จะหารสั้น หรือ หารยาวก็ได้ตามใจเลย 2) การเปลี่ยนทศนิยมเป็นเศษส่วน - ถ้าเป็นทศนิยมธรรมดา ก็สามารถทําได้เลย เช่น 0.2 = 2 10 - ถ้าเป็นทศนิยมซํ้า เช่น 0. 4̇ = 4 9 , 0.23̇ = 23−2 90 = 21 90 , 0. 3̇1̇ = 31 99 เป็นต้น การแก้สมการ 1) แก้สมการด้วยวิธีการแยกตัวประกอบของพหุนาม (มักจะใช้การแยกตัวประกอบแบบ 2 วงเล็บ) - การดึงตัวร่วม - การแยกตัวประกอบสองวงเล็บ - กําลังสองสมบูรณ์ - ผลต่างกําลังสอง - ผลบวก หรือ ผลต่างกําลังสาม - วิธีเพิ่มเข้า-ลบออก - จับคู่ ดึงตัวร่วม - การหารสังเคราะห์ 2) หรือใช้สูตรสําหรับแก้สมการกําลังสอง ที่อยู่ในรูป 𝑎𝑎𝑎𝑎2 + 𝑏𝑏𝑏𝑏 + 𝑐𝑐 = 0 ดังนี้ จํานวนตรรกยะ คือ จํานวนที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูป เศษส่วน a b ได้ เมื่อ a, b เป็นจํานวนเต็มและ b ≠ 0 จํานวนอตรรกยะ คือ จํานวนจริงที่ไม่สามารถเขียนให้อยู่ใน รูปเศษส่วนของจํานวนเต็มได้ 𝑥𝑥 = −𝑏𝑏 ± √𝑏𝑏2 − 4𝑎𝑎𝑎𝑎 2𝑎𝑎
  • 5. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 5 ช่วง (Interval) กําหนดให้ a,b เป็นจํานวนจริง และ a < b 1) ช่วง แบ่งเป็น 4 แบบ ช่วงปิด ช่วงเปิด ช่วงครึ่งเปิด และ ช่วงอนันต์ 2) ช่วงปิด สัญลักษณ์ [a,b] ถ้าวาดกราฟจะเป็นวงกลมทึบ 3) ช่วงเปิด สัญลักษณ์ (a,b) ถ้าวาดกราฟจะเป็นวงกลมโปร่ง 4) ช่วงครึ่งเปิด มี 2 แบบ สัญลักษณ์ คือ [a, b) หรือ [a, b) ถ้าวาดกราฟตรงที่เป็นวงเล็บ [, ] จะเป็นวงกลมทึบ และถ้าเป็น (,) จะเป็นวงกลมโปร่ง 5) ช่วงอนันต์ มี 2 แบบ สัญลักษณ์ คือ (a, ∞) หรือ (-∞, a) 6) การเขียนช่วงอนันต์ ด้านที่เป็นตัวอินฟินีตี้เป็นช่วงเปิดเสมอ การแก้อสมการ 1) ขั้นตอนการแก้อสมการ มี 3 ส่วนคือ แยกตัวประกอบ ตีเส้นจํานวน และ เลือกช่วงของคําตอบ 2) ถ้าย้ายจํานวนที่ติดลบ ไปคูณหรือหาร เครื่องหมาย >, <, ≥ และ ≤ ของอสมการจะต้องเปลี่ยนเป็นเครื่องหมาย ตรงกันข้าม เช่น -2x < 6 เอา -2 หารตลอด จะได้ x > - 3 ค่าสัมบูรณ์ (Absolute value) 1) ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนจริง a ใดๆ หมายถึง ระยะห่างระหว่าง 0 (ศูนย์) กับจุด a บนเส้นจํานวน 2) ค่าสัมบูรณ์เป็นบวกเสมอ เพราะเป็นระยะห่าง 3) สมบัติของค่าสัมบูรณ์ • เสมอ • xx −= • xyyx −=− • 222 xxx == • yxxy = • y x y x = • yxyx +≤+ • yxyx −≥− 4) การแก้สมการค่าสัมบูรณ์ มี 3 วิธี ดังนี้ 4.1 แปลตามนิยาม 4.2 ยกกําลังสอง 4.3 แปลค่าทีละค่าสัมบูรณ์ 5) การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ ทฤษฎีบท เมื่อ a เป็นจํานวนจริงบวก จะได้ - ถ้า |x| < a หมายถึง –a < x < a - ถ้า |x| ≤ a หมายถึง –a ≤ x ≤ a - ถ้า |x| > a หมายถึง x < -a หรือ x > a - ถ้า |x| ≥ a หมายถึง x ≤ -a หรือ x ≥ a 0≥x
  • 6. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 6 º··Õè 4 àŢ¡¡íÒÅѧ สมบัติของเลขยกกําลัง 1) สมบัติของเลขยกกําลัง • 𝑎𝑎m ∙ 𝑎𝑎n = 𝑎𝑎m+n • 𝑎𝑎m ÷ 𝑎𝑎n = 𝑎𝑎m−n • 𝑎𝑎0 = 1 • 𝑎𝑎−n = 1 𝑎𝑎n • (𝑎𝑎m )n = 𝑎𝑎mn • (𝑎𝑎𝑎𝑎)m = 𝑎𝑎m 𝑏𝑏m • ( 𝑎𝑎 𝑏𝑏 )m = 𝑎𝑎m 𝑏𝑏m • 𝑎𝑎 m n = √𝑎𝑎mn การหารากที่สองของจํานวนอตรรกยะ 1) ( ) ( ) ( )222 2 bbaaba ++=+ abba 2++= 2) ( ) ( ) ( )222 2 bbaaba +−=− abba 2−+= การแก้สมการที่ติดเครื่องหมายราก 1) การแก้สมการที่มีเครื่องหมายราก โดยทั่วไปใช้วิธียกกําลัง และจะต้องตรวจคําตอบด้วยว่าคําตอบที่ได้มานั้นใช้ได้ ทุกค่าหรือไม่
  • 7. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 7 º··Õè 5 ¿˜§¡ªÑ¹ คู่อันดับ นิยาม คู่อันดับ (a , b) = (c , d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d ผลคูณคาร์ทีเชียน นิยาม ผลคูณคาร์ทีเชียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (a , b) ทั้งหมด โดยที่ a ∈ A และ b ∈ B สัญลักษณ์ A×B เช่น A = {1,2} , B = {3,4,5} จะได้ AxB = {(1,3),(1,4),(1,5),(2,3),(2,4),(2,5)} สมบัติที่สําคัญของผลคูณคาร์ทีเชียน 1) ถ้า A มีสมาชิก m ตัว และ B มีสมาชิก n ตัว ∴ A×B มีสมาชิก mn ตัว 2) A × B = φ ก็ต่อเมื่อ A = φ หรือ B = φ 3) A × (B ∪ C) = (A × B) ∪ (A × C) 4) A × (B ∩ C) = (A × B) ∩ (A × C) 5) A × (B – C) = (A × B) – (A × C) 6) A × B ≠ B × A ความสัมพันธ์ นิยาม r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r ⊂ A × B ถ้า A × B มีสมาชิก n ตัว เราสามารถสร้างความสัมพันธ์จาก A ไป B ได้ 2n วิธี การหาโดเมน และ การหาเรนจ์ จากความสัมพันธ์ r - เรียก เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r ว่า โดเมน - เรียก เซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r ว่า เรนจ์ ฟังก์ชัน นิยาม 𝑓𝑓 จะเป็นฟังก์ชัน ก็ต่อเมื่อ 𝑓𝑓 เป็นความสัมพันธ์ ซึ่งมีเงื่อนไขว่า ถ้า (𝑥𝑥 , 𝑦𝑦1) ∈ 𝑓𝑓 และ (𝑥𝑥 , 𝑦𝑦2) ∈ 𝑓𝑓 แล้ว 𝑦𝑦1 = 𝑦𝑦2 สรุปง่ายๆ ว่า ถ้าสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใดๆ เหมือนกันแล้ว สมาชิกตัวหลังต้องเหมือนกันด้วย วิธีตรวจสอบว่าเป็นฟังก์ชันโดยใช้กราฟ คือ ถ้าลากเส้นตรงขนานแกน y แล้วตัดกราฟ 1 จุด แปลว่าเป็นฟังก์ชัน การหาโดเมน มีหลักการคิด ดังนี้ - จัดรูปสมการ ให้อยู่ในรูป y ในเทอม x - พิจารณาเทอมของ x ว่า ค่า x มีข้อยกเว้นใดหรือไม่โดยดูจาก 1. ถ้าเป็นรูปเศษส่วน ∴ส่วนต้อง ≠ 0 2. ถ้าติดเครื่องหมายรากเลขคู่ ∴ภายในเครื่องหมายรากต้อง ≥ 0 การหาเรนจ์ มีหลักการคิด ดังนี้ - จัดรูปสมการ ให้อยู่ในรูป x ในเทอม y - พิจารณาเทอมของ y ว่า ค่า y มีข้อยกเว้นใดหรือไม่โดยดูจาก 1. ถ้าเป็นรูปเศษส่วน ∴ส่วนต้อง ≠ 0 2. ถ้าติดเครื่องหมายรากเลขคู่ ∴ภายในเครื่องหมายรากต้อง ≥ 0
  • 8. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 8 ฟังก์ชันที่ควรรู้จัก ฟังก์ชันเชิงเส้น รูปสมการทั่วไป คือ 𝐴𝐴𝐴𝐴 + 𝐵𝐵𝐵𝐵 + 𝐶𝐶 = 0 หรือ 𝑦𝑦 = 𝑚𝑚𝑚𝑚 + 𝑐𝑐 ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ รูปสมการทั่วไป คือ 𝑦𝑦 = 𝑎𝑎|𝑥𝑥 − 𝑏𝑏| + 𝑐𝑐 ฟังก์ชันขั้นบันได เป็นฟังก์ชันที่เป็นฟังก์ชันคงที่เป็นช่วงๆ กราฟของฟังก์ชัน มีรูปคล้ายขั้นบันได เช่น อัตราค่าไฟฟ้า ฟังก์ชันกําลังสอง รูปสมการทั่วไป 𝑦𝑦 = 𝑎𝑎𝑥𝑥2 + 𝑏𝑏𝑏𝑏 + 𝑐𝑐 ฟังก์ชันพหุนาม รูปสมการทั่วไป𝑦𝑦 = 𝑎𝑎1 𝑥𝑥𝑛𝑛 + 𝑎𝑎2 𝑥𝑥𝑛𝑛−1 + 𝑎𝑎3 𝑥𝑥𝑛𝑛−2 + ⋯ เช่น 𝑦𝑦 = 2𝑥𝑥3 − 5𝑥𝑥 + 2 ฟังก์ชันที่เป็นคาบ เป็นฟังก์ชันที่ไม่ใช่ฟังก์ชันคงตัว เช่น ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
  • 9. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 9 º··Õè 6 ÍѵÃÒʋǹµÃÕ⡳ÁÔµÔ สามเหลี่ยมมุมฉาก จากรูปจะได้ ฉาก2 = ข้าม2 + ชิด2 อัตราส่วนด้านของ ∆ มุมฉากที่ควรจํา 1) 3 : 4 : 5 2) 5 : 12 : 13 3) 7 : 24 : 25 4) 8 : 15 : 17 อัตราส่วนตรีโกณมิติ มี 6 อัตราส่วนสําคัญ ดังนี้ 1) sin 𝐴𝐴 = ข้ามฉาก 4) cot 𝐴𝐴 = ชิดข้าม 2) cos 𝐴𝐴 = ชิดฉาก 5) sec 𝐴𝐴 = ฉากชิด 3) tan 𝐴𝐴 = ข้ามชิด 6) cosec 𝐴𝐴 = ฉากข้าม สูตรพื้นฐาน 8 สูตร 1. sin𝐴𝐴 cosec𝐴𝐴 = 1 2. cos 𝐴𝐴 sec𝐴𝐴 = 1 3. tan𝐴𝐴 cot𝐴𝐴 = 1 4. sin2 𝐴𝐴 + cos2 𝐴𝐴 = 1 5. sec2 𝐴𝐴 − tan2 𝐴𝐴 = 1 6. cosec2 𝐴𝐴 − cot2 𝐴𝐴 = 1 7. tan 𝐴𝐴 = sin 𝐴𝐴 cos 𝐴𝐴 8. cot 𝐴𝐴 = cos 𝐴𝐴 sin 𝐴𝐴 อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30° , 45° และ 60°
  • 10. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 10 º··Õè 7 ÅíҴѺáÅÐ͹ءÃÁ ลําดับ 1) ลําดับเลขคณิต คือ ลําดับที่มีผลต่างของพจน์ที่ n+1 กับพจน์ที่ n เป็นค่าคงตัว พจน์ทั่วไป dnaan )1(1 −+= เมื่อ d คือ ผลต่างร่วม, 𝑎𝑎1 คือ พจน์ที่ 1 2) ลําดับเรขาคณิต คือ ลําดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n+1 ต่อพจน์ที่ n เป็นค่าคงตัว พจน์ทั่วไป 1 1 − = n n raa เมื่อ r คือ อัตราส่วนร่วม, 𝑎𝑎1 คือ พจน์ที่ 1 อนุกรม 1) สัญลักษณ์แทนการบวก ( ∑ อ่านว่า ซิกมา ) สมบัติของ ∑ 2) อนุกรมเลขคณิต (Arithmetic Series) สูตรผลบวก [ ]dna n Sn )1(2 2 1 −+= หรือ [ ]nn aa n S += 1 2 มี 2 สูตร ต้องจําได้เลือกใช้ตามสะดวกเลยจ้า 3) อนุกรมเรขาคณิต (Geometric Series) สูตรผลบวก 1 )1( 1 )1( 11 − − = − − = r ra r ra S nn n ∑∑∑ === −=− N i i N i i N i ii yxyx 111 )(.4 cNccccc N N i =++++=∑=    ....1 1 ∑∑ == = N i i N i i xccx 11 .2 ∑ ∑∑ = == +=+ N i N i ii N i ii yxyx 1 11 )(.3 (ดึงค่าคงที่ไปอยู่หน้า ∑ ได้) (∑ ผลบวก สามารถกระจายได้) (∑ ผลลบ สามารถกระจายได้) 2 )1( ...321.5 1 + =++++=∑= nn ni n i 6 )12)(1( ...321.6 2222 1 2 ++ =++++=∑= nnn ni n i 22 1 3333 1 3 2 )1( ...321.7       + =      =++++= ∑∑ == nn ini n i n i
  • 11. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 11 º··Õè 8 ¤ÇÒÁ¹‹Ò¨Ð໚¹ กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ กฎข้อ 1 ในการทํางาน 2 อย่าง โดยที่งานอย่างแรกสามารถทําได้ n1 วิธี และในแต่ละวิธีของงานอย่างแรก สามารทํางานอย่างที่สองได้อีก n2 วิธี ∴จํานวนวิธีการทํางานทั้ง 2 อย่าง = n1⋅n2 วิธี กฎข้อ 2 ในการทํางาน k อย่าง ถ้างานอย่างแรก มีวิธีทําได้ n1 วิธี ในแต่ละวิธี ของงานอย่างแรก สามารถทํางานที่ 2 ได้อีก n2 วิธีและในแต่ละวิธีของงานอย่างแรกและงานอย่างที่ 2 สามารถทํางานอย่างที่ 3 ได้อีก n3 วิธี เป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ∴จํานวนวิธีการทํางานทั้ง k อย่าง = n1⋅n2⋅n3⋅ … ⋅nk วิธี ความน่าจะเป็น 1) การทดลองสุ่ม คือ การทดลองหรือการกระทําที่ทราบว่าผลลัพธ์อาจเป็นอะไรได้บ้าง แต่ไม่สามารถบอกได้อย่าง แน่นอนว่า ในแต่ละครั้งที่ทดลองนั้นผลจะเกิดเป็นอะไร เช่น การโยนเหรียญ, การทอดลูกเต๋า 2) แซมเปิลสเปซ(S) คือ เซตของผลลัพธ์ที่อาจเป็นไปได้ทั้งหมดจากการทดลองสุ่ม 3) เหตุการณ์(E) คือ สับเซตของแซมเปิลสเปซ 4) สูตรความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E )( )( )( Sn En EP == สมบัติของความน่าจะเป็น 1) 0 ≤ P(E) ≤ 1 2) ถ้า P(E) = 0 แสดงว่า E = φ นั่นคือ เหตุการณ์นั้นไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเลย 3) ถ้า P(E) = 1 แสดงว่า E = S นั่นคือ เหตุการณ์นั้น เกิดขึ้นแน่นอน 4) P(E′) = 1 – P(E) 5) P(A∪B) = P(A) + P(B) – P(A∩B) 6) P(A∪B) = P(A) + P(B) เมื่อ A และ B เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน 7) P(A - B) = P(A) – P(A∩B)
  • 12. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 12 º··Õè 9-10 ʶԵÔáÅТŒÍÁÙÅ áÅСÒÃÇÔà¤ÃÒÐˏ¢ŒÍÁÙÅàº×éͧµŒ¹ สถิติเบื้องต้น 1. ความหมายของสถิติ สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่บอกข้อเท็จจริงต่างๆ ซึ่งตัวเลขนี้จะอยู่ในลักษณะ รวบยอดที่ได้มาจากการวิเคราะห์การเปรียบเทียบ หรือ การคํานวณ หรือ หมายถึง ศาสตร์ที่เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะ ซึ่งเกี่ยวข้องกับ กระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.2 การนําเสนอข้อมูล 1.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 1.4 การตีความหมายของข้อมูล 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลสถิติ หรือ ข้อมูล หมายถึง ข้อความจริงในเรื่องใด เรื่องหนึ่งที่ เราสนใจศึกษา ซึ่งอาจเป็นตัวเลข หรือข้อความก็ได้ ข้อสําคัญ ข้อมูลเพียงหน่วยเดียวไม่ถือเป็นข้อมูลสถิติ ประเภทของข้อมูล ถ้าจําแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูล หรือ สังเกตจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ดช. วีกิจ สํารวจส่วนสูงของเพื่อนในชั้นเรียนโดยการเดินถามทีละคน 2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลที่ได้จากข้อมูลที่ผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น จากรายงานต่างๆ ของหน่วยงานราชการ องค์การ หรือ เอกชน บทความจากหนังสือพิมพ์ วารสาร เป็นต้น ลักษณะของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลที่ใช้แทนขนาด หรือ ปริมาณ ซึ่งสามารถ ชั่ง ตวง วัด ออกมาเป็นตัวเลขได้โดยตรง 2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้โดยตรง แต่วัดออกมาโดยอาศัยคุณลักษณะของสิ่งนั้นๆแต่ใน บางกรณี ข้อมูลเชิงคุณภาพวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ แต่ตัวเลขเหล่านั้นไม่สามารถนํามาหาค่าเฉลี่ยได้ เช่น เบอร์เสื้อ เบอร์รองเท้า วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล มีวิธีเก็บได้หลายวิธี คือ 1) จากทะเบียนประวัติ เป็นการเก็บรวบรวมจากฝ่ายทะเบียนต่างๆ เช่น ฝ่ายทะเบียนของโรงเรียน เขต โรงพยาบาล หน่วยงานของ รัฐ การเก็บรวบรวมโดยทําการคัดลอกซึ่งข้อมูลที่ได้มีความเชื่อถือค่อนข้างสูง ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 2) จากการสํารวจ บางครั้งข้อมูลจากทะเบียนประวัติมีไม่ครบตามที่ต้องการ หรือไม่ได้เก็บรวบรวมไว้จึงจําเป็นต้องใช้วิธีสํารวจเอง โดยใช้แบบสอบถาม หรือ การสัมภาษณ์ 3) จากการสังเกต ข้อมูลบางประเภทใช้แบบสอบถามหรือ สัมภาษณ์ อาจไม่ได้ข้อเท็จจริง ก็ต้องใช้วิธีแอบดูหรือสังเกตเอง 4) จากการทดลอง ส่วนใหญ่เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เป็นข้อมูลที่ถูกต้องและ เชื่อถือได้มาก ถ้าไม่เกิดความ คลาดเคลื่อนจากการวัด หรือ การวางแผนการทดลอง 3. การนําเสนอข้อมูล การนําเสนออย่างไม่เป็นแบบแผน เช่น - การนําเสนอในรูปข้อความ คือ การนําข้อมูลมาเสนอเป็นส่วนหนึ่งของข้อความ - การนําเสนอในรูปกึ่งตาราง คือ การนําเสนอข้อมูลโดยแยกตัวเลขออกจากข้อความ การนําเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน เช่น - การนําเสนอด้วยตาราง แผนภูมิ หรือ แผนภาพ กราฟเส้น 4. การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น - ตารางแจกแจงความถี่ - ฮิสโตแกรม - รูปหลายเหลี่ยมของความถี่ - เส้นโค้งความถี่ - เส้นโค้งความถี่สะสม
  • 13. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 13 สัญลักษณ์แทนการบวก ( ∑ อ่านว่า ซิกมา) สมบัติของ ∑ ค่ากลางของข้อมูล ค่ากลางของข้อมูล ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ข้อมูลแจกแจงความถี่ 1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (𝑥𝑥̅) • ค่าเฉลี่ยเลขคณิต • ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วง นํ้าหนัก • ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม 𝑥𝑥̅ = ∑ 𝑥𝑥 𝑁𝑁 𝑥𝑥̅ = 𝑤𝑤1 𝑥𝑥1 + 𝑤𝑤2 𝑥𝑥2 + ⋯ + 𝑤𝑤𝑛𝑛 𝑥𝑥𝑛𝑛 𝑤𝑤1 + 𝑤𝑤2 + ⋯ + 𝑤𝑤𝑛𝑛 𝑥𝑥̅ = 𝑁𝑁1 𝑥𝑥1 + 𝑁𝑁2 𝑥𝑥2 + ⋯ + 𝑁𝑁𝑛𝑛 𝑥𝑥𝑛𝑛 𝑁𝑁1 + 𝑁𝑁2 + ⋯ + 𝑁𝑁𝑛𝑛 𝑥𝑥̅ = ∑ 𝑓𝑓𝑓𝑓 𝑁𝑁 หรือ 𝑥𝑥̅ = 𝐴𝐴 + � ∑ 𝑓𝑓𝑓𝑓 𝑁𝑁 � 𝐼𝐼 - - 2) มัธยฐาน (Median = Med.) 1) เรียงข้อมูลจากน้อยไปหามาก 2) ข้อมูลที่อยู่ตรงกลางคือ มัธยฐาน 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀. = 𝐿𝐿 + � 𝑁𝑁 2 − ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿 𝑓𝑓𝑚𝑚 � 𝐼𝐼 3) ฐานนิยม (Mode = Mo.) ข้อมูลที่ซํ้ากันมากที่สุด คือ ฐานนิยม 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀 = 𝐿𝐿 + � 𝑑𝑑1 𝑑𝑑1 + 𝑑𝑑2 � 𝐼𝐼 4) ค่ากึ่งกลางพิสัย (Mid - range) 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀 − 𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟 = 𝑥𝑥𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 + 𝑥𝑥𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚𝑚 2 𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀𝑀 − 𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟𝑟 = ขอบบน + ขอบล่าง 2 5) ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิก (Harmonic Mean = H.M.) 𝐻𝐻. 𝑀𝑀. = 𝑁𝑁 1 𝑥𝑥1 + 1 𝑥𝑥2 + ⋯ + 1 𝑥𝑥𝑁𝑁 - 6) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (Geometric Mean = G.M.) 𝐺𝐺. 𝑀𝑀. = �𝑥𝑥1 ∙ 𝑥𝑥2 ∙ … ∙ 𝑥𝑥𝑁𝑁 𝑁𝑁 - ∑∑∑ === −=− N i i N i i N i ii yxyx 111 )(.4 cNccccc N N i =++++=∑=    ....1 1 ∑∑ == = N i i N i i xccx 11 .2 ∑ ∑∑ = == +=+ N i N i ii N i ii yxyx 1 11 )(.3 (ดึงค่าคงที่ไปอยู่หน้า ∑ ได้) (∑ ผลบวก สามารถกระจายได้) (∑ ผลลบ สามารถกระจายได้)
  • 14. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 14 การวัดตําแหน่งที่ของข้อมูล การวัดตําแหน่งที่ของข้อมูล ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ข้อมูลแจกแจงความถี่ 1) ควอไทล์(แบ่ง 4 ส่วน) 1)เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก 2)หาตําแหน่ง สูตร 3)เทียบคะแนนจาก คะแนน = ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตําแหน่ง + (เศษ x ช่วงห่างของข้อมูล) 1)สร้างช่องความถี่สะสมของข้อมูลที่ กําหนดให้ 2)หาตําแหน่ง สูตร 3)เทียบคะแนน สูตร 𝑄𝑄𝑟𝑟 = 𝐿𝐿 + � 𝑁𝑁𝑁𝑁 4 − ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿 𝑓𝑓𝑚𝑚 � 𝐼𝐼 2) เดไซล์ (แบ่ง 10 ส่วน) 1)เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก 2) หาตําแหน่ง สูตร 3)เทียบคะแนนจาก คะแนน = ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตําแหน่ง + (เศษ x ช่วงห่างของข้อมูล) 1)สร้างช่องความถี่สะสมของข้อมูลที่ กําหนดให้ 2)หาตําแหน่ง สูตร 3)เทียบคะแนน สูตร 𝐷𝐷𝑟𝑟 = 𝐿𝐿 + � 𝑁𝑁𝑁𝑁 10 − ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿 𝑓𝑓𝑚𝑚 � 𝐼𝐼 3) เปอร์เซ็นไทล์ (แบ่ง 100 ส่วน) 1)เรียงข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก 2) หาตําแหน่ง สูตร 3)เทียบคะแนนจาก คะแนน = ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตําแหน่ง + (เศษ x ช่วงห่างของข้อมูล) 1)สร้างช่องความถี่สะสมของข้อมูลที่ กําหนดให้ 2)หาตําแหน่ง สูตร 3)เทียบคะแนน สูตร 𝑃𝑃𝑟𝑟 = 𝐿𝐿 + � 𝑁𝑁𝑁𝑁 100 − ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿 𝑓𝑓𝑚𝑚 � 𝐼𝐼 เมื่อ 𝐿𝐿 คือ ขอบล่างของชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่ ∑ 𝑓𝑓𝐿𝐿 คือ ความถี่สะสมของชั้นที่อยู่ก่อนจะถึงชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่ 𝑓𝑓𝑚𝑚 คือ ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่ 𝐼𝐼 คือ ความกว้างของอันตรภาคชั้นที่ Qr, Dr, Pr อยู่ 𝑛𝑛 คือ จํานวนข้อมูลทั้งหมด r N Qr × + = 4 )1( r N Dr × + = 10 )1( r N Pr × + = 100 )1( r N Qr ×= 4 r N Dr ×= 10 r N Pr ×= 100
  • 15. DekTalent.com เอกสารสรุปสูตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน รวม ม.4-5-6 สรุปโดยพี่โต๋ เรียนคณิตศาสตร์ ม.4-5-6/O-Net/PAT1 ออนไลน์ได้ที่ www.dektalent.com หน้า 15 การวัดการกระจายของข้อมูล การวัดการกระจายสัมบูรณ์ การวัดการกระจายสัมพัทธ์ 1) พิสัย ( ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่) พิสัย ( ข้อมูลแจกแจงความถี่) พิสัย = ขอบบนชั้นสูงสุด – ขอบล่างชั้นตํ่าสุด 1) สัมประสิทธิ์ของพิสัย 2) ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 2) สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 3) ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ( ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่) ( ข้อมูลแจกแจงความถี่) 3) สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 4) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่) หรือ ( ข้อมูลแจกแจงความถี่) หรือ 4) สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน ความแปรปรวน (𝑆𝑆2 ) 1) ความแปรปรวน ( )2 2222 2 )( x N x N x N x N xx S −=        −= − = ∑∑∑∑ 2) ความแปรปรวนรวม 2 21 21 21 2 2 2 1         + + − + + = ∑ ∑∑ ∑ NN xx NN xx minmax xx −= minmax minmax xx xx + − = 2 .. 13 QQ DQ − = 13 13 QQ QQ + − = N xx DM i∑ − =. N xxf DM i∑ − =. N xx DS N i i∑= − = 1 2 )( .. 22 ..         −= ∑∑ N x N x DS N xxf DS N i ii∑= − = 1 2 )( .. 22 ..         −= ∑∑ N fx N fx DS x DM .. = x DS .. =