SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  60
Télécharger pour lire hors ligne
Basic Knowledge
of Process and
Instrument Diagram (P&ID)
ความรู้เบื้องต้นเรื่องแผนภาพ
และอุปกรณ์ต่างๆในกระบวนการผลิต
ความหมายของแผนภาพกระบวนการผลิต1
สัญลักษณ์ระบบเครื่องมือวัด และควบคุม2
ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต3
ก๊าซธรรมชาติ และส่วนประกอบ4
5 กระบวนการแยก และผลิตก๊าซธรรมชาติ
Contents
Location Map of Gas Separation Plant6
ความหมายของแผนภาพกระบวนการผลิต
แผนภาพ กระบวนการผลิต
(Piping & Instrument Diagrams: P&ID)
แผนภาพกระบานการผลิต (Process
Engineering Flow schemes : PESF หรือ
Piping & Instrument Diagram : P & ID )
จะแสดงรายละเอียดดังนี้
1. กระบวนการผลิต (Process)
2. อุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลต่างๆ ที่มีอยู่ใน
กระบวนการผลิต
3. ชนิดของระบบเครื่องมือวัดและควบคุม
สัญลักษณ์ระบบเครื่องมือวัด และควบคุม
สัญลักษณ์ระบบเครื่องมือวัดและควบคุม
*มาตรฐาน ISA-S5.1 ISA-5.1-1984 (R1992)
Establishes a uniform means of designating instruments and
instrumentation systems used for measurement and control.
The different needs of various organizations are recognized
(where not inconsistent with the objectives of the standard) by providing
alternative symbolism methods.
A number of options are provided for adding information or
simplifying the symbolism, if desired. Includes additional information on
symbolism for function blocks, function designations, computer functions,
and programmable logic control.
ตัวอักษรหน้าที่การทางาน (Identification letters)
หน้าที่การทางาน (Instrument function) เช่น
FIC ( Flow Indicator Controller )
PDAHH (Pressure Differential Alarm High High )
TAH (Temperature Alarm High )
FT (Flow Transmitter )
LT ( Level Transmitter )
ลาดับหมายเลขอุปกรณ์ (Sequence number) เช่น
Distributed Control system : DCS เริ่มจาก 1001 ถึง 2999
Safety Instrumented System : SIS เริ่มจาก 3001 ถึง 4999
Fire & Gas System : FGS เริ่มจาก 5001 ถึง 6999
ลาดับย่อย (Suffix) เช่น
ปั๊ม 2 ตัว คือ P- 101A และ P-101B
Pressure Gauge ด้านขาออกของปั๊มทั้งสอง คือ PG-101A และ PG-101B
สัญลักษณ์ตาแหน่งและการเข้าถึงเครื่องมือวัด ( Location / Accessibility )
เครื่องมือวัดที่ติดตั้งอยู่ในบริเวณใช้งาน (locally Mounted)
เครื่องมือวัดที่ติดอยู่บนแผงควบคุมในห้องควบคุม (Panel Mounted)
เครื่องมือวัดที่ติดตั้งอยู่ในตู้ควบคุม (Inside Cabinet mounted)
เครื่องมือวัดที่ติดตั้งอยู่บนแผงควบคุมในบริเวณใช้งาน
(Local Panel Mounted)
เครื่องมือวัดที่แสดงค่าอยู่บนจอแสดงผลของระบบควบคุมที่สามารถติดต่อกับ
ผู้ปฏิบัติงานได้(Share Display)
เครื่องมือวัดในระบบวัดคุมนิรภัย
( Safety Instrument System or Emergency Shut Down System)
เครื่องมือวัดในระบบวัดคุมนิรภัยที่สามารถติดต่อกับผู้ปฏิบัติงานได้
(Safety Instrument System operator)
สัญลักษณ์ฟังก์ชันการคานวณ ( Calculation function symbol )
SUMMING HIGH SELECT
DIFFERENCE LOW SELECT
DIVIDING HIGH LIMIT
MULTIPLYING LOW LIMIT
BIAS SQUARE ROOT
สัญลักษณ์เส้น ( Line Symbol )
ส่วนเชื่อต่อกับกระบวนการผลิต(Process Connection Line)
สัญญาณลม (Pneumatic Signal)
สัญญาณไฟฟ้ า (Electrical hard wired Signal)
สัญญาณไฮโดรลิค (Hydraulic Signal)
Capillary Tube
สัญญาณไฟฟ้ าทางโปรแกรม (Software Link Signal)
สัญลักษณ์ Primary Element ( Primary Element symbol )
Orifice Plate
Vortex
Rota meter
Magnetic
Coriolis
Positive Displacement
Turbine
Venturi
Ultrasonic
Pilot tube
หมายเลขประจาท่อ ( Pipe line number )
แบบที่ 1
แบบที่ 2
ฉนวน (Insulation)
ชนิดท่อ (Line class)
ลาดับหมายเลขท่อ (Line number)
ขนาดของท่อ (Line size)
ชนิดของไหล (Type of fluid)
ฉนวน (Insulation)
ชนิดท่อ (Line class)
ลาดับหมายเลขท่อ (Line number)
ขนาดของท่อ (Line size)
ชนิดของไหล (Type of fluid)
ชนิดของไหล (Type of fluid)
BFW Boiler Feed Water IA Instrument
Air
CWS Cooling Water Supply ME Methanol
CWR Cooling Water Return N Nitrogen
FG Fuel Gas PA Plant Air
FO Fuel oil WO Wash Oil
FW Fire Water WW Waste Water
Gate Valve Globe Valve Check Valve
Page 14
สัญลักษณ์วาล์วควบคุม (Valve Type – 1)
Pressure Relief
Valve
Control Valve
– Single Port
Control Valve
– Double Port
Page 15
สัญลักษณ์วาล์วควบคุม (Valve Type – 2)
Butterfly Valve Ball Valve
Page 16
สัญลักษณ์วาล์วควบคุม (Valve Type – 3)
สัญลักษณ์วาล์วควบคุม ( Control Valve Symbol )
ตาแหน่งของวาล์วควบคุมเมื่อเกิดความผิดพลาด มี 3 แบบ คือ
1. FO (Failure Open)
2. FC (Failure Close)
3. FL (Failure Lock)
สัญลักษณ์วาล์วควบคุม ( Control Valve Symbol )
GATE VALVE
CHECK VALVE
GLOBE VALVE
BALL VALVE
PLUG VALVE
ANGLE VALVE
RELIEF VALVE
3 WAYS VALVE
MANUAL VALVE
DIAPHRAGM
DIAPHRAGMWITHHANDWHEEL
CYLINDER / PISTON
MOTOR OPERATED
SOLENOID VALVE
SOLENOID VALVE WITH
MANUAL RESET
เป็นการควบคุมอัตราการไหลโดยใช้ตัวควบคุมในระบบ
การควบคุมพื้นฐานโดยอินพุทเป็นเครื่องมือวัดการไหล
แบบ Orifice Plate ต่อร่วมกับเครื่องมือวัดความดัน
แตกต่าง (Diff. Pressure) และเอาต์พุตเป็นวาล์วควบคุม
แบบ GLOBE
เป็นการควบคุมอัตราการไหลโดยใช้การควบคุมแบบ
Cascade กับการวัดอุณหภูมิ
ฟังก์ชันควบคุม ( Control Function )
เป็นการแสดงค่าความแตกต่างของอุณหภูมิ
จากเครื่องมือวัดอุหภูมิจากจุดการวัดที่
แตกต่างกันและมีสัญญาณเตือน (Alarm)
เมื่อมีค่าสูงกว่าค่าที่กาหนด
เป็นการแสดงฟังก์ชั่นนิรภัยสาหรับป้ องกัน
ความดันเมื่อมีค่าสูงกว่าค่าที่กาหนดด้วยการ
ลงมติแบบ 1oo2 (One out Of One voting )
จากนั้นส่วนประมวลจะส่งสัญญาณไปปิด
วาล์วนิรภัย
อุปกรณ์อื่น ๆ ( Other Equipment )
CENTRIFUGAL PUMP
COMPRESSURE / TURBINE
TRAY COLUMN
HEAT EXCHANGER
HEAT EXCHANGER
AIR COOLED
FURNACE
DOME ROOF TANK
INTERNAL FLOATING
SPHERE
Page 22
สัญลักษณ์ต่างๆใน P&ID – (1)
Page 23
สัญลักษณ์ต่างๆใน P&ID – (2)
Page 24
สัญลักษณ์ต่างๆใน P&ID – (3)
Page 25
P&ID Line Numbering
Page 26
P&ID Equipment Numbering
กระบวนการผลิตได้มีการแบ่งแยกหมวดหมู่อักษร
ในการกาหนดชื่อให้กับอุปกรณ์เหล่านั้น
CLASS SUBJECT DESCRIPTION
A Mixing Equipment Agitators, Aerators, Mechanical Mixers
B Blower Centrifugal Blower, Positive
Displacement Blower, Fans
C Compressors Centrifugal, Reciprocating, Screw,
Vacuum
D Mechanical Driver Electrical and Pneumatic Motors, Diesel
Engines, Steam and Gas Turbines
E Heat Exchangers Unfired Heat Exchanges, Condensers,
Coolers, Reboilers, Vaporizers and
Heating Coils, Double Pipe, Sprial, Plate
& Frame, Air Cooler
CLASS SUBJECT DESCRIPTION
F Furnaces Fired Heaters, Furnaces, Boilers, Kilns
P Pumps Horizontal and Vertical Centrifugal,
Position Displacement, Vertical Canned,
Screw, Gear, Sump
R Reactors
T Tower/Columns
TK Tanks API atmospheric and low pressure
U Miscellaneous
Equipment
Filters, Bins, Silos
V Drums Separators, Driers, Accumulators
กระบวนการผลิตได้มีการแบ่งแยกหมวดหมู่อักษร
ในการกาหนดชื่อให้กับอุปกรณ์เหล่านั้น
ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต
ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต
1.แยกของไหลด้วย V-101
2.ของไหลเข้ามาจาก P&ID 100-02
ด้วยท่อขนาด 12” ทนความดันที่ 150
ไม่มีฉนวนหุ้มท่อ
ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
3. ควบคุมความดันภายในถังโดยฟังก์ชัน
ควบคุมความดัน (P-10001)
4. ตัวควบคุมความดัน PICA สัญญาณ
เตือนความดันสูงแสดงผลจอการควบคุม
และติดต่อกับผู้ใช้งานได้หรือ DCS
5. มีอินพุตเป็น PT ต่ออยู่กับหน้าแปลน
ขนาด 2”
6. สัญญาณเอาต์พุตของ PICA จะส่ง
สัญญาณไฟฟ้ าไป Globe with Diaphragm
Actuator เพื่อควบคุมของไหลเข้าถัง
7. Control Valve มีขนาด 10” เป็นแบบ
Air failure Close
ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
8. มีระบบป้ องกันความดันเกิน ด้วย
ฟังก์ชัน (P10002) มีตัวประมวลผล
ความดันสูง PSHH บนระบบวัดคุม
นิรภัย มี PT ต่ออยู่กับหน้าแปลน
ขนาด 2”
9. PSHH ส่งสัญญาณไฟฟ้ าไปยัง
วาล์วเปิด/ปิด (On/Off valve) แบบ
Ball with Piston Actuator มีขนาด
12” เป็นแบบ Air failure Close
10. มีอัตราการรั่วไหลแบบ tight
shut off หรือ Class V มีสวิทช์
แสดงตาแหน่งเมื่อวาล์วเปิดไป
แสดงผลบนระบบ DCS
30/12/57
ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
11. ไอหรือก๊าซจะออกทางด้านบน
ของถังเพื่อออกไปกระบวนการส่วน
อื่นต่อไป
12. ของเหลวจะออกทางด้านล่าง มี
ปั๊ม 2 ตัว เพื่อใช้ทางานหนึ่งตัวและ
เตรียมพร้อมทางาน (Stand by) อีก
หนึ่งตัว
13. ส่งของเหลวไปไปยัง
กระบวนการอื่นต่อไป
ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
ก๊าซธรรมชาติ และส่วนประกอบ
ก๊าซธรรมชาติ และส่วนประกอบ
ก๊าซธรรมชาติและก๊าซธรรมชาติเหลว เป็นสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนที่รวมตัวกันโดยมีสัดส่วนของอะตอมที่แตกต่างกัน คือ
ก๊าซมีเทน (methane;CH4) ก๊าซอีเทน (ethane; C2H6) ก๊าซโพรเพน
(propane;C3H8) ก๊าซบิวเทน (butane; C4H10) ก๊าซเพนเทน (pentane;
C5H12) ก๊าซเฮกเทน (hextane; C6H14) ก๊าซเฮปเทน (heptane; C7H16)
และก๊าซออกเทน (octane; C8H19) นอกจากนี้ยังอาจมีก๊าซอื่นเจือปนอยู่
ด้วย เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และก๊าซ
ไนโตรเจน
ก๊าซธรรมชาติและก๊าซธรรมชาติเหลว
Slug catcher
ธรรมชาติเหลว
ก๊าซมีเทน (C1) Sales Gas
เชื้ อเพลิงโรงงานอุตสาหกรรมและวัตถุดิบอุตสาหกรรมปุ๋ ยเคมี
ก๊าซอีเทน (C2) Ethane
ไม่มีการผลิต สาหรับโรงแยกก๊าซฯ สงขลา
ก๊าซโปรเพน (C3) Propane
วัตถุดิบสาหรับผสมก๊าซหุงต้ม
ก๊าซหุงต้ม (LPG, (C3+C4))
เชื้ อเพลิงในครัวเรือนและรถยนต์
ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL, (C5 +)
วัตถุดิบโรงกลั่นน้ามันเพื่อผลิตเป็ นน้ามันเบนซิน
Natural Gas from JDA
ประกอบด้วยก๊าซ
มีเทน (CH4 หรือ C1)
อีเทน (C2H6 หรือ C2)
โปรเพน (C3H8 หรือ C3)
บิวเทน (C4H10 หรือ C4)
เพนเทนและโมเลกุลไฮโดรคาร์บอน ที่หนักกว่า
(C5H12 หรือ C5+)
GSP
Natural Gas Spec:
-กามะถันไม่เกิน 80 ppm
-ก๊าซไฮโดรเจนซับไฟด์ ไม่เกิน 55 ppm
-ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไม่เกิน 23 %
-ค่าความร้อน 850 – 1,150 btu/cf
-ปรอทไม่เกิน 50 mcgr/m3
กระบวนแยก และผลิตก๊าซธรรมชาติ
กระบวนการแยก และผลิตก๊าซธรรมชาติ
(Gas Separation Plant Process)
1. หน่วยกาจัดปรอท
2. หน่วยแยก CO2
3. หน่วยกาจัดความชื้น
4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์
4.1 หน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว
4.2 หน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน
4.3 หน่วยกลั่นแยก Ethane
4.4 หน่วยกลั่นแยก Propane
4.5 หน่วยกลั่นแยก LPG
5. หน่วยเพิ่มความดันก๊าซ
6. หน่วยถังจัดเก็บผลิตภัณฑ์
7. หน่วย Utilities
MRU/CO2 /DEHY
MRU/CO2 /DEHY
H/C
DEWPOINTING
T = 20 oC
P = 78.8 barg
GAS
TREATMENT
PLANT
SALES GAS
COMPRESSION
DE-ETHANIZER
ABSORBER
DE-DEPROPANIZER
LPG COLUMNDE-ETHANIZER
COLUMN
H2S REMOVAL UNIT
H2S REMOVAL UNIT
H2S REMOVAL UNIT
PROPANE
NGL
LPG
Gas
Receiving
Facility
FILTER COALESCER
Gas Separation Plant Process
1
2
3 4.1
4.2
4.3 4.4 4.5
5
6
6
61. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
2. ระบบ Hot Oil:
ใช้ให้ความร้อนในกระบวนการผลิต
3. ระบบอากาศอัด
4. ระบบผลิตก๊าซไนโตรเจน
5. ระบบผลิต Deminerized Water
6. ระบบบาบัดน้าเสีย
7. ระบบน้าดับเพลิง
8. ระบบ Fuel Gas
7
1. หน่วยกาจัดสารปรอท
วัตถุประสงค์
เพื่อกาจัดสารปรอทในก๊าซธรรมชาติ โดยสารปรอทจะกัดกร่อนอุปกรณ์แลกเปลี่ยน
ความร้อนที่ทาจากของอลูมิเนียม ดังนั้นจึงต้องมีการกาจัดออก
การทางาน
ก๊าซจาก Gas Receiving Facility จะไหลผ่านตัวกรอง Filter Coalescer เพื่อป้องกันเศษ
สิ่งสกปรก แล้วจากนั้นจึงไหลผ่านตัวดูดซับปรอท ปรอทจะถูกกักไว้ในตัวดูดซับและก๊าซที่ผ่าน
ออกมา ก็จะไม่มีสารปรอท
2. หน่วยแยก CO2 -- หอดูดซับ CO2
วัตถุประสงค์
เพื่อแยก CO2 ในก๊าซธรรมชาติ เหตุผลที่ต้องแยก CO2 ออกจากก๊าซธรรมชาติ คือ
1. เพื่อให้ก๊าซธรรมชาติมีค่าความร้อนตามมาตรฐาน
2. เพื่อลดการสูญเปล่าของพลังงานที่ใช้ส่งก๊าซไปยังลูกค้า
3. ป้องกันการกัดกร่อนของท่อก๊าซ เนื่องจาก CO2 รวมกับน้าแล้วจะเกิดสารที่เป็น
กรดขึ้น
การทางาน
ก๊าซจากหน่วยดูดซับปรอท จะไหลผ่าน Packing ในหอดูดซับ CO2 ขึ้นไปด้านบน ส่วน
สารละลาย Amine ถูกเติมเข้าด้านบนของ Packing แล้วไหลลงมาด้านล่าง โดยใน Packing สาร
Amine จะทาหน้าที่ละลาย CO2 ออกมาจากก๊าซ จากนั้นสาร Amine ที่มี CO2 ละลายอยู่จะถูกส่งไป
กาจัด CO2 ออกต่อไป
ส่วนก๊าซจากหอดูดซับจะถูกส่งไปยังถังพัก เพื่อให้น้าแยกตัวออกมาและส่งไปยังหน่วย
กาจัดความชื้นต่อไป
วัตถุประสงค์
เพื่อกาจัด CO2 ออกจากสาร Amine และนาสาร Amine กลับมาหมุนเวียนเพื่อดูดซับ CO2 ใหม่
การทางาน
สาร Amine จากก้นหอดูดซับ CO2 จะผ่านกังหัน เพื่อลดความดันลง แล้วไปยังถัง Flash Drum
ซึ่งมีตัวให้ความร้อน เพื่อให้ CO2 และสาร Amine แยกตัวออกจากกัน โดย CO2 จะออกทางด้านบนของ
Flash Drum ส่วนสาร Amine จะออกทางด้านล่างของ Flash Drum ทั้ง2ส่วนจะไปเข้าที่ตรงกลางหอ
Stripper CO2 จะขึ้นไปด้านบนผ่าน Packing ซึ่งจะมีน้าไหลสวนลงมา เพื่อดักจับไม่ให้สาร Amine
ออกไปกับ CO2 และ CO2 ก็จะถูกส่งไปเผา เพื่อกาจัด H2S และไฮโดรคาร์บอนที่เตาเผาต่อไป สาร
Amine จะไหลลงมาด้านล่างของหอ
tripper โดยจะมีก๊าซจากหอดูดซับ CO2 ไหลสวนขึ้นมา เพื่อไล่ CO2 ที่อาจตกค้างออกจากสาร
Amine สุดท้ายก็จะได้สาร Amine ที่พร้อมนาไปใช้ใหม่
2. หน่วยแยก CO2 -- กระบวนการกาจัด CO2 ออกจากสาร Amine
สาร Amine จากก้นหอ Stripper จะถูก pump โดย Booster Pump เพื่อเพิ่มความดันเป็น 7
BarG จากนั้นจึงเพิ่มความดันเป็น 90 BarG ด้วย Lean Solution Pump และส่งเข้าหอดูดซับ CO2
ต่อไป
สาร Amine จาก Booster Pump จะมีอีกส่วนหนึ่งที่แบ่งส่งไปยังตัวกรองและถังกรอง
Carbon เพื่อกาจัดสิ่งเจือปนออกจากระบบ ป้องกันการเกิดปัญหาสาร Amine สกปรกและเกิดเป็น
โฟม
น้าที่แยกออกมาจากถังพักในส่วนของหอดูดซับ CO2 จะถูกส่งมายังถัง Decanter เพื่อ
แยกก๊าซและน้ามันทีปะปนมาออก และส่วนที่เป็นน้าก็จะถูกส่งกลับเข้าระบบผ่านทางถังกรอง
Carbon ต่อไป
2. หน่วยแยก CO2 -- กระบวนการกาจัด CO2 ออกจากสาร Amine (ต่อ)
วัตถุประสงค์
เพื่อกาจัดความชื้นออกจากก๊าซธรรมชาติ เนื่องจากความชื้นจะทาให้เกิดน้าแข็งอุดตันใน
หน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว
การทางาน
ก๊าซธรรมชาติจากหน่วยแยกCO2 จะแลกเปลี่ยนความร้อนกับก๊าซจากหน่วยควบคุมจุด
กลั่นตัว เพื่อลดอุณหภูมิลงและผ่านต่อไปยัง Filter Coalescer เพื่อแยกละอองน้าออก จากนั้นก๊าซจะ
ผ่านสารดูดความชื้น (Molecular sieve) ได้เป็นก๊าซที่ปราศจากความชื้นไปเข้าหน่วยการกลั่นแยก
ผลิตภัณฑ์ต่อไป
สารดูดความชื้นจะมี 2 ชุด โดยสลับกันทางานทีละชุด ขณะที่ชุดหนึ่งทางาน อีกชุดหนึ่ง
ก็จะถูกไล่ความชื้นออก เพื่อนากลับมาใช้งานต่อ
การไล่ความชื้น มี 3 ขั้นตอนหลัก คือ
1. การให้ความร้อน (Heating)
2. การทาให้เย็นลง (Cooling)
3. Stand By
3. หน่วยกาจัดความชื้น
วัตถุประสงค์
เพื่อทาให้สารไฮโดรคาร์บอนในก๊าซแยกตัวออกมา โดยใช้วิธีลดความดันและอุณหภูมิก๊าซ
การทางาน
ก๊าซจากหน่วยกาจัดความชื้นจะถูกลดอุณหภูมิโดยแลกเปลี่ยนความร้อนกับ ก๊าซจาก
หน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน จากนั้นก๊าซจะถูกส่งไปยังถังพักเพื่อแยกไฮโดรคาร์บอนที่
ควบแน่นออก ก๊าซที่ออกจากถังพักจะเข้าสู่ Expander ซึ่งจะลดความดันและอุณหภูมิของก๊าซลงอีก
ออกจากจุดนี้จะมีของผสมระหว่างก๊าซกับของเหลวเกิดขึ้น ซึ่งจะไปยังหน่วยดูดซับสาร
ไฮโดรคาร์บอนต่อไป
ก๊าซจากหน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอนที่ผ่านการแลกเปลี่ยนความร้อนที่หน่วยกาจัด
ความชื้นมาแล้ว จะถูกเพิ่มความดันโดย Compressor ซึ่งทางานด้วยพลังงานจาก Expander และไปยัง
หน่วยเพิ่มความดันต่อไป
ส่วนสารไฮโดรคาร์บอนที่มาจากถังพัก จะถูกส่งไปยังหน่วยกลั่นแยก Ethane ต่อไป
4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์
4.1 หน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว
วัตถุประสงค์
เพื่อดักจับผลิตภัณฑ์ไฮโดรคาร์บอนออกจากก๊าซให้ได้มากที่สุด
การทางาน
ก๊าซและของเหลวจาก Expander จะเข้าสู่ด้านล่างหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน ก๊าซจะ
ลอยขึ้นด้านบนสัมผัสกับของเหลวจากเครื่องควบแน่น ซึ่งจะช่วยละลายไฮโดรคาร์บอนในก๊าซ
ออกมา จากนั้นก๊าซที่ได้ก็จะแลกเปลี่ยนความร้อนกับไอที่มาจากหอกลั่นแยก Ethane และไป
แลกเปลี่ยนความร้อนอีกในหน่วยควบคุมจุดกลั่นตัวและที่หน่วยกาจัดความชื้น ของเหลวจากก้นหอ
จะถูกส่งต่อไปยังหอกลั่นแยก Ethane ต่อไป
4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์
4.2 หน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน
วัตถุประสงค์
เพื่อกลั่นแยก Ethane ที่ตกค้าง ออกจากผลิตภัณฑ์
การทางาน
ของเหลวจากหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน จะถูกป้อนเข้าที่ด้านบนของหอแยก Ethane
ของเหลวจะไหลผ่าน Tray ลงมาและถูกต้มโดย Reboiler ที่ก้นหอ ไอที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นสู่ด้านบน
และช่วยสกัด Ethane ที่ตกค้างออกจากตัวของเหลว จากนั้นไอก็จะไปแลกเปลี่ยนความร้อนที่
ด้านบนหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน เพื่อเป็นตัวของเหลวที่ใช้ดูดซับ
ส่วนของเหลวจากถังพักของหน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว ก็จะถูกป้อนเข้าที่หอแยก Ethane
เช่นกัน
ของเหลวที่สกัด Ethane ออกแล้วที่ก้นหอ จะถูกส่งไปยังหอกลั่นแยก Propane ต่อไป
4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์
4.3 หน่วยกลั่นแยก Ethane
วัตถุประสงค์
เพื่อกลั่นแยก Propane ส่วนเกิน ออกจากผลิตภัณฑ์
การทางาน
ของเหลวจากหอแยก Ethane จะถูกป้ อนเข้าที่กลางหอกลั่นแยก Propane ของเหลวจะ
ไหลผ่าน Tray ลงมาและถูกต้มโดย Reboiler ที่ก้นหอ ไอที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นสู่ด้านบนและช่วยสกัด
Propane ส่วนเกินออกจากตัวของเหลว จากนั้นไอก็จะถูกลดอุณหภูมิด้วยพัดลมที่ด้านบนของหอ
เกิดเป็น Propane ในสถานะของเหลว ซึ่งของเหลวนี้ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับเข้าหอเพื่อเป็น Reflux อีก
ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับไปยังยอดหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน เพื่อให้กลายเป็น Sales Gas ต่อไป
ของเหลวที่สกัด Propane ส่วนเกินออกแล้วที่ก้นหอ จะถูกส่งไปยังหอกลั่นแยก LPG
ต่อไป
4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์
4.4 หน่วยกลั่นแยก Propane
วัตถุประสงค์
เพื่อกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ LPG และ NGL
การทางาน
ของเหลวจากหอแยก Propane จะถูกป้อนเข้าที่กลางหอกลั่นแยก LPG ของเหลวจะไหล
ผ่าน Tray ลงมาและถูกต้มโดย Reboiler ที่ก้นหอ ไอที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นสู่ด้านบนและช่วยสกัด
Propane ส่วนเกินออกจากตัวของเหลว จากนั้นไอก็จะถูกลดอุณหภูมิด้วยพัดลมที่ด้านบนของหอ
เกิดเป็น LPG ในสถานะของเหลว ซึ่งของเหลวนี้ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับเข้าหอเพื่อเป็น Reflux อีก
ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับไปยังถังเก็บผลิตภัณฑ์ LPG
ของเหลวที่ก้นหอ จะถูกลดอุณหภูมิด้วยพัดลมและส่งไปยังถังเก็บผลิตภัณฑ์ NGL
นอกจากนี้ยังมีสาร Pentane ส่วนหนึ่งซึ่งต้องดึงออกจากหอกลั่นแยก LPG เพื่อให้
คุณภาพของ NGL เป็นไปตามมาตรฐาน โดยจะฉีดเข้าผสมกับ Sales Gas ต่อไป
4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์
4.5 หน่วยกลั่นแยก LPG
4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์
วัตถุประสงค์
เพื่อเพิ่มความดันของ Sales Gas และส่งต่อไปยังระบบท่อของลูกค้า
การทางาน
ก๊าซจาก Compressor ในหน่วยควบคุมจุดกลั่นตัวจะผ่านพัดลม เพื่อลดอุณหภูมิ และเข้า
สู่ Sales gas Compressor เพิ่มความดันและส่งผลิตภัณฑ์ Sales Gas เข้าสู่ระบบท่อต่อไป
5. หน่วยเพิ่มความดันก๊าซ
วัตถุประสงค์
เพื่อเก็บผลิตภัณฑ์ LPG และ NGL ที่ได้จากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ และรอ
ขนส่งด้วยรถบรรทุกก๊าซ
การทางาน
มีลักษณะเป็นถังเก็บแรงดัน มีระบบควบคุมแรงดัน และป้องกันการระเบิดเนื่องจาก
แรงดันเดิน รวมถึงมีระบบตรวจสอบก๊าซรั่ว และระบบสเปรย์ดับเพลิง
6. หน่วยถังเก็บผลิตภัณฑ์ – LPG และ NGL
7.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
- Gas Turbine Generator กาลังผลิตรวม 32 MW
- Diesel Generator ใช้เป็นแหล่งไฟฟ้าฉุกเฉิน กาลังผลิต 1 MW
7.2 ระบบ Hot Oil: ใช้ให้ความร้อนในกระบวนการผลิต
2.1 Hot Oil low temp ใช้ความร้อนจากไอเสียของ Gas Turbine Generator ในการผลิต
อุณหภูมิ 175 C
2.2 Hot Oil high temp ได้จากการนา Hot Oil low temp มาให้ความร้อนเพิ่มโดยเตาเผา
อุณหภูมิ 200 C
7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 1
7.3 ระบบอากาศอัด
3.1 Instrument Air: อากาศอัดที่ใช้ในการทางานของ Instrument ต่างๆ
3.2 Utility Air: อากาศอัดที่ใช้ในการซ่อมบารุงทั่วไป
7.4 ระบบผลิตก๊าซไนโตรเจน: นาอากาศอัดมาผ่าน membrane ผลิตเป็นก๊าซไนโตรเจนใช้
ในกระบวนการผลิต
7.5 ระบบผลิต Deminerized Water
- เป็นการนาน้ามาผ่าน membrane เพื่อกรองแร่ธาตุต่างๆออก ซึ่งน้า Demin จะใช้ใน
หน่วยแยก CO2
7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 2
7.6 ระบบบาบัดน้าเสีย
6.1 Oily Water Treatment: ใช้บาบัดน้าเสียที่ปนเปื้อนไฮโดรคาร์บอนจาก
กระบวนการผลิต
6.2 Contaminate Rain Water Treatment: ใช้บาบัดน้าฝนที่มาจากพื้นที่การผลิต
7.7 ระบบน้าดับเพลิง
7.1 Jockey Pump: ทาหน้าที่รักษาความดันน้าดับเพลิงในระบบขณะStandby
7.2 Fire Pump: ทาหน้าที่จ่ายน้าดับเพลิงไปยังหัวฉีดดับเพลิงกรณีไฟไหม้
7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 3
7.8 ระบบ Fuel Gas
6.1 High Pressure Fuel Gas: ความดัน 30 BarG ใช้สาหรับ Gas Turbine
Generator, Gas Turbine Compressor
6.2 Low Pressure Fuel Gas: ความดัน 8 BarG ใช้สาหรับอุปกรณ์ให้ความร้อน
อื่นๆ เช่น Incinerator, Hot Oil Heater
7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 4
Location Map of Gas Separation Plant
Location Map of Gas Separation Plant
04 January
2003
Admin Building
Control Room
and Workshop
Utility Area
Pipeline Facility
Storage and Loading
Facilities
GSP-1 GSP-2 (Future)
Pipeline Facility
Utility Area
Utility Area
01 p&id - 1

Contenu connexe

Tendances

Simple Piping design
Simple Piping designSimple Piping design
Simple Piping designMusa Sabri
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
Piping and Insruementaion Diagrams
Piping and Insruementaion DiagramsPiping and Insruementaion Diagrams
Piping and Insruementaion DiagramsTejas Deshpande
 
Piping handbook
Piping handbookPiping handbook
Piping handbookpdmsguy
 
Flange management presentation
Flange management presentationFlange management presentation
Flange management presentationMohamed Gaafar
 
applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangers
 applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangers applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangers
applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangersKathiresan Nadar
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01Narasak Sripakdee
 
Steam Header Design in Fluid (Steam) System
Steam Header Design in Fluid (Steam) SystemSteam Header Design in Fluid (Steam) System
Steam Header Design in Fluid (Steam) SystemAditya Deshpande
 
Thermal Design Margins for Heat Exchangers
Thermal Design Margins for Heat ExchangersThermal Design Margins for Heat Exchangers
Thermal Design Margins for Heat ExchangersGerard B. Hawkins
 
Bin and hopper design lecture
Bin and hopper design lectureBin and hopper design lecture
Bin and hopper design lectureElvis Lee
 
Control Valve Types
Control Valve TypesControl Valve Types
Control Valve TypesBrannon Gant
 
Plant design piping & equipment team scope of work
Plant design  piping & equipment team scope of workPlant design  piping & equipment team scope of work
Plant design piping & equipment team scope of workraghunathan janarthanan
 
Presentacion asme seccion viii division 2 2013
Presentacion asme seccion viii division 2 2013Presentacion asme seccion viii division 2 2013
Presentacion asme seccion viii division 2 2013leo040490
 
Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes. Vol. 1_ Criteria...
Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes.  Vol. 1_ Criteria...Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes.  Vol. 1_ Criteria...
Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes. Vol. 1_ Criteria...sayujkaruvathil1
 
Fabrication of storage buffer vessel
Fabrication of storage buffer vesselFabrication of storage buffer vessel
Fabrication of storage buffer vesselNishant Rao Boddeda
 
Pipe drafting and Design.pdf
Pipe drafting and Design.pdfPipe drafting and Design.pdf
Pipe drafting and Design.pdfRubenAngelFelix1
 

Tendances (20)

Simple Piping design
Simple Piping designSimple Piping design
Simple Piping design
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
Piping and Insruementaion Diagrams
Piping and Insruementaion DiagramsPiping and Insruementaion Diagrams
Piping and Insruementaion Diagrams
 
Piping handbook
Piping handbookPiping handbook
Piping handbook
 
Flange management presentation
Flange management presentationFlange management presentation
Flange management presentation
 
applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangers
 applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangers applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangers
applications of the principles of heat transfer to design of heat exchangers
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
Piping Introduction
Piping IntroductionPiping Introduction
Piping Introduction
 
Steam Header Design in Fluid (Steam) System
Steam Header Design in Fluid (Steam) SystemSteam Header Design in Fluid (Steam) System
Steam Header Design in Fluid (Steam) System
 
Thermal Design Margins for Heat Exchangers
Thermal Design Margins for Heat ExchangersThermal Design Margins for Heat Exchangers
Thermal Design Margins for Heat Exchangers
 
Bin and hopper design lecture
Bin and hopper design lectureBin and hopper design lecture
Bin and hopper design lecture
 
Control Valve Types
Control Valve TypesControl Valve Types
Control Valve Types
 
Plant design piping & equipment team scope of work
Plant design  piping & equipment team scope of workPlant design  piping & equipment team scope of work
Plant design piping & equipment team scope of work
 
Presentacion asme seccion viii division 2 2013
Presentacion asme seccion viii division 2 2013Presentacion asme seccion viii division 2 2013
Presentacion asme seccion viii division 2 2013
 
Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes. Vol. 1_ Criteria...
Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes.  Vol. 1_ Criteria...Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes.  Vol. 1_ Criteria...
Companion Guide to the Asme Boiler & Pressure Vessel Codes. Vol. 1_ Criteria...
 
01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut
 
Fabrication of storage buffer vessel
Fabrication of storage buffer vesselFabrication of storage buffer vessel
Fabrication of storage buffer vessel
 
6 1
6 16 1
6 1
 
Boiler training Maesod
Boiler training  MaesodBoiler training  Maesod
Boiler training Maesod
 
Pipe drafting and Design.pdf
Pipe drafting and Design.pdfPipe drafting and Design.pdf
Pipe drafting and Design.pdf
 

Plus de MaloNe Wanger

Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1MaloNe Wanger
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1MaloNe Wanger
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนCorrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนMaloNe Wanger
 

Plus de MaloNe Wanger (11)

2 tpm edit
2 tpm edit2 tpm edit
2 tpm edit
 
1 intro
1 intro1 intro
1 intro
 
1 intro
1 intro1 intro
1 intro
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r1
 
01 lubrucation - r1
01 lubrucation - r101 lubrucation - r1
01 lubrucation - r1
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1Corrosion สนิมและการกัดกร่อน   r1
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน r1
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
01 lubrucation
01 lubrucation01 lubrucation
01 lubrucation
 
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อนCorrosion สนิมและการกัดกร่อน
Corrosion สนิมและการกัดกร่อน
 

01 p&id - 1

  • 1. Basic Knowledge of Process and Instrument Diagram (P&ID) ความรู้เบื้องต้นเรื่องแผนภาพ และอุปกรณ์ต่างๆในกระบวนการผลิต
  • 4. แผนภาพ กระบวนการผลิต (Piping & Instrument Diagrams: P&ID) แผนภาพกระบานการผลิต (Process Engineering Flow schemes : PESF หรือ Piping & Instrument Diagram : P & ID ) จะแสดงรายละเอียดดังนี้ 1. กระบวนการผลิต (Process) 2. อุปกรณ์หรือเครื่องจักรกลต่างๆ ที่มีอยู่ใน กระบวนการผลิต 3. ชนิดของระบบเครื่องมือวัดและควบคุม
  • 6. สัญลักษณ์ระบบเครื่องมือวัดและควบคุม *มาตรฐาน ISA-S5.1 ISA-5.1-1984 (R1992) Establishes a uniform means of designating instruments and instrumentation systems used for measurement and control. The different needs of various organizations are recognized (where not inconsistent with the objectives of the standard) by providing alternative symbolism methods. A number of options are provided for adding information or simplifying the symbolism, if desired. Includes additional information on symbolism for function blocks, function designations, computer functions, and programmable logic control.
  • 7. ตัวอักษรหน้าที่การทางาน (Identification letters) หน้าที่การทางาน (Instrument function) เช่น FIC ( Flow Indicator Controller ) PDAHH (Pressure Differential Alarm High High ) TAH (Temperature Alarm High ) FT (Flow Transmitter ) LT ( Level Transmitter ) ลาดับหมายเลขอุปกรณ์ (Sequence number) เช่น Distributed Control system : DCS เริ่มจาก 1001 ถึง 2999 Safety Instrumented System : SIS เริ่มจาก 3001 ถึง 4999 Fire & Gas System : FGS เริ่มจาก 5001 ถึง 6999 ลาดับย่อย (Suffix) เช่น ปั๊ม 2 ตัว คือ P- 101A และ P-101B Pressure Gauge ด้านขาออกของปั๊มทั้งสอง คือ PG-101A และ PG-101B
  • 8. สัญลักษณ์ตาแหน่งและการเข้าถึงเครื่องมือวัด ( Location / Accessibility ) เครื่องมือวัดที่ติดตั้งอยู่ในบริเวณใช้งาน (locally Mounted) เครื่องมือวัดที่ติดอยู่บนแผงควบคุมในห้องควบคุม (Panel Mounted) เครื่องมือวัดที่ติดตั้งอยู่ในตู้ควบคุม (Inside Cabinet mounted) เครื่องมือวัดที่ติดตั้งอยู่บนแผงควบคุมในบริเวณใช้งาน (Local Panel Mounted) เครื่องมือวัดที่แสดงค่าอยู่บนจอแสดงผลของระบบควบคุมที่สามารถติดต่อกับ ผู้ปฏิบัติงานได้(Share Display) เครื่องมือวัดในระบบวัดคุมนิรภัย ( Safety Instrument System or Emergency Shut Down System) เครื่องมือวัดในระบบวัดคุมนิรภัยที่สามารถติดต่อกับผู้ปฏิบัติงานได้ (Safety Instrument System operator)
  • 9. สัญลักษณ์ฟังก์ชันการคานวณ ( Calculation function symbol ) SUMMING HIGH SELECT DIFFERENCE LOW SELECT DIVIDING HIGH LIMIT MULTIPLYING LOW LIMIT BIAS SQUARE ROOT
  • 10. สัญลักษณ์เส้น ( Line Symbol ) ส่วนเชื่อต่อกับกระบวนการผลิต(Process Connection Line) สัญญาณลม (Pneumatic Signal) สัญญาณไฟฟ้ า (Electrical hard wired Signal) สัญญาณไฮโดรลิค (Hydraulic Signal) Capillary Tube สัญญาณไฟฟ้ าทางโปรแกรม (Software Link Signal)
  • 11. สัญลักษณ์ Primary Element ( Primary Element symbol ) Orifice Plate Vortex Rota meter Magnetic Coriolis Positive Displacement Turbine Venturi Ultrasonic Pilot tube
  • 12. หมายเลขประจาท่อ ( Pipe line number ) แบบที่ 1 แบบที่ 2 ฉนวน (Insulation) ชนิดท่อ (Line class) ลาดับหมายเลขท่อ (Line number) ขนาดของท่อ (Line size) ชนิดของไหล (Type of fluid) ฉนวน (Insulation) ชนิดท่อ (Line class) ลาดับหมายเลขท่อ (Line number) ขนาดของท่อ (Line size) ชนิดของไหล (Type of fluid)
  • 13. ชนิดของไหล (Type of fluid) BFW Boiler Feed Water IA Instrument Air CWS Cooling Water Supply ME Methanol CWR Cooling Water Return N Nitrogen FG Fuel Gas PA Plant Air FO Fuel oil WO Wash Oil FW Fire Water WW Waste Water
  • 14. Gate Valve Globe Valve Check Valve Page 14 สัญลักษณ์วาล์วควบคุม (Valve Type – 1)
  • 15. Pressure Relief Valve Control Valve – Single Port Control Valve – Double Port Page 15 สัญลักษณ์วาล์วควบคุม (Valve Type – 2)
  • 16. Butterfly Valve Ball Valve Page 16 สัญลักษณ์วาล์วควบคุม (Valve Type – 3)
  • 17. สัญลักษณ์วาล์วควบคุม ( Control Valve Symbol ) ตาแหน่งของวาล์วควบคุมเมื่อเกิดความผิดพลาด มี 3 แบบ คือ 1. FO (Failure Open) 2. FC (Failure Close) 3. FL (Failure Lock)
  • 18. สัญลักษณ์วาล์วควบคุม ( Control Valve Symbol ) GATE VALVE CHECK VALVE GLOBE VALVE BALL VALVE PLUG VALVE ANGLE VALVE RELIEF VALVE 3 WAYS VALVE MANUAL VALVE DIAPHRAGM DIAPHRAGMWITHHANDWHEEL CYLINDER / PISTON MOTOR OPERATED SOLENOID VALVE SOLENOID VALVE WITH MANUAL RESET
  • 19. เป็นการควบคุมอัตราการไหลโดยใช้ตัวควบคุมในระบบ การควบคุมพื้นฐานโดยอินพุทเป็นเครื่องมือวัดการไหล แบบ Orifice Plate ต่อร่วมกับเครื่องมือวัดความดัน แตกต่าง (Diff. Pressure) และเอาต์พุตเป็นวาล์วควบคุม แบบ GLOBE เป็นการควบคุมอัตราการไหลโดยใช้การควบคุมแบบ Cascade กับการวัดอุณหภูมิ
  • 20. ฟังก์ชันควบคุม ( Control Function ) เป็นการแสดงค่าความแตกต่างของอุณหภูมิ จากเครื่องมือวัดอุหภูมิจากจุดการวัดที่ แตกต่างกันและมีสัญญาณเตือน (Alarm) เมื่อมีค่าสูงกว่าค่าที่กาหนด เป็นการแสดงฟังก์ชั่นนิรภัยสาหรับป้ องกัน ความดันเมื่อมีค่าสูงกว่าค่าที่กาหนดด้วยการ ลงมติแบบ 1oo2 (One out Of One voting ) จากนั้นส่วนประมวลจะส่งสัญญาณไปปิด วาล์วนิรภัย
  • 21. อุปกรณ์อื่น ๆ ( Other Equipment ) CENTRIFUGAL PUMP COMPRESSURE / TURBINE TRAY COLUMN HEAT EXCHANGER HEAT EXCHANGER AIR COOLED FURNACE DOME ROOF TANK INTERNAL FLOATING SPHERE
  • 25. Page 25 P&ID Line Numbering
  • 27. กระบวนการผลิตได้มีการแบ่งแยกหมวดหมู่อักษร ในการกาหนดชื่อให้กับอุปกรณ์เหล่านั้น CLASS SUBJECT DESCRIPTION A Mixing Equipment Agitators, Aerators, Mechanical Mixers B Blower Centrifugal Blower, Positive Displacement Blower, Fans C Compressors Centrifugal, Reciprocating, Screw, Vacuum D Mechanical Driver Electrical and Pneumatic Motors, Diesel Engines, Steam and Gas Turbines E Heat Exchangers Unfired Heat Exchanges, Condensers, Coolers, Reboilers, Vaporizers and Heating Coils, Double Pipe, Sprial, Plate & Frame, Air Cooler
  • 28. CLASS SUBJECT DESCRIPTION F Furnaces Fired Heaters, Furnaces, Boilers, Kilns P Pumps Horizontal and Vertical Centrifugal, Position Displacement, Vertical Canned, Screw, Gear, Sump R Reactors T Tower/Columns TK Tanks API atmospheric and low pressure U Miscellaneous Equipment Filters, Bins, Silos V Drums Separators, Driers, Accumulators กระบวนการผลิตได้มีการแบ่งแยกหมวดหมู่อักษร ในการกาหนดชื่อให้กับอุปกรณ์เหล่านั้น
  • 31. 2.ของไหลเข้ามาจาก P&ID 100-02 ด้วยท่อขนาด 12” ทนความดันที่ 150 ไม่มีฉนวนหุ้มท่อ ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
  • 32. 3. ควบคุมความดันภายในถังโดยฟังก์ชัน ควบคุมความดัน (P-10001) 4. ตัวควบคุมความดัน PICA สัญญาณ เตือนความดันสูงแสดงผลจอการควบคุม และติดต่อกับผู้ใช้งานได้หรือ DCS 5. มีอินพุตเป็น PT ต่ออยู่กับหน้าแปลน ขนาด 2” 6. สัญญาณเอาต์พุตของ PICA จะส่ง สัญญาณไฟฟ้ าไป Globe with Diaphragm Actuator เพื่อควบคุมของไหลเข้าถัง 7. Control Valve มีขนาด 10” เป็นแบบ Air failure Close ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
  • 33. 8. มีระบบป้ องกันความดันเกิน ด้วย ฟังก์ชัน (P10002) มีตัวประมวลผล ความดันสูง PSHH บนระบบวัดคุม นิรภัย มี PT ต่ออยู่กับหน้าแปลน ขนาด 2” 9. PSHH ส่งสัญญาณไฟฟ้ าไปยัง วาล์วเปิด/ปิด (On/Off valve) แบบ Ball with Piston Actuator มีขนาด 12” เป็นแบบ Air failure Close 10. มีอัตราการรั่วไหลแบบ tight shut off หรือ Class V มีสวิทช์ แสดงตาแหน่งเมื่อวาล์วเปิดไป แสดงผลบนระบบ DCS 30/12/57 ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
  • 34. 11. ไอหรือก๊าซจะออกทางด้านบน ของถังเพื่อออกไปกระบวนการส่วน อื่นต่อไป 12. ของเหลวจะออกทางด้านล่าง มี ปั๊ม 2 ตัว เพื่อใช้ทางานหนึ่งตัวและ เตรียมพร้อมทางาน (Stand by) อีก หนึ่งตัว 13. ส่งของเหลวไปไปยัง กระบวนการอื่นต่อไป ตัวอย่างแผนภาพกระบวนการผลิต-ต่อ
  • 36. ก๊าซธรรมชาติ และส่วนประกอบ ก๊าซธรรมชาติและก๊าซธรรมชาติเหลว เป็นสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนที่รวมตัวกันโดยมีสัดส่วนของอะตอมที่แตกต่างกัน คือ ก๊าซมีเทน (methane;CH4) ก๊าซอีเทน (ethane; C2H6) ก๊าซโพรเพน (propane;C3H8) ก๊าซบิวเทน (butane; C4H10) ก๊าซเพนเทน (pentane; C5H12) ก๊าซเฮกเทน (hextane; C6H14) ก๊าซเฮปเทน (heptane; C7H16) และก๊าซออกเทน (octane; C8H19) นอกจากนี้ยังอาจมีก๊าซอื่นเจือปนอยู่ ด้วย เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และก๊าซ ไนโตรเจน
  • 37. ก๊าซธรรมชาติและก๊าซธรรมชาติเหลว Slug catcher ธรรมชาติเหลว ก๊าซมีเทน (C1) Sales Gas เชื้ อเพลิงโรงงานอุตสาหกรรมและวัตถุดิบอุตสาหกรรมปุ๋ ยเคมี ก๊าซอีเทน (C2) Ethane ไม่มีการผลิต สาหรับโรงแยกก๊าซฯ สงขลา ก๊าซโปรเพน (C3) Propane วัตถุดิบสาหรับผสมก๊าซหุงต้ม ก๊าซหุงต้ม (LPG, (C3+C4)) เชื้ อเพลิงในครัวเรือนและรถยนต์ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL, (C5 +) วัตถุดิบโรงกลั่นน้ามันเพื่อผลิตเป็ นน้ามันเบนซิน Natural Gas from JDA ประกอบด้วยก๊าซ มีเทน (CH4 หรือ C1) อีเทน (C2H6 หรือ C2) โปรเพน (C3H8 หรือ C3) บิวเทน (C4H10 หรือ C4) เพนเทนและโมเลกุลไฮโดรคาร์บอน ที่หนักกว่า (C5H12 หรือ C5+) GSP Natural Gas Spec: -กามะถันไม่เกิน 80 ppm -ก๊าซไฮโดรเจนซับไฟด์ ไม่เกิน 55 ppm -ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไม่เกิน 23 % -ค่าความร้อน 850 – 1,150 btu/cf -ปรอทไม่เกิน 50 mcgr/m3
  • 39. กระบวนการแยก และผลิตก๊าซธรรมชาติ (Gas Separation Plant Process) 1. หน่วยกาจัดปรอท 2. หน่วยแยก CO2 3. หน่วยกาจัดความชื้น 4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ 4.1 หน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว 4.2 หน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน 4.3 หน่วยกลั่นแยก Ethane 4.4 หน่วยกลั่นแยก Propane 4.5 หน่วยกลั่นแยก LPG 5. หน่วยเพิ่มความดันก๊าซ 6. หน่วยถังจัดเก็บผลิตภัณฑ์ 7. หน่วย Utilities
  • 40. MRU/CO2 /DEHY MRU/CO2 /DEHY H/C DEWPOINTING T = 20 oC P = 78.8 barg GAS TREATMENT PLANT SALES GAS COMPRESSION DE-ETHANIZER ABSORBER DE-DEPROPANIZER LPG COLUMNDE-ETHANIZER COLUMN H2S REMOVAL UNIT H2S REMOVAL UNIT H2S REMOVAL UNIT PROPANE NGL LPG Gas Receiving Facility FILTER COALESCER Gas Separation Plant Process 1 2 3 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5 6 6 61. เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า 2. ระบบ Hot Oil: ใช้ให้ความร้อนในกระบวนการผลิต 3. ระบบอากาศอัด 4. ระบบผลิตก๊าซไนโตรเจน 5. ระบบผลิต Deminerized Water 6. ระบบบาบัดน้าเสีย 7. ระบบน้าดับเพลิง 8. ระบบ Fuel Gas 7
  • 41. 1. หน่วยกาจัดสารปรอท วัตถุประสงค์ เพื่อกาจัดสารปรอทในก๊าซธรรมชาติ โดยสารปรอทจะกัดกร่อนอุปกรณ์แลกเปลี่ยน ความร้อนที่ทาจากของอลูมิเนียม ดังนั้นจึงต้องมีการกาจัดออก การทางาน ก๊าซจาก Gas Receiving Facility จะไหลผ่านตัวกรอง Filter Coalescer เพื่อป้องกันเศษ สิ่งสกปรก แล้วจากนั้นจึงไหลผ่านตัวดูดซับปรอท ปรอทจะถูกกักไว้ในตัวดูดซับและก๊าซที่ผ่าน ออกมา ก็จะไม่มีสารปรอท
  • 42. 2. หน่วยแยก CO2 -- หอดูดซับ CO2 วัตถุประสงค์ เพื่อแยก CO2 ในก๊าซธรรมชาติ เหตุผลที่ต้องแยก CO2 ออกจากก๊าซธรรมชาติ คือ 1. เพื่อให้ก๊าซธรรมชาติมีค่าความร้อนตามมาตรฐาน 2. เพื่อลดการสูญเปล่าของพลังงานที่ใช้ส่งก๊าซไปยังลูกค้า 3. ป้องกันการกัดกร่อนของท่อก๊าซ เนื่องจาก CO2 รวมกับน้าแล้วจะเกิดสารที่เป็น กรดขึ้น การทางาน ก๊าซจากหน่วยดูดซับปรอท จะไหลผ่าน Packing ในหอดูดซับ CO2 ขึ้นไปด้านบน ส่วน สารละลาย Amine ถูกเติมเข้าด้านบนของ Packing แล้วไหลลงมาด้านล่าง โดยใน Packing สาร Amine จะทาหน้าที่ละลาย CO2 ออกมาจากก๊าซ จากนั้นสาร Amine ที่มี CO2 ละลายอยู่จะถูกส่งไป กาจัด CO2 ออกต่อไป ส่วนก๊าซจากหอดูดซับจะถูกส่งไปยังถังพัก เพื่อให้น้าแยกตัวออกมาและส่งไปยังหน่วย กาจัดความชื้นต่อไป
  • 43. วัตถุประสงค์ เพื่อกาจัด CO2 ออกจากสาร Amine และนาสาร Amine กลับมาหมุนเวียนเพื่อดูดซับ CO2 ใหม่ การทางาน สาร Amine จากก้นหอดูดซับ CO2 จะผ่านกังหัน เพื่อลดความดันลง แล้วไปยังถัง Flash Drum ซึ่งมีตัวให้ความร้อน เพื่อให้ CO2 และสาร Amine แยกตัวออกจากกัน โดย CO2 จะออกทางด้านบนของ Flash Drum ส่วนสาร Amine จะออกทางด้านล่างของ Flash Drum ทั้ง2ส่วนจะไปเข้าที่ตรงกลางหอ Stripper CO2 จะขึ้นไปด้านบนผ่าน Packing ซึ่งจะมีน้าไหลสวนลงมา เพื่อดักจับไม่ให้สาร Amine ออกไปกับ CO2 และ CO2 ก็จะถูกส่งไปเผา เพื่อกาจัด H2S และไฮโดรคาร์บอนที่เตาเผาต่อไป สาร Amine จะไหลลงมาด้านล่างของหอ tripper โดยจะมีก๊าซจากหอดูดซับ CO2 ไหลสวนขึ้นมา เพื่อไล่ CO2 ที่อาจตกค้างออกจากสาร Amine สุดท้ายก็จะได้สาร Amine ที่พร้อมนาไปใช้ใหม่ 2. หน่วยแยก CO2 -- กระบวนการกาจัด CO2 ออกจากสาร Amine
  • 44. สาร Amine จากก้นหอ Stripper จะถูก pump โดย Booster Pump เพื่อเพิ่มความดันเป็น 7 BarG จากนั้นจึงเพิ่มความดันเป็น 90 BarG ด้วย Lean Solution Pump และส่งเข้าหอดูดซับ CO2 ต่อไป สาร Amine จาก Booster Pump จะมีอีกส่วนหนึ่งที่แบ่งส่งไปยังตัวกรองและถังกรอง Carbon เพื่อกาจัดสิ่งเจือปนออกจากระบบ ป้องกันการเกิดปัญหาสาร Amine สกปรกและเกิดเป็น โฟม น้าที่แยกออกมาจากถังพักในส่วนของหอดูดซับ CO2 จะถูกส่งมายังถัง Decanter เพื่อ แยกก๊าซและน้ามันทีปะปนมาออก และส่วนที่เป็นน้าก็จะถูกส่งกลับเข้าระบบผ่านทางถังกรอง Carbon ต่อไป 2. หน่วยแยก CO2 -- กระบวนการกาจัด CO2 ออกจากสาร Amine (ต่อ)
  • 45. วัตถุประสงค์ เพื่อกาจัดความชื้นออกจากก๊าซธรรมชาติ เนื่องจากความชื้นจะทาให้เกิดน้าแข็งอุดตันใน หน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว การทางาน ก๊าซธรรมชาติจากหน่วยแยกCO2 จะแลกเปลี่ยนความร้อนกับก๊าซจากหน่วยควบคุมจุด กลั่นตัว เพื่อลดอุณหภูมิลงและผ่านต่อไปยัง Filter Coalescer เพื่อแยกละอองน้าออก จากนั้นก๊าซจะ ผ่านสารดูดความชื้น (Molecular sieve) ได้เป็นก๊าซที่ปราศจากความชื้นไปเข้าหน่วยการกลั่นแยก ผลิตภัณฑ์ต่อไป สารดูดความชื้นจะมี 2 ชุด โดยสลับกันทางานทีละชุด ขณะที่ชุดหนึ่งทางาน อีกชุดหนึ่ง ก็จะถูกไล่ความชื้นออก เพื่อนากลับมาใช้งานต่อ การไล่ความชื้น มี 3 ขั้นตอนหลัก คือ 1. การให้ความร้อน (Heating) 2. การทาให้เย็นลง (Cooling) 3. Stand By 3. หน่วยกาจัดความชื้น
  • 46. วัตถุประสงค์ เพื่อทาให้สารไฮโดรคาร์บอนในก๊าซแยกตัวออกมา โดยใช้วิธีลดความดันและอุณหภูมิก๊าซ การทางาน ก๊าซจากหน่วยกาจัดความชื้นจะถูกลดอุณหภูมิโดยแลกเปลี่ยนความร้อนกับ ก๊าซจาก หน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน จากนั้นก๊าซจะถูกส่งไปยังถังพักเพื่อแยกไฮโดรคาร์บอนที่ ควบแน่นออก ก๊าซที่ออกจากถังพักจะเข้าสู่ Expander ซึ่งจะลดความดันและอุณหภูมิของก๊าซลงอีก ออกจากจุดนี้จะมีของผสมระหว่างก๊าซกับของเหลวเกิดขึ้น ซึ่งจะไปยังหน่วยดูดซับสาร ไฮโดรคาร์บอนต่อไป ก๊าซจากหน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอนที่ผ่านการแลกเปลี่ยนความร้อนที่หน่วยกาจัด ความชื้นมาแล้ว จะถูกเพิ่มความดันโดย Compressor ซึ่งทางานด้วยพลังงานจาก Expander และไปยัง หน่วยเพิ่มความดันต่อไป ส่วนสารไฮโดรคาร์บอนที่มาจากถังพัก จะถูกส่งไปยังหน่วยกลั่นแยก Ethane ต่อไป 4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ 4.1 หน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว
  • 47. วัตถุประสงค์ เพื่อดักจับผลิตภัณฑ์ไฮโดรคาร์บอนออกจากก๊าซให้ได้มากที่สุด การทางาน ก๊าซและของเหลวจาก Expander จะเข้าสู่ด้านล่างหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน ก๊าซจะ ลอยขึ้นด้านบนสัมผัสกับของเหลวจากเครื่องควบแน่น ซึ่งจะช่วยละลายไฮโดรคาร์บอนในก๊าซ ออกมา จากนั้นก๊าซที่ได้ก็จะแลกเปลี่ยนความร้อนกับไอที่มาจากหอกลั่นแยก Ethane และไป แลกเปลี่ยนความร้อนอีกในหน่วยควบคุมจุดกลั่นตัวและที่หน่วยกาจัดความชื้น ของเหลวจากก้นหอ จะถูกส่งต่อไปยังหอกลั่นแยก Ethane ต่อไป 4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ 4.2 หน่วยดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน
  • 48. วัตถุประสงค์ เพื่อกลั่นแยก Ethane ที่ตกค้าง ออกจากผลิตภัณฑ์ การทางาน ของเหลวจากหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน จะถูกป้อนเข้าที่ด้านบนของหอแยก Ethane ของเหลวจะไหลผ่าน Tray ลงมาและถูกต้มโดย Reboiler ที่ก้นหอ ไอที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นสู่ด้านบน และช่วยสกัด Ethane ที่ตกค้างออกจากตัวของเหลว จากนั้นไอก็จะไปแลกเปลี่ยนความร้อนที่ ด้านบนหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน เพื่อเป็นตัวของเหลวที่ใช้ดูดซับ ส่วนของเหลวจากถังพักของหน่วยควบคุมจุดกลั่นตัว ก็จะถูกป้อนเข้าที่หอแยก Ethane เช่นกัน ของเหลวที่สกัด Ethane ออกแล้วที่ก้นหอ จะถูกส่งไปยังหอกลั่นแยก Propane ต่อไป 4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ 4.3 หน่วยกลั่นแยก Ethane
  • 49. วัตถุประสงค์ เพื่อกลั่นแยก Propane ส่วนเกิน ออกจากผลิตภัณฑ์ การทางาน ของเหลวจากหอแยก Ethane จะถูกป้ อนเข้าที่กลางหอกลั่นแยก Propane ของเหลวจะ ไหลผ่าน Tray ลงมาและถูกต้มโดย Reboiler ที่ก้นหอ ไอที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นสู่ด้านบนและช่วยสกัด Propane ส่วนเกินออกจากตัวของเหลว จากนั้นไอก็จะถูกลดอุณหภูมิด้วยพัดลมที่ด้านบนของหอ เกิดเป็น Propane ในสถานะของเหลว ซึ่งของเหลวนี้ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับเข้าหอเพื่อเป็น Reflux อีก ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับไปยังยอดหอดูดซับสารไฮโดรคาร์บอน เพื่อให้กลายเป็น Sales Gas ต่อไป ของเหลวที่สกัด Propane ส่วนเกินออกแล้วที่ก้นหอ จะถูกส่งไปยังหอกลั่นแยก LPG ต่อไป 4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ 4.4 หน่วยกลั่นแยก Propane
  • 50. วัตถุประสงค์ เพื่อกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ LPG และ NGL การทางาน ของเหลวจากหอแยก Propane จะถูกป้อนเข้าที่กลางหอกลั่นแยก LPG ของเหลวจะไหล ผ่าน Tray ลงมาและถูกต้มโดย Reboiler ที่ก้นหอ ไอที่เกิดขึ้นจะลอยขึ้นสู่ด้านบนและช่วยสกัด Propane ส่วนเกินออกจากตัวของเหลว จากนั้นไอก็จะถูกลดอุณหภูมิด้วยพัดลมที่ด้านบนของหอ เกิดเป็น LPG ในสถานะของเหลว ซึ่งของเหลวนี้ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับเข้าหอเพื่อเป็น Reflux อีก ส่วนหนึ่งก็จะส่งกลับไปยังถังเก็บผลิตภัณฑ์ LPG ของเหลวที่ก้นหอ จะถูกลดอุณหภูมิด้วยพัดลมและส่งไปยังถังเก็บผลิตภัณฑ์ NGL นอกจากนี้ยังมีสาร Pentane ส่วนหนึ่งซึ่งต้องดึงออกจากหอกลั่นแยก LPG เพื่อให้ คุณภาพของ NGL เป็นไปตามมาตรฐาน โดยจะฉีดเข้าผสมกับ Sales Gas ต่อไป 4. หน่วยการกลั่นแยกผลิตภัณฑ์ 4.5 หน่วยกลั่นแยก LPG
  • 52. วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มความดันของ Sales Gas และส่งต่อไปยังระบบท่อของลูกค้า การทางาน ก๊าซจาก Compressor ในหน่วยควบคุมจุดกลั่นตัวจะผ่านพัดลม เพื่อลดอุณหภูมิ และเข้า สู่ Sales gas Compressor เพิ่มความดันและส่งผลิตภัณฑ์ Sales Gas เข้าสู่ระบบท่อต่อไป 5. หน่วยเพิ่มความดันก๊าซ
  • 53. วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บผลิตภัณฑ์ LPG และ NGL ที่ได้จากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ และรอ ขนส่งด้วยรถบรรทุกก๊าซ การทางาน มีลักษณะเป็นถังเก็บแรงดัน มีระบบควบคุมแรงดัน และป้องกันการระเบิดเนื่องจาก แรงดันเดิน รวมถึงมีระบบตรวจสอบก๊าซรั่ว และระบบสเปรย์ดับเพลิง 6. หน่วยถังเก็บผลิตภัณฑ์ – LPG และ NGL
  • 54. 7.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า - Gas Turbine Generator กาลังผลิตรวม 32 MW - Diesel Generator ใช้เป็นแหล่งไฟฟ้าฉุกเฉิน กาลังผลิต 1 MW 7.2 ระบบ Hot Oil: ใช้ให้ความร้อนในกระบวนการผลิต 2.1 Hot Oil low temp ใช้ความร้อนจากไอเสียของ Gas Turbine Generator ในการผลิต อุณหภูมิ 175 C 2.2 Hot Oil high temp ได้จากการนา Hot Oil low temp มาให้ความร้อนเพิ่มโดยเตาเผา อุณหภูมิ 200 C 7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 1
  • 55. 7.3 ระบบอากาศอัด 3.1 Instrument Air: อากาศอัดที่ใช้ในการทางานของ Instrument ต่างๆ 3.2 Utility Air: อากาศอัดที่ใช้ในการซ่อมบารุงทั่วไป 7.4 ระบบผลิตก๊าซไนโตรเจน: นาอากาศอัดมาผ่าน membrane ผลิตเป็นก๊าซไนโตรเจนใช้ ในกระบวนการผลิต 7.5 ระบบผลิต Deminerized Water - เป็นการนาน้ามาผ่าน membrane เพื่อกรองแร่ธาตุต่างๆออก ซึ่งน้า Demin จะใช้ใน หน่วยแยก CO2 7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 2
  • 56. 7.6 ระบบบาบัดน้าเสีย 6.1 Oily Water Treatment: ใช้บาบัดน้าเสียที่ปนเปื้อนไฮโดรคาร์บอนจาก กระบวนการผลิต 6.2 Contaminate Rain Water Treatment: ใช้บาบัดน้าฝนที่มาจากพื้นที่การผลิต 7.7 ระบบน้าดับเพลิง 7.1 Jockey Pump: ทาหน้าที่รักษาความดันน้าดับเพลิงในระบบขณะStandby 7.2 Fire Pump: ทาหน้าที่จ่ายน้าดับเพลิงไปยังหัวฉีดดับเพลิงกรณีไฟไหม้ 7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 3
  • 57. 7.8 ระบบ Fuel Gas 6.1 High Pressure Fuel Gas: ความดัน 30 BarG ใช้สาหรับ Gas Turbine Generator, Gas Turbine Compressor 6.2 Low Pressure Fuel Gas: ความดัน 8 BarG ใช้สาหรับอุปกรณ์ให้ความร้อน อื่นๆ เช่น Incinerator, Hot Oil Heater 7. ระบบสนับสนุนการผลิต ( Utilities System) - 4
  • 58. Location Map of Gas Separation Plant
  • 59. Location Map of Gas Separation Plant 04 January 2003 Admin Building Control Room and Workshop Utility Area Pipeline Facility Storage and Loading Facilities GSP-1 GSP-2 (Future) Pipeline Facility Utility Area Utility Area