SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
(ร่าง) พ.ร.บ.การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ....
สถานะปัจจุบัน
• คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ (ท่านมีชัย ฤชุพันธุ์)
• พิจารณาวาระที่ ๒ เรียบร้อยแล้ว และมีการเปิดรับฟังความเห็นภายหลังคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ
พิจารณาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
เหตุผลความจาเป็น
ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
• เพื่อให้การพัฒนา Digital Economy ของประเทศมีทิศทางการทางานที่ชัดเจนและเป็นไปทิศทางเดียวกัน
• เพื่อยกระดับให้ดิจิทัลเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และสามารถเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในเวทีโลก
ส่วนที่ ๒ กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
• ภาครัฐและภาคเอกชนยังขาดงบประมาณหรือเงินทุนสนับสนุนในการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
ดิจิทัล ในขณะที่การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทั้ง ๕ ด้าน จาเป็นต้องใช้แหล่งเงินทุนสนับสนุน
ซึ่งการได้รับการจัดสรรจากรัฐอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ
ส่วนที่ ๓ การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
• อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Digital Economy มีหลากหลาย แต่การส่งเสริมจากรัฐยังทาได้อย่างจากัด
ทั้งแหล่งเงินทุน เทคโนโลยี นวัติกรรม ในขณะที่อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Digital เช่น Software และ
Digital Content มีส่วนสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
สาระสาคัญของร่างกฎหมายที่มีการปรับปรุงแก้ไข
๑. การรวมหลักการของร่างพระราชบัญญัติจานวน ๓ ฉบับ
มีการนาร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อคณะรัฐมนตรี จานวน ๓ ฉบับ มารวมเป็นร่างพระราชบัญญัติฉบับ
เดียวกัน เนื่องจากเกี่ยวข้องกัน ได้แก่
o ร่าง พ.ร.บ. คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ....
o ร่าง พ.ร.บ. กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ….
o ร่าง พ.ร.บ. การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล พ.ศ. ....
๒. ชื่อร่างพระราชบัญญัติ
ปรับชื่อร่างพระราชบัญญัติจากร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พ.ศ. .... เป็นร่างพระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ....
๓. ผู้รักษาการ
นายกรัฐมนตรี
๔. คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
กาหนดให้มีคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (คณะกรรมการ DE) เป็นคณะกรรมการ
ระดับนโยบาย เพื่อชี้นาทิศทางการพัฒนาให้แก่หน่วยงานทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ
• องค์ประกอบคณะกรรมการ DE
o นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ
o รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจเป็นรองประธานกรรมการ
o กรรมการโดยตาแหน่ง ปรับลดจานวนจาก ๒๕ คน เหลือ ๑๑ คน (ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงต่างๆ ผู้ว่าการ ธปท. เลขาธิการสภาพัฒน์ ประธาน กสทช. / ตัดตัวแทนจาก CAT และ
TOT)
o กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ ครม. แต่งตั้ง จานวน ๕ ถึง ๘ คน ซึ่งต้องไม่มีส่วนได้เสียกับการทา
หน้าที่เป็นกรรมการ
• เลขานุการคณะกรรมการ DE
o ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นเลขานุการ
o เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
• วาระการดารงตาแหน่ง
o ๔ ปี โดยไม่จากัดจานวนวาระการดารตาแหน่ง
• อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ DE
o กาหนดนโยบายและแผนระดับชาติ DE เสนอ ครม. เพื่ออนุมัติ
o เสนอแนะต่อ ครม. ในการกาหนดนโยบายการเงิน การคลัง การลงทุน การจัดซื้อจัดจ้าง ในส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา DE เพื่อลดอุปสรรคในการทางาน
o กาหนดหลักเกณฑ์หรือระเบียบเกี่ยวกับการบริหารกองทุน DE เพื่อให้การใช้จ่ายมีประสิทธิภาพ
o เสนอต่อ ครม. เพื่อให้ยับยั้งการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE
o ตัดอานาจคณะกรรมการ DE ในการกาหนดหลักเกณฑ์การร่วมทุน ที่จะมีผลเป็นการยกเว้นการ
ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ ตามร่างที่เสนอ ครม.
เนื่องจากเพื่อประกันความโปร่งใสในการดาเนินการ
o ตัดอานาจคณะกรรมการ DE ในการกาหนดเงินค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานในกระทรวง DE โดยให้
เป็นอานาจของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้หลักการเรื่องเงินเดือนและ
ค่าตอบแทนรับกันทั้งระบบ
๕. คณะกรรมการเฉพาะด้าน
• กาหนดให้มีคณะกรรมการเฉพาะด้าน ๕ ด้าน เพื่อช่วยคณะกรรมการ DE ในการทางาน
ประกอบด้วย
o คณะกรรมการโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ
o คณะกรรมการโครงสร้างพื้นฐานด้านการบริการ
o คณะกรรมการโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรฐาน
o คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล
o คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากดิจิทัล
• องค์ประกอบคณะกรรมการเฉพาะด้าน ประกอบด้วย
o กรรมการในคณะกรรมการ DE เป็นประธานกรรมการเฉพาะด้านชุดต่างๆ
o ข้าราชการกระทรวง DE ๑ คน
o ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจเฉพาะด้าน (ตัดตัวแทนจาก CAT และ TOT)
o กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการ DE แต่งตั้ง ไม่เกิน ๓ คน
o กรรมการผู้แทนภาคเอกชนที่คณะกรรมการ DE แต่งตั้งไม่เกิน ๓ คน
o มีเลขาธิการ สนง. คณะกรรมการ DE เป็นเลขานุการของทุกชุด
• อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการเฉพาะด้าน
o จัดทานโยบายและแผนเฉพาะเสนอต่อคณะกรรมการ DE เพื่อประกอบการจัดทานโยบายและ
แผนระดับชาติ DE
o ติดตามและประเมินผลการดาเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE / นโยบายและแผน
เฉพาะ เพื่อรายงานคณะกรรมการ DE รวมทั้งกากับดูแลการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
o เพิ่มเติมอานาจหน้าที่คณะกรรมการเฉพาะด้านในการเสนอต่อคณะกรรมการ DE เพื่อให้ ครม.
เห็นชอบให้สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือหน่วยงานอื่นของรัฐเป็นผู้ดาเนินการแทน เมื่อ
ปรากฏว่ามีภารกิจหรืองานใดไม่มีผู้รับผิดชอบ หรือหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบไม่ดาเนินการตาม
ได้ โดยค่าใช้จ่ายในการดาเนินการให้ใช้จากกองทุน DE ตามความจาเป็น
๖. สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
• กาหนดให้สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่มีฐานะเป็นส่วนรากชาร
ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการ DE และคณะกรรมการเฉพาะด้านทั้ง ๕ ชุด ซึ่ง
ปรับชื่อมาจากสานักงานดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
๗. นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
• นโยบายและแผนระดับชาติ DE ต้องเสนอ ครม. เพื่อใช้บังคับ โดยกาหนดแนวทางการดาเนินการ
เบื้องต้นที่ต้องมีในนโยบายและแผนระดับชาติดังกล่าว
• กาหนดให้การจัดทานโยบายและแผนระดับชาติ DE ต้องทาเป็นประกาศพระบรมราชโองการและ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งรวมถึงการแก้ไขปรับปรุงนโยบายและแผนระดับชาติดังกล่าว
• เมื่อมีการประกาศใช้นโยบายและแผนระดับชาติ DE หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงส่วน
ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายและแผน
ดังกล่าว โดยการจัดทาหรือปรับปรุงแผนปฏิบัติการหรือแผนงานให้สอดคล้อง
• หากคณะกรรมการเฉพาะเรื่องเห็นว่าแผนปฏิบัติการหรือแผนงานที่หน่วยงานของรัฐจัดทาหรือ
ปรับปรุงไม่สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติ DE ให้แจ้งหน่วยงานของรัฐปรับปรุง หาก
ความเห็นไม่ตรงกันให้คณะกรรมการ DE เป็นคนวินิจฉัย
• ตัดบทลงโทษทางวินัยกรณีหน่วยงานรัฐไม่ทาตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE
๘. กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
• กาหนดให้จัดตั้งกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กองทุน DE) ในสานักงาน
คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่เป็นส่วนราชการ
• คณะกรรมการบริหารกองทุน DE
o องค์ประกอบ ประกอบด้วย :
 รองนายกรัฐมนตรีที่ดูแลด้านเศรษฐกิจ เป็นประธานกรรมการ
 กรรมการโดยตาแหน่งในคณะกรรมการ DE ที่คณะกรรมการ DE มอบหมาย ๓ คน
 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในในคณะกรรมการ DE ที่คณะกรรมการมอบหมาย ๓ คน
 ปลัดกระทรวง DE เป็นกรรมการและเลขานุการ
 เลขาธิการ สนง. คกก. DE เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
o อานาจหน้าที่ : จัดสรรเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนางานตามนโยบายและแผนระดับชาติ
DE ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ DE กาหนด รวมทั้งติดตามผลการดาเนินงานตามที่ได้รับ
จัดสรร / บริหารจัดการกองทุน / รายงานผลการบริหารกองทุนและสถานะทางการเงินของ
กองทุนต่อคณะกรรมการ DE และ ครม.
o หน่วยงานเลขานุการ : ให้สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทา
หน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการบริหารกองทุน DE
• วัตถุประสงค์ของกองทุน
o เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนในการพัฒนา DE ตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE แก่หน่วยงานของรัฐ
เอกชน และบุคคลทั่วไป
• ที่มาของเงินกองทุน
o เงินทุนประเดิม หรือเงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรรายปี
o เงินที่ได้รับจากการจัดสรรคลื่นความถี่ ของ กสทช. เป็นจานวนร้อยละ ๒๕ โดยปรับลดจากร้อย
ละ ๕๐
o เงินรายได้จากกการดาเนินงานของสานักงาน กสทช. เป็นจานวนร้อยละ ๒๕ (เพิ่มเติม)
o เงินกองทุน USO ตามจานวนที่ กสทช. ได้มอบหมายให้ทางสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติดาเนินการแทน ซึ่งต้องใช้เพื่อการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐาน
โดยทั่วถึงและบริการสังคม (เดิมกาหนดให้โอนเงินกองทุน USO มาทั้งจานวน)
๙. สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
• คณะกรรมการกากับสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
o รัฐมนตรีว่าการกระทรวง DE เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการกากับสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ
ดิจิทัลตามข้อเสนอของคณะกรรมการ DE (แทนคณะกรรมการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่
คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง)
o องค์ประกอบ ประกอบด้วย
 กรรมการโดยตาแหน่ง ๒ คน คือ ปลัดกระทรวง DE และเลขาธิการคณะกรรมการ
DE
 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน ๔ ถึง ๖ คน
 ในส่วนประธานกรรมการให้กรรมการคัดเลือกกันเอง
o อานาจหน้าที่ : กากับและติดตามการทางานของสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล /ให้ความ
เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่ต้องสอดคล้องกับนโยบายและแผน
ระดับชาติ DE /แต่งตั้งถอดถอนผู้อานวยการ / ออกระเบียบหรือข้อบังคับในเรื่องที่เกี่ยวกับ
การบริหารงานของสานักงาน
o วาระการดารงตาแหน่ง : ๔ ปี โดยไม่จากัดจานวนวาระการดารตาแหน่ง
• สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
o กาหนดให้สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเป็นหน่วยงาน Operation ด้านการส่งเสริม
อุตสาหกรรมและนวัติกรรมดิจิทัล ที่ไม่มีสถานะเป็นส่วนราชการ
o ปรับชื่อสานักงาน โดยไม่ใช่คาว่า “แห่งชาติ” ในชื่อของสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
o ภารกิจด้านอุตสาหกรรมหรือนวัติกรรมดิจิทัล ให้หมายความรวมถึง DIGITAL CONTENT
• ผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
o กาหนดให้มีผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่คณะกรรมการกากับสานักงานฯ
เป็นผู้แต่งตั้ง ทาหน้าที่ในการบริหารกิจการของสานักงาน (เปลี่ยนชื่อจากเลขาธิการ
สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลแห่งชาติ)
o กาหนดเกณฑ์การประเมินเพื่อต่อวาระของผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่
เข้มข้น โดยในการทางาน ๔ ปี ต้องได้ระดับดี ๓ ปี และต้องได้ดีเด่นไม่น้อยกว่า ๑ ปี หากไม่
เป็นไปตามนี้ตัดสิทธิในการต่อวาระการดารงตาแหน่ง ทั้งนี้ โดยไม่กาหนดห้ามการดารง
ตาแหน่งติดต่อกันหลายวาระ
• แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
o กาหนดให้มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล รวมทั้งแนวทางการ
ดาเนินการที่ต้องมีในแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว
o หากการปฏิบัติการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลอยู่ในอานาจหน้าที่หรือ
ต้องการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น ให้ส่งแผนยุทธศาสตร์เพื่อ
คณะกรรมการ DE ให้ความเห็นชอบ และแจ้งหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นเพื่อนาไปเป็นแนวทาง
ในการปฏิบัติให้สอดคล้องกัน
• บทเฉพาะกาล
o กาหนดให้คณะกรรมการบริหาร SIPA ทาหน้าที่คณะกรรมการกากับสานักงานส่งเสริม
เศรษฐกิจดิจิทัลตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ไปพลางก่อน
o กาหนดให้ผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง DE มอบหมายทาหน้าที่ผู้อานวยการของสานักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ไปพลางก่อน
o กาหนดให้ยกเลิกพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง SIPA โดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัตินี้ แทน
การออกพระราชกฤษฎีกาเพื่อยุบเลิกองค์การมหาชน
o กาหนดให้มีการโอนอานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน ภารกิจ และบุคลากรจาก SIPA มายังสานักงาน
ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
ร่าง พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
สถานะปัจจุบัน
• คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๒ (ท่านวิษณุ เครืองาม)
• มอบฝ่ายเลขานุการปรับร่างตามที่คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาในวาระที่ ๒
เหตุผลความจาเป็น
• ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานของรัฐประเภทส่วนราชการภายใต้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร ให้มีความพร้อมในการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และลดความซ้าซ้อนในอานาจหน้าที่
และภารกิจของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง
สาระสาคัญของร่างกฎหมายที่มีการปรับปรุงแก้ไข
• เปลี่ยนชื่อจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม” พร้อมเพิ่มเติมบทบาทภารกิจเพื่อรองรับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
• ปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการภายใน โดยเพิ่มเติมสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ และยังคงส่วนราชการที่มีอยู่เดิมไว้ รวมเป็น ๕ ส่วนราชการ คือ สานักงานรัฐมนตรี สานักงาน
ปลัดกระทรวง กรมอุตุนิยมวิทยา สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ
สานักงานสถิติแห่งชาติ
• ยกเลิกมาตรา ๕๗ ที่กาหนดให้ให้รัฐบาลเสนอกฎหมายจัดตั้งสานักงานส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร สานักงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และกรมสารวจและทาแผนที่
พลเรือน ขึ้นในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เนื่องจากมีการปรับปรุงโครงสร้าง
หน่วยงานในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
• กาหนดรองรับการโอนอานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน ภารกิจ และบุคลากรจากส่วนราชการเดิมภายใต้กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไปยังหน่วยงานของรัฐตามโครงสร้างใหม่ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคม
• มีการเพิ่มเติมบทบัญญัติเพื่อรองรับการทาหน้าที่ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมาย
ฉบับอื่น ๆ ที่กาหนดให้เป็นอานาจของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
• อย่างไรก็ตาม เนื่องจากร่างกฎหมายกลุ่ม digital Economy ๑๐ ฉบับ อาจตรวจพิจารณาเสร็จไม่พร้อม
กัน ดังนั้น การโอนอานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน ภารกิจ และบุคลากรจากสานักงานปลัดกระทรวง ICT จึงให้
โอนมาที่สานักงานปลัดกระทรวง DE ก่อน ต่อเมื่อมีการจัดตั้งหน่วยงานตามร่างกฎหมายอื่น ๆ แล้ว จึงจะ
มีการโอนกลับไปยังหน่วยงานที่ตั้งใหม่อีกครั้ง ตามความเหมาะสม
ร่าง พ.ร.บ. กสทช. (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
สถานะปัจจุบัน
• คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ (ท่านมีชัย ฤชุพันธุ์)
• พิจารณาวาระที่ ๒ เรียบร้อยแล้ว และมีการเปิดรับฟังความเห็นภายหลังคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ
พิจารณาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
เหตุผลความจาเป็น
• เพื่อให้การทางานของ กสทช. เชื่อมโยงกับการพัฒนา Digital Economy ของประเทศ เนื่องจากคลื่น
ความถี่ ถือเป็นทรัพยากรสื่อสารที่จาเป็นต่อการพัฒนา Digital Economy ในฐานะ Hard
Infrastructureสาคัญ
• เพื่อปรับปรุง กสทช. ในฐานะ Regulator ที่ดูแลคลื่นความถี่ของประเทศ ตามข้อเสนอของสานักงาน
กสทช.
สาระสาคัญของร่างกฎหมายที่มีการปรับปรุงแก้ไข
• ปรับปรุงองค์ประกอบ คุณสมบัติ และกระบวนการสรรหา กสทช.
o ปรับลดจานวนองค์ประกอบของ กสทช. เหลือ ๗ คน จาก ๑๑ คน โดยไม่กาหนดด้านความ
เชี่ยวชาญและจานวนคนในแต่ละด้านเช่นกฎหมายปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการสรรหาที่
กาหนดขึ้นใหม่จะเป็นผู้กาหนดลักษณะความเชี่ยวชาญและจานวนกรรมการของแต่ละด้าน
o ปรับปรุงคุณสมบัติทั่วไปของ กสทช. ดังนี้
 ต้องมีอายุระหว่าง ๔๕ – ๖๕ ปี
 กาหนดตาแหน่งขั้นต่าที่สามารถเป็นได้ กล่าวคือ
• กรณีหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป หรือหน่วยงาน
ของรัฐอื่นที่เป็นนิติบุคคล
• กรณีภาคเอกชน ต้องเป็นผู้บริหารที่ไม่ต่ากว่ารองกรรมการผู้จัดการใหญ่ในบริษัทมหาชน
ที่มีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ล้านบาท ไม่น้อยกว่า ๓ ปี
• กรณีภาควิชาการ ต้องรองศาสตราจารย์ขึ้นไป
• กรณีข้าราชการทหาร ต้องมียศตั้งแต่พลโทขึ้นไป
• กรณีข้าราชการตารวจ ต้องมียศตั้งแต่พลตารวจโทขึ้นไป
• กรณีภาคผู้บริโภค ต้องมีประสบการณ์การทางานมาไม่น้อยกว่า ๒๐ ปี
o ปรับปรุงกระบวนการสรรหา กสทช.
 ตัดการสรรหาด้วยวิธีการคัดเลือกกันเองออก
 กาหนดให้มี คกก. สรรหา ทาหน้าที่คัดเลือก กสทช. ประกอบด้วย ประธาน ๓ ศาล ประธาน
ปปช. ประธาน คตง. และประธานผู้ตรวจการแผ่นดินและพิทักษ์สิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ โดยมี
สนง. กสทช. เป็นหน่วยธุรการ โดยคณะกรรมการสรรหาจะสรรหาบุคคลที่สมควรได้รับการ
คัดเลือกเป็นจานวน ๒ เท่า เพื่อให้วุฒิสภาพิจารณาคัดเลือกต่อไป
 ในส่วนประธานกรรมการ ให้กรรมการที่ได้รับการสรรหาคัดเลือกกันเองก่อนโปรดเกล้า
แต่งตั้ง
o บทเฉพาะกาล กาหนดให้ กสทช. ชุดปัจจุบันทาหน้าที่ต่อจนกว่าจะครบวาระการดารงตาแหน่ง
 ความเชื่อมโยงกับคณะกรรมการ DE
o แผนแม่บทด้านการบริหารคลื่นความถี่
 กาหนดให้การจัดทาแผนแม่บทด้านการบริหารคลื่นความถี่ ที่เป็นแผนระดับชาติด้าน
คลื่นความถี่จะต้องสอดคล้องกับนโยบายของ ครม. แล้ว ยังกาหนดให้ต้องสอดคล้องกับ
แผนและนโยบาย DE ที่ ครม. ให้ความเห็นชอบด้วย เนื่องจากถือเป็น Hard
Infrastructure ที่สาคัญในการพัฒนา Digital Economy
o หากพบว่าการทางานของ กสทช. ไม่สอดคล้องตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE ให้เสนอ
คณะกรรมการ DE วินิจฉัย ซึ่งจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทน
คณะกรรมการ DE ตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ กสทช.
o ประธาน กสทช. เป็น กรรมการในคณะกรรมการ DE และ ผู้แทน กสทช. เป็นกรรมการใน
คณะกรรมการเฉพาะด้าน
 การบริหารจัดการคลื่นความถี่
o การกากับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ให้ดาเนินการโดย
กสทช. และไม่แบ่งเป็น ๒ ชุด เนื่องจากมีการหลอมรวมการใช้งานเทคโนโลยี และเพื่อให้กลไก
การกากับกิจการมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีความเป็นเอกภาพ
o กาหนดให้มีกลไกในการเรียกคืนคลื่นความถี่ (Re farming of spectrum) ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์
หรือใช้ไม่คุ้มค่าสาหรับคลื่นความถี่ที่ยังอยู่อายุสัมปทาน แต่จะต้องมีการชดใช้ค่าตอบแทนแก่ผู้ที่
ถูกเรียกคืนคลื่นได้
o กาหนดรองรับการแชร์ใช้คลื่นร่วมกัน สาหรับคลื่นความถี่ที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ในทาง
เทคนิค (spectrum sharing) ทั้งนี้ จะต้องไม่ก่อให้เกิดการรบกวนกันในการใช้งาน
o กาหนดให้การประสานงานคลื่นความถี่เป็นของ กสทช. เว้นแต่กิจการดาวเทียมที่คณะกรรมการ
DE สามารถมอบให้หน่วยงานอื่นทาแทนได้ ซึ่ง กสทช. มีหน้าที่ต้องสนับสนุนการดาเนินงาน
o กาหนดให้มีการรายงานข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดการคลื่นความถี่ตามที่ คกก. DE ร้องขอ เพื่อ
ประกอบการวิเคราะห์และจัดทานโยบายและแผนระดับชาติ DE
o กาหนดให้ กสทช. สามารถมอบหมายให้ สนง.กสทช. ทาหน้าที่อนุญาตการใช้คลื่นความถี่หรือ
เครื่องวิทยุคมนาคม แทน กสทช. ได้ ตามหลักเกณฑ์ที่ กสทช. กาหนด
o กาหนดให้มีการจัดสรรคลื่นความถี่ที่เพียงพอสาหรับการจัดทาบริการสาธารณะแก่ประชาชน ที่
ต้องทาอย่างทั่วถึง เพื่อให้เหมาะสมกับแก่การเป็นทรัพยกรสื่อสารของชาติ
o กาหนดให้การจัดสรรคลื่นยังทาด้วยวิธีการประมูล หากเป็นกิจการเชิงพาณิชย์ ซึ่งจะต้องมีการ
กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คานึงถึงประโยชน์สาธารณะ ประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับ
o กาหนดให้ กสทช. มีหน้าที่ในการระงับมิให้มีการรบกวนหรือทับซ้อนการใช้งานคลื่นความถี่
o กาหนดให้ กสทช. สามารถมอบหมายให้หน่วยงานอื่นดาเนินการจัดให้มีบริการโทรคมนาคม
พื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการสังคม แทนได้ ซึ่งต้องมีการโอนเงินของกองทุน USO เพื่อให้
หน่วยงานนั้นไปดาเนินการแทนด้วย
o กาหนดให้นาเงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ และค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบ
กิจการ เมื่อหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้ว นาส่งเข้ากองทุน DE ในอัตราร้อยละ ๒๕ ก่อนนาส่งเป็น
รายได้แผ่นดิน
o กาหนดให้เงินที่ได้จากการดาเนินการของ กสทช. เมื่อหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้ว นาส่งเข้ากองทุน
DE ในอัตราร้อยละ ๒๕ ก่อนนาส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
o ในส่วนของกองทุน USO หากกระทรวงการคลังเห็นว่าเกินความจาเป็นหรือหมดความจาเป็นต้อง
ใช้ให้สามารถเรียกคืนได้
 การทางานของ กสทช. และ สนง. กสทช.
o กาหนดให้การจัดทางบประมาณของ กสทช. และสานักงาน กสทช. ต้องคานึงถึงความคุ้มค่า
ประหยัด หากโครงการใดไม่ทาภายใน ๙ เดือน ให้โครงการนั้นเป็นการพับไป
o กาหนดให้มีการเปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับค่าตอบแทน กสทช. คณะอนุกรรมการ ที่ปรึกษา ต่อ
ประชาชน
o ยกเลิก กตป. แต่กาหนดให้มีคณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติงานของ กสทช. เพื่อ
ทาหน้าที่แทน ประกอบด้วยผู้แทนของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง สานัก
งบประมาณ สานักงานคณะกรรมการ DE สานักงาน ปปช สตง. โดยคณะกรรมการกากับฯ จะ
แต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลที่เป็นอิสระ และมีความเชี่ยวชาญด้านการประเมินผลงานที่เกี่ยวกับ
กสทช. ทาหน้าที่ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ซึ่งจะมีการรายงานผลต่อ กสทช. และรัฐสภา
โดยคณะกรรมการกากับฯ จะทาหน้าที่ติดตามการแก้ไขหรือการปรับปรุงให้เป็นไปตาม
ข้อเสนอแนะที่กาหนดในผลการปฏิบัติงาน
o หน่วยงานหลักที่จะตรวจสอบ กสทช. และ สนง. กสทช. คือ สตง. หรือหน่วยงานที่ สตง. ให้
ความเห็นชอบ ซึ่งหากพบว่ามีการใช้เงินฟุ่มเฟือย ทางานไม่ตรงตามแผน ให้ สตง. แจ้งต่อ กสทช.
และสนง. กสทช. เพื่อดาเนินการแก้ไข

Contenu connexe

Plus de Isriya Paireepairit

กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยIsriya Paireepairit
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติIsriya Paireepairit
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?Isriya Paireepairit
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzIsriya Paireepairit
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิIsriya Paireepairit
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIIsriya Paireepairit
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการIsriya Paireepairit
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งIsriya Paireepairit
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementIsriya Paireepairit
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIsriya Paireepairit
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมIsriya Paireepairit
 
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)Isriya Paireepairit
 
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยนายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยIsriya Paireepairit
 
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทยอนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทยIsriya Paireepairit
 
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทชทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทชIsriya Paireepairit
 

Plus de Isriya Paireepairit (20)

กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทยกฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
กฎหมาย กสทช. ของอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาไทย
 
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
 
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
ขยายระยะเวลาคืนคลื่น 1800 MHz: เยียวยาผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการ?
 
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHzทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
ทางออกผู้บริโภค กรณีซิมดับ จากการหมดอายุสัมปทานคลื่นความถี่ 1800MHz
 
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิโครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
โครงการ 2 ล้านล้าน กับอนาคตประเทศไทย ดร. เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ
 
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRIร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
ร่าง พ.ร.บ. กู้เงินเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน TDRI
 
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการพรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
พรบ. 2 ล้านล้านบาท ดร.นิตินัย ศิริสมรรถการ
 
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัลการกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
การกำกับดูแลการเปลี่ยนผ่านสู่ทีวีดิจิทัล
 
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้งสไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
สไลด์ข้อเสนอร่างรัฐธรรมนูญว่าด้วยนิรโทษกรรม และการขจัดความขัดแย้ง
 
Agenda Bangkok
Agenda BangkokAgenda Bangkok
Agenda Bangkok
 
Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012Mobile Trends 2012
Mobile Trends 2012
 
Thailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency ManagementThailand 1800MHz Frequency Management
Thailand 1800MHz Frequency Management
 
IPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand CaseIPTV and Internet TV - Thailand Case
IPTV and Internet TV - Thailand Case
 
Three IT Kingdoms
Three IT KingdomsThree IT Kingdoms
Three IT Kingdoms
 
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
ข้อเสนอปรับปรุง (ร่าง) แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม
 
Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4Teleuse@BOP4
Teleuse@BOP4
 
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
บรรยาย ดร.คณิศ แสงสุวรรณ (23 Nov 2011)
 
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทยนายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
นายวิชิต เอื้ออารีวรกุล อุปนายกสมาคมเคเบิ้ลทีวีแห่งประเทศไทย
 
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทยอนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
อนาคตการกำกับดูแลของโทรทัศน์ไทย
 
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทชทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
ทิศทางกำกับดูแลกิจการโทรทัศน์ดาวเทียมและเคเบิ้ลทีวีในยุค กสทช
 

20150408 update ร่างกม. ๓ ฉบับ

  • 1. (ร่าง) พ.ร.บ.การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. .... สถานะปัจจุบัน • คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ (ท่านมีชัย ฤชุพันธุ์) • พิจารณาวาระที่ ๒ เรียบร้อยแล้ว และมีการเปิดรับฟังความเห็นภายหลังคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เหตุผลความจาเป็น ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • เพื่อให้การพัฒนา Digital Economy ของประเทศมีทิศทางการทางานที่ชัดเจนและเป็นไปทิศทางเดียวกัน • เพื่อยกระดับให้ดิจิทัลเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และสามารถเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในเวทีโลก ส่วนที่ ๒ กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม • ภาครัฐและภาคเอกชนยังขาดงบประมาณหรือเงินทุนสนับสนุนในการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ดิจิทัล ในขณะที่การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทั้ง ๕ ด้าน จาเป็นต้องใช้แหล่งเงินทุนสนับสนุน ซึ่งการได้รับการจัดสรรจากรัฐอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ ส่วนที่ ๓ การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล • อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Digital Economy มีหลากหลาย แต่การส่งเสริมจากรัฐยังทาได้อย่างจากัด ทั้งแหล่งเงินทุน เทคโนโลยี นวัติกรรม ในขณะที่อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Digital เช่น Software และ Digital Content มีส่วนสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สาระสาคัญของร่างกฎหมายที่มีการปรับปรุงแก้ไข ๑. การรวมหลักการของร่างพระราชบัญญัติจานวน ๓ ฉบับ มีการนาร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อคณะรัฐมนตรี จานวน ๓ ฉบับ มารวมเป็นร่างพระราชบัญญัติฉบับ เดียวกัน เนื่องจากเกี่ยวข้องกัน ได้แก่ o ร่าง พ.ร.บ. คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. .... o ร่าง พ.ร.บ. กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. …. o ร่าง พ.ร.บ. การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล พ.ศ. .... ๒. ชื่อร่างพระราชบัญญัติ ปรับชื่อร่างพระราชบัญญัติจากร่างพระราชบัญญัติคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. .... เป็นร่างพระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ....
  • 2. ๓. ผู้รักษาการ นายกรัฐมนตรี ๔. คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กาหนดให้มีคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (คณะกรรมการ DE) เป็นคณะกรรมการ ระดับนโยบาย เพื่อชี้นาทิศทางการพัฒนาให้แก่หน่วยงานทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ • องค์ประกอบคณะกรรมการ DE o นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ o รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจเป็นรองประธานกรรมการ o กรรมการโดยตาแหน่ง ปรับลดจานวนจาก ๒๕ คน เหลือ ๑๑ คน (ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างๆ ผู้ว่าการ ธปท. เลขาธิการสภาพัฒน์ ประธาน กสทช. / ตัดตัวแทนจาก CAT และ TOT) o กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ ครม. แต่งตั้ง จานวน ๕ ถึง ๘ คน ซึ่งต้องไม่มีส่วนได้เสียกับการทา หน้าที่เป็นกรรมการ • เลขานุการคณะกรรมการ DE o ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นเลขานุการ o เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นผู้ช่วยเลขานุการ • วาระการดารงตาแหน่ง o ๔ ปี โดยไม่จากัดจานวนวาระการดารตาแหน่ง • อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ DE o กาหนดนโยบายและแผนระดับชาติ DE เสนอ ครม. เพื่ออนุมัติ o เสนอแนะต่อ ครม. ในการกาหนดนโยบายการเงิน การคลัง การลงทุน การจัดซื้อจัดจ้าง ในส่วน ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา DE เพื่อลดอุปสรรคในการทางาน o กาหนดหลักเกณฑ์หรือระเบียบเกี่ยวกับการบริหารกองทุน DE เพื่อให้การใช้จ่ายมีประสิทธิภาพ o เสนอต่อ ครม. เพื่อให้ยับยั้งการดาเนินงานที่ไม่เป็นไปตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE o ตัดอานาจคณะกรรมการ DE ในการกาหนดหลักเกณฑ์การร่วมทุน ที่จะมีผลเป็นการยกเว้นการ ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ ตามร่างที่เสนอ ครม. เนื่องจากเพื่อประกันความโปร่งใสในการดาเนินการ o ตัดอานาจคณะกรรมการ DE ในการกาหนดเงินค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานในกระทรวง DE โดยให้ เป็นอานาจของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เพื่อให้หลักการเรื่องเงินเดือนและ ค่าตอบแทนรับกันทั้งระบบ
  • 3. ๕. คณะกรรมการเฉพาะด้าน • กาหนดให้มีคณะกรรมการเฉพาะด้าน ๕ ด้าน เพื่อช่วยคณะกรรมการ DE ในการทางาน ประกอบด้วย o คณะกรรมการโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ o คณะกรรมการโครงสร้างพื้นฐานด้านการบริการ o คณะกรรมการโครงสร้างพื้นฐานด้านมาตรฐาน o คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล o คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากดิจิทัล • องค์ประกอบคณะกรรมการเฉพาะด้าน ประกอบด้วย o กรรมการในคณะกรรมการ DE เป็นประธานกรรมการเฉพาะด้านชุดต่างๆ o ข้าราชการกระทรวง DE ๑ คน o ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจเฉพาะด้าน (ตัดตัวแทนจาก CAT และ TOT) o กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะกรรมการ DE แต่งตั้ง ไม่เกิน ๓ คน o กรรมการผู้แทนภาคเอกชนที่คณะกรรมการ DE แต่งตั้งไม่เกิน ๓ คน o มีเลขาธิการ สนง. คณะกรรมการ DE เป็นเลขานุการของทุกชุด • อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการเฉพาะด้าน o จัดทานโยบายและแผนเฉพาะเสนอต่อคณะกรรมการ DE เพื่อประกอบการจัดทานโยบายและ แผนระดับชาติ DE o ติดตามและประเมินผลการดาเนินการตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE / นโยบายและแผน เฉพาะ เพื่อรายงานคณะกรรมการ DE รวมทั้งกากับดูแลการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ o เพิ่มเติมอานาจหน้าที่คณะกรรมการเฉพาะด้านในการเสนอต่อคณะกรรมการ DE เพื่อให้ ครม. เห็นชอบให้สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือหน่วยงานอื่นของรัฐเป็นผู้ดาเนินการแทน เมื่อ ปรากฏว่ามีภารกิจหรืองานใดไม่มีผู้รับผิดชอบ หรือหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบไม่ดาเนินการตาม ได้ โดยค่าใช้จ่ายในการดาเนินการให้ใช้จากกองทุน DE ตามความจาเป็น ๖. สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • กาหนดให้สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติที่มีฐานะเป็นส่วนรากชาร ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการ DE และคณะกรรมการเฉพาะด้านทั้ง ๕ ชุด ซึ่ง ปรับชื่อมาจากสานักงานดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๗. นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม • นโยบายและแผนระดับชาติ DE ต้องเสนอ ครม. เพื่อใช้บังคับ โดยกาหนดแนวทางการดาเนินการ เบื้องต้นที่ต้องมีในนโยบายและแผนระดับชาติดังกล่าว
  • 4. • กาหนดให้การจัดทานโยบายและแผนระดับชาติ DE ต้องทาเป็นประกาศพระบรมราชโองการและ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งรวมถึงการแก้ไขปรับปรุงนโยบายและแผนระดับชาติดังกล่าว • เมื่อมีการประกาศใช้นโยบายและแผนระดับชาติ DE หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรวมถึงส่วน ราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายและแผน ดังกล่าว โดยการจัดทาหรือปรับปรุงแผนปฏิบัติการหรือแผนงานให้สอดคล้อง • หากคณะกรรมการเฉพาะเรื่องเห็นว่าแผนปฏิบัติการหรือแผนงานที่หน่วยงานของรัฐจัดทาหรือ ปรับปรุงไม่สอดคล้องกับนโยบายและแผนระดับชาติ DE ให้แจ้งหน่วยงานของรัฐปรับปรุง หาก ความเห็นไม่ตรงกันให้คณะกรรมการ DE เป็นคนวินิจฉัย • ตัดบทลงโทษทางวินัยกรณีหน่วยงานรัฐไม่ทาตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE ๘. กองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม • กาหนดให้จัดตั้งกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กองทุน DE) ในสานักงาน คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่เป็นส่วนราชการ • คณะกรรมการบริหารกองทุน DE o องค์ประกอบ ประกอบด้วย :  รองนายกรัฐมนตรีที่ดูแลด้านเศรษฐกิจ เป็นประธานกรรมการ  กรรมการโดยตาแหน่งในคณะกรรมการ DE ที่คณะกรรมการ DE มอบหมาย ๓ คน  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในในคณะกรรมการ DE ที่คณะกรรมการมอบหมาย ๓ คน  ปลัดกระทรวง DE เป็นกรรมการและเลขานุการ  เลขาธิการ สนง. คกก. DE เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ o อานาจหน้าที่ : จัดสรรเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนางานตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ DE กาหนด รวมทั้งติดตามผลการดาเนินงานตามที่ได้รับ จัดสรร / บริหารจัดการกองทุน / รายงานผลการบริหารกองทุนและสถานะทางการเงินของ กองทุนต่อคณะกรรมการ DE และ ครม. o หน่วยงานเลขานุการ : ให้สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทา หน้าที่เป็นหน่วยงานเลขานุการของคณะกรรมการบริหารกองทุน DE • วัตถุประสงค์ของกองทุน o เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนในการพัฒนา DE ตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE แก่หน่วยงานของรัฐ เอกชน และบุคคลทั่วไป • ที่มาของเงินกองทุน o เงินทุนประเดิม หรือเงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรรายปี o เงินที่ได้รับจากการจัดสรรคลื่นความถี่ ของ กสทช. เป็นจานวนร้อยละ ๒๕ โดยปรับลดจากร้อย ละ ๕๐
  • 5. o เงินรายได้จากกการดาเนินงานของสานักงาน กสทช. เป็นจานวนร้อยละ ๒๕ (เพิ่มเติม) o เงินกองทุน USO ตามจานวนที่ กสทช. ได้มอบหมายให้ทางสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติดาเนินการแทน ซึ่งต้องใช้เพื่อการจัดให้มีบริการโทรคมนาคมพื้นฐาน โดยทั่วถึงและบริการสังคม (เดิมกาหนดให้โอนเงินกองทุน USO มาทั้งจานวน) ๙. สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล • คณะกรรมการกากับสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล o รัฐมนตรีว่าการกระทรวง DE เป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการกากับสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ ดิจิทัลตามข้อเสนอของคณะกรรมการ DE (แทนคณะกรรมการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่ คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง) o องค์ประกอบ ประกอบด้วย  กรรมการโดยตาแหน่ง ๒ คน คือ ปลัดกระทรวง DE และเลขาธิการคณะกรรมการ DE  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน ๔ ถึง ๖ คน  ในส่วนประธานกรรมการให้กรรมการคัดเลือกกันเอง o อานาจหน้าที่ : กากับและติดตามการทางานของสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล /ให้ความ เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่ต้องสอดคล้องกับนโยบายและแผน ระดับชาติ DE /แต่งตั้งถอดถอนผู้อานวยการ / ออกระเบียบหรือข้อบังคับในเรื่องที่เกี่ยวกับ การบริหารงานของสานักงาน o วาระการดารงตาแหน่ง : ๔ ปี โดยไม่จากัดจานวนวาระการดารตาแหน่ง • สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล o กาหนดให้สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเป็นหน่วยงาน Operation ด้านการส่งเสริม อุตสาหกรรมและนวัติกรรมดิจิทัล ที่ไม่มีสถานะเป็นส่วนราชการ o ปรับชื่อสานักงาน โดยไม่ใช่คาว่า “แห่งชาติ” ในชื่อของสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล o ภารกิจด้านอุตสาหกรรมหรือนวัติกรรมดิจิทัล ให้หมายความรวมถึง DIGITAL CONTENT • ผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล o กาหนดให้มีผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่คณะกรรมการกากับสานักงานฯ เป็นผู้แต่งตั้ง ทาหน้าที่ในการบริหารกิจการของสานักงาน (เปลี่ยนชื่อจากเลขาธิการ สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลแห่งชาติ) o กาหนดเกณฑ์การประเมินเพื่อต่อวาระของผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลที่ เข้มข้น โดยในการทางาน ๔ ปี ต้องได้ระดับดี ๓ ปี และต้องได้ดีเด่นไม่น้อยกว่า ๑ ปี หากไม่ เป็นไปตามนี้ตัดสิทธิในการต่อวาระการดารงตาแหน่ง ทั้งนี้ โดยไม่กาหนดห้ามการดารง ตาแหน่งติดต่อกันหลายวาระ
  • 6. • แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล o กาหนดให้มีการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล รวมทั้งแนวทางการ ดาเนินการที่ต้องมีในแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว o หากการปฏิบัติการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลอยู่ในอานาจหน้าที่หรือ ต้องการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น ให้ส่งแผนยุทธศาสตร์เพื่อ คณะกรรมการ DE ให้ความเห็นชอบ และแจ้งหน่วยงานของรัฐแห่งอื่นเพื่อนาไปเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติให้สอดคล้องกัน • บทเฉพาะกาล o กาหนดให้คณะกรรมการบริหาร SIPA ทาหน้าที่คณะกรรมการกากับสานักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทัลตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ไปพลางก่อน o กาหนดให้ผู้ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง DE มอบหมายทาหน้าที่ผู้อานวยการของสานักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ไปพลางก่อน o กาหนดให้ยกเลิกพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง SIPA โดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัตินี้ แทน การออกพระราชกฤษฎีกาเพื่อยุบเลิกองค์การมหาชน o กาหนดให้มีการโอนอานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน ภารกิจ และบุคลากรจาก SIPA มายังสานักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลตามร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
  • 7. ร่าง พ.ร.บ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... สถานะปัจจุบัน • คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๒ (ท่านวิษณุ เครืองาม) • มอบฝ่ายเลขานุการปรับร่างตามที่คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาในวาระที่ ๒ เหตุผลความจาเป็น • ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานของรัฐประเภทส่วนราชการภายใต้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ให้มีความพร้อมในการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และลดความซ้าซ้อนในอานาจหน้าที่ และภารกิจของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง สาระสาคัญของร่างกฎหมายที่มีการปรับปรุงแก้ไข • เปลี่ยนชื่อจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม” พร้อมเพิ่มเติมบทบาทภารกิจเพื่อรองรับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม • ปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการภายใน โดยเพิ่มเติมสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ และยังคงส่วนราชการที่มีอยู่เดิมไว้ รวมเป็น ๕ ส่วนราชการ คือ สานักงานรัฐมนตรี สานักงาน ปลัดกระทรวง กรมอุตุนิยมวิทยา สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ สานักงานสถิติแห่งชาติ • ยกเลิกมาตรา ๕๗ ที่กาหนดให้ให้รัฐบาลเสนอกฎหมายจัดตั้งสานักงานส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร สานักงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และกรมสารวจและทาแผนที่ พลเรือน ขึ้นในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เนื่องจากมีการปรับปรุงโครงสร้าง หน่วยงานในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นที่เรียบร้อยแล้ว • กาหนดรองรับการโอนอานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน ภารกิจ และบุคลากรจากส่วนราชการเดิมภายใต้กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไปยังหน่วยงานของรัฐตามโครงสร้างใหม่ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม • มีการเพิ่มเติมบทบัญญัติเพื่อรองรับการทาหน้าที่ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมตามกฎหมาย ฉบับอื่น ๆ ที่กาหนดให้เป็นอานาจของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • อย่างไรก็ตาม เนื่องจากร่างกฎหมายกลุ่ม digital Economy ๑๐ ฉบับ อาจตรวจพิจารณาเสร็จไม่พร้อม กัน ดังนั้น การโอนอานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน ภารกิจ และบุคลากรจากสานักงานปลัดกระทรวง ICT จึงให้ โอนมาที่สานักงานปลัดกระทรวง DE ก่อน ต่อเมื่อมีการจัดตั้งหน่วยงานตามร่างกฎหมายอื่น ๆ แล้ว จึงจะ มีการโอนกลับไปยังหน่วยงานที่ตั้งใหม่อีกครั้ง ตามความเหมาะสม
  • 8. ร่าง พ.ร.บ. กสทช. (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... สถานะปัจจุบัน • คณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ ๑ (ท่านมีชัย ฤชุพันธุ์) • พิจารณาวาระที่ ๒ เรียบร้อยแล้ว และมีการเปิดรับฟังความเห็นภายหลังคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ พิจารณาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เหตุผลความจาเป็น • เพื่อให้การทางานของ กสทช. เชื่อมโยงกับการพัฒนา Digital Economy ของประเทศ เนื่องจากคลื่น ความถี่ ถือเป็นทรัพยากรสื่อสารที่จาเป็นต่อการพัฒนา Digital Economy ในฐานะ Hard Infrastructureสาคัญ • เพื่อปรับปรุง กสทช. ในฐานะ Regulator ที่ดูแลคลื่นความถี่ของประเทศ ตามข้อเสนอของสานักงาน กสทช. สาระสาคัญของร่างกฎหมายที่มีการปรับปรุงแก้ไข • ปรับปรุงองค์ประกอบ คุณสมบัติ และกระบวนการสรรหา กสทช. o ปรับลดจานวนองค์ประกอบของ กสทช. เหลือ ๗ คน จาก ๑๑ คน โดยไม่กาหนดด้านความ เชี่ยวชาญและจานวนคนในแต่ละด้านเช่นกฎหมายปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการสรรหาที่ กาหนดขึ้นใหม่จะเป็นผู้กาหนดลักษณะความเชี่ยวชาญและจานวนกรรมการของแต่ละด้าน o ปรับปรุงคุณสมบัติทั่วไปของ กสทช. ดังนี้  ต้องมีอายุระหว่าง ๔๕ – ๖๕ ปี  กาหนดตาแหน่งขั้นต่าที่สามารถเป็นได้ กล่าวคือ • กรณีหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการตั้งแต่ระดับกรมขึ้นไป หรือหน่วยงาน ของรัฐอื่นที่เป็นนิติบุคคล • กรณีภาคเอกชน ต้องเป็นผู้บริหารที่ไม่ต่ากว่ารองกรรมการผู้จัดการใหญ่ในบริษัทมหาชน ที่มีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่า ๑,๐๐๐ ล้านบาท ไม่น้อยกว่า ๓ ปี • กรณีภาควิชาการ ต้องรองศาสตราจารย์ขึ้นไป • กรณีข้าราชการทหาร ต้องมียศตั้งแต่พลโทขึ้นไป • กรณีข้าราชการตารวจ ต้องมียศตั้งแต่พลตารวจโทขึ้นไป • กรณีภาคผู้บริโภค ต้องมีประสบการณ์การทางานมาไม่น้อยกว่า ๒๐ ปี
  • 9. o ปรับปรุงกระบวนการสรรหา กสทช.  ตัดการสรรหาด้วยวิธีการคัดเลือกกันเองออก  กาหนดให้มี คกก. สรรหา ทาหน้าที่คัดเลือก กสทช. ประกอบด้วย ประธาน ๓ ศาล ประธาน ปปช. ประธาน คตง. และประธานผู้ตรวจการแผ่นดินและพิทักษ์สิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ โดยมี สนง. กสทช. เป็นหน่วยธุรการ โดยคณะกรรมการสรรหาจะสรรหาบุคคลที่สมควรได้รับการ คัดเลือกเป็นจานวน ๒ เท่า เพื่อให้วุฒิสภาพิจารณาคัดเลือกต่อไป  ในส่วนประธานกรรมการ ให้กรรมการที่ได้รับการสรรหาคัดเลือกกันเองก่อนโปรดเกล้า แต่งตั้ง o บทเฉพาะกาล กาหนดให้ กสทช. ชุดปัจจุบันทาหน้าที่ต่อจนกว่าจะครบวาระการดารงตาแหน่ง  ความเชื่อมโยงกับคณะกรรมการ DE o แผนแม่บทด้านการบริหารคลื่นความถี่  กาหนดให้การจัดทาแผนแม่บทด้านการบริหารคลื่นความถี่ ที่เป็นแผนระดับชาติด้าน คลื่นความถี่จะต้องสอดคล้องกับนโยบายของ ครม. แล้ว ยังกาหนดให้ต้องสอดคล้องกับ แผนและนโยบาย DE ที่ ครม. ให้ความเห็นชอบด้วย เนื่องจากถือเป็น Hard Infrastructure ที่สาคัญในการพัฒนา Digital Economy o หากพบว่าการทางานของ กสทช. ไม่สอดคล้องตามนโยบายและแผนระดับชาติ DE ให้เสนอ คณะกรรมการ DE วินิจฉัย ซึ่งจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทน คณะกรรมการ DE ตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ กสทช. o ประธาน กสทช. เป็น กรรมการในคณะกรรมการ DE และ ผู้แทน กสทช. เป็นกรรมการใน คณะกรรมการเฉพาะด้าน  การบริหารจัดการคลื่นความถี่ o การกากับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม ให้ดาเนินการโดย กสทช. และไม่แบ่งเป็น ๒ ชุด เนื่องจากมีการหลอมรวมการใช้งานเทคโนโลยี และเพื่อให้กลไก การกากับกิจการมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีความเป็นเอกภาพ o กาหนดให้มีกลไกในการเรียกคืนคลื่นความถี่ (Re farming of spectrum) ที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ หรือใช้ไม่คุ้มค่าสาหรับคลื่นความถี่ที่ยังอยู่อายุสัมปทาน แต่จะต้องมีการชดใช้ค่าตอบแทนแก่ผู้ที่ ถูกเรียกคืนคลื่นได้ o กาหนดรองรับการแชร์ใช้คลื่นร่วมกัน สาหรับคลื่นความถี่ที่สามารถใช้งานร่วมกันได้ในทาง เทคนิค (spectrum sharing) ทั้งนี้ จะต้องไม่ก่อให้เกิดการรบกวนกันในการใช้งาน o กาหนดให้การประสานงานคลื่นความถี่เป็นของ กสทช. เว้นแต่กิจการดาวเทียมที่คณะกรรมการ DE สามารถมอบให้หน่วยงานอื่นทาแทนได้ ซึ่ง กสทช. มีหน้าที่ต้องสนับสนุนการดาเนินงาน o กาหนดให้มีการรายงานข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดการคลื่นความถี่ตามที่ คกก. DE ร้องขอ เพื่อ ประกอบการวิเคราะห์และจัดทานโยบายและแผนระดับชาติ DE
  • 10. o กาหนดให้ กสทช. สามารถมอบหมายให้ สนง.กสทช. ทาหน้าที่อนุญาตการใช้คลื่นความถี่หรือ เครื่องวิทยุคมนาคม แทน กสทช. ได้ ตามหลักเกณฑ์ที่ กสทช. กาหนด o กาหนดให้มีการจัดสรรคลื่นความถี่ที่เพียงพอสาหรับการจัดทาบริการสาธารณะแก่ประชาชน ที่ ต้องทาอย่างทั่วถึง เพื่อให้เหมาะสมกับแก่การเป็นทรัพยกรสื่อสารของชาติ o กาหนดให้การจัดสรรคลื่นยังทาด้วยวิธีการประมูล หากเป็นกิจการเชิงพาณิชย์ ซึ่งจะต้องมีการ กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คานึงถึงประโยชน์สาธารณะ ประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับ o กาหนดให้ กสทช. มีหน้าที่ในการระงับมิให้มีการรบกวนหรือทับซ้อนการใช้งานคลื่นความถี่ o กาหนดให้ กสทช. สามารถมอบหมายให้หน่วยงานอื่นดาเนินการจัดให้มีบริการโทรคมนาคม พื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการสังคม แทนได้ ซึ่งต้องมีการโอนเงินของกองทุน USO เพื่อให้ หน่วยงานนั้นไปดาเนินการแทนด้วย o กาหนดให้นาเงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ และค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบ กิจการ เมื่อหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้ว นาส่งเข้ากองทุน DE ในอัตราร้อยละ ๒๕ ก่อนนาส่งเป็น รายได้แผ่นดิน o กาหนดให้เงินที่ได้จากการดาเนินการของ กสทช. เมื่อหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้ว นาส่งเข้ากองทุน DE ในอัตราร้อยละ ๒๕ ก่อนนาส่งเป็นรายได้แผ่นดิน o ในส่วนของกองทุน USO หากกระทรวงการคลังเห็นว่าเกินความจาเป็นหรือหมดความจาเป็นต้อง ใช้ให้สามารถเรียกคืนได้  การทางานของ กสทช. และ สนง. กสทช. o กาหนดให้การจัดทางบประมาณของ กสทช. และสานักงาน กสทช. ต้องคานึงถึงความคุ้มค่า ประหยัด หากโครงการใดไม่ทาภายใน ๙ เดือน ให้โครงการนั้นเป็นการพับไป o กาหนดให้มีการเปิดเผยรายละเอียดเกี่ยวกับค่าตอบแทน กสทช. คณะอนุกรรมการ ที่ปรึกษา ต่อ ประชาชน o ยกเลิก กตป. แต่กาหนดให้มีคณะกรรมการกากับการประเมินผลการปฏิบัติงานของ กสทช. เพื่อ ทาหน้าที่แทน ประกอบด้วยผู้แทนของหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการคลัง สานัก งบประมาณ สานักงานคณะกรรมการ DE สานักงาน ปปช สตง. โดยคณะกรรมการกากับฯ จะ แต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลที่เป็นอิสระ และมีความเชี่ยวชาญด้านการประเมินผลงานที่เกี่ยวกับ กสทช. ทาหน้าที่ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ซึ่งจะมีการรายงานผลต่อ กสทช. และรัฐสภา โดยคณะกรรมการกากับฯ จะทาหน้าที่ติดตามการแก้ไขหรือการปรับปรุงให้เป็นไปตาม ข้อเสนอแนะที่กาหนดในผลการปฏิบัติงาน o หน่วยงานหลักที่จะตรวจสอบ กสทช. และ สนง. กสทช. คือ สตง. หรือหน่วยงานที่ สตง. ให้ ความเห็นชอบ ซึ่งหากพบว่ามีการใช้เงินฟุ่มเฟือย ทางานไม่ตรงตามแผน ให้ สตง. แจ้งต่อ กสทช. และสนง. กสทช. เพื่อดาเนินการแก้ไข