SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนศาสนาAN ANALYTICAL STUDY OF  BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS CONVERSIONS พระมหามาติณ  ถีนิติ  รหัส g4937659  SHCR/M
ศศ.บ.(ศาสนศึกษา)มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้วิจัย พระมหาสมบูรณ์  พรรณา,ป.ธ.7, พธ.ด. ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์         ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปาริชาด สุวรรณบุบผา Ph.D.ประธานดำเนินการสอบวิทยานิพนธ์  	   ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชาญณรงค์ บุญหนุน, อ.ด. กรรมการสอบวิทยานิพนธ์       	   	ศาสตราจารย์บรรจง   มไหสวริยะพ.บ. , ว.ว. ออร์โธปิดิคส์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยรองศาสตราจารย์วริยา  ชินวรรโณ, Ph.D.คณบดีคณะสังคมศาสตร์แลมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
AN ANALYTICAL STUDY OF BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS CONVERSIONSPHRAMAHAMARTIN TRINITY 4937659 SHCR/M ,[object Object]
ABSTRACTQualitative Research in this thesis aims to analyze the changing attitude about the Buddhist religion.     Study of the causes and how to convert Methods include Research Department documents and interviews.  ,[object Object]
Recommendations from the research. Including promoting to support the attitude research responding to this continuing role of the Buddhist teachings in this field. And the current quality of life better in our society. In addition, the study group differences. To review the attitude of the modish conversion and leading to a paradigm for understanding comparative religion in Thai society.
KEY WORDS : BUDDHISM VIEWS / RELIGIOUS CONVERSION
104 pagesพระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนศาสนาAN ANALYTICAL STUDY OF  BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS CONVERSIONS พระมหามาติณ  ถีนิติ  4937659  SHCR/M ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ)คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : ปาริชาด  สุวรรณบุบผา ,Ph.D.(Systematic  Theology)., ชาญณรงค์ บุญหนุน , อ.ด. (ปรัชญา) บทคัดย่อ   วิทยานิพนธ์การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์เรื่องท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา ด้วยการศึกษาหาสาเหตุและวิธีการและปัญหาต่างๆ วิธีวิจัยประกอบด้วย การวิจัยภาคเอกสารและนำเสนอข้อมูลด้วยวิธีพรรณนาและอภิปรายผล ในปี พุทธศักราช  2550  เมื่อเกิดกรณีเรื่องการเปลี่ยนศาสนาในเชิงขาดจริยธรรม(unethical conversion) ในประเทศศรีลังกาและประเทศอื่นๆ ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาวิเคราะห์เรื่องท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา จากการวิจัยพบว่า   ศาสนาพุทธใช้หลักเสรีภาพในการให้คนเข้านับถือศาสนาโดยหลักคำสอนกาลามสูตร เน้นเหตุผลในเรื่อง นิพพาน ทางสายกลาง อริยสัจ มรรค นำสู่ศรัทธาความเชื่อต่อการเปลี่ยนศาสนา  ประการสำคัญปัจจุบันได้ยอมรับกันว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งวิทยาศาสตร์ กล่าวคือมีหลักคำสอนที่มีความเข้ากันได้กับหลักวิทยาศาสตร์    พบว่าในศาสนาพุทธมีท่าทีการเปลี่ยนศาสนา   ที่ปรากฏชัดเจนคือ  ไม่ใช้หลักชวนเชื่อหรือใช้ชี้นำหรือกำลังบีบบังคับหรือสินบนหรือให้สิ่งตอบแทน แต่ให้เข้ามาทดลองและตัดสินใจเอง ข้อเสนอแนะจากการวิจัยเพิ่มเติม ได้แก่การส่งเสริมสนับสนุนให้มีผู้วิจัยท่าทีนี้อย่างต่อเนื่อง สนองตอบต่อบทบาทของผู้นับถือพระพุทธศาสนาให้มีจุดยืนในคำสอน มิใช่ถือศาสนาเป็นยาเพติดหรือแฟชั่น   และมีใจเปิดกว้างกับปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน  อาทิเช่นสงครามศาสนา สงครามชนชั้น  เป็นต้น และให้มีชีวิตปัจจุบันที่มีคุณภาพยิ่งขึ้นในสังคมมนุษย์ นอกจากนี้การศึกษากลุ่มที่แตกต่าง เพื่อทบทวนให้มีความสมสมัยต่อท่าทีการเปลี่ยนศาสนา และนำไปสู่กระบวนทัศน์การเข้าใจศาสนาเปรียบเทียบในสังคมไทย คำสำคัญ : ท่าทีพระพุทธศาสนา / การเปลี่ยนศาสนา   104 หน้า พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
บทนำบทที่ 1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปรากฏการณ์เรื่องการเปลี่ยนศาสนา หลายลักษณะ ได้แก่ลักษณะการเปลี่ยนศาสนาตามธรรมชาติ  หรือลักษณะพึงประสงค์ (desirable) จากหลายสาเหตุ และลักษณะการเปลี่ยนศาสนาที่ไม่พึงประสงค์ (undesirable) ในแง่ของการชักนำที่ไม่มีจริยธรรมต่อศาสนาและต่อบรรทัดฐานของสังคมมนุษย์ เรียกว่า“Unethical Conversions” (James Hastings, Religions and Ethics Encyclopedia: 1981104-190: T.T. Clark Ltd.: England.) พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
บทที่ 2  ทรรศนะเรื่องการเปลี่ยนศาสนาและประวัติศาสตร์การเปลี่ยนศาสนายุคพุทธกาล พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
บทที่  3หลักคำสอนสำคัญในพระพุทธศาสนาและการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนศาสนา แนวคิดคำสอนกฎแห่งกรรมและการเปลี่ยนศาสนา กฎแห่งกรรมในศาสนาพุทธสำคัญที่สุดในการปูพื้นฐานสู่การเปลี่ยนศาสนา  เพราะกฎแห่งกรรมในศาสนาเน้นเจตนาของการกระทำ  ใครทำผิด ทำไม่ผิด ย่อมต้องมีตัวมาเสวยผลกรรมเสมอ  “ไม่ขาดไม่เกิน” ลดทอนไม่ได้  แทนไม่ได้ ผ่อนผันไม่ได้ เหมือนความตายมาถึงใคร  คือความตายของคนนั้น ก็คือความตายเฉพาะตัวเขาเท่านั้นไม่มีใครห้ามได้ พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
บทที่ 4การเปลี่ยนศาสนาตามทรรศนะและบุคคลทั่วไป ในการศึกษาท่าทีของพุทธศาสนาเรื่องของการเปลี่ยนศาสนา  เพื่อศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัย  บทนี้เป็นการศึกษาตาม ทรรศนะนักวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกิดจากพระไตรปิฎกที่เป็นคำสอน พระสูตร พระวินัย พระอภิธรรม และอรรถกถา เรื่องถึงเรื่องความเข้าใจ พระพุทธศาสนาเกิดจากผลการเผยแผ่ศาสนาพุทธด้วยทรรศนะที่วิจัยพบในกระแสหลักคือที่มีหลักขันติธรรม (tolerance)  และเมตตาธรรม (loving kindness) และสัจธรรม (truth) เป็นที่ตั้ง  กล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่มีทรรศนะที่เป็นกัลยาณมิตรหรือเพื่อนผู้จริงใจและบริสุทธิ์ใจต่อกันต่อการเปลี่ยนศาสนา  การเปลี่ยนศาสนาจึงได้ผล เพราะฉะนั้น ในการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพุทธศาสนา มีความจำเป็นที่ต้องศึกษารายละเอียดต่อทรรศนะและบุคคลทั่วไป โดยนำมาทรรศนะและแนวคิดต่าง ๆ มาประกอบเป็นแนวร่วม  ในการจัดระบบความคิดและความเข้าใจให้รัดกุมแล้วจึงศึกษาวิเคราะห์ เพื่อทำให้หัวข้อวิทยานิพนธ์มีความสมบูรณ์และเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น  สรุปแล้วการเปลี่ยนศาสนาและท่าทีการเปลี่ยนและแนวคิดมีหลายทรรศนะ  สามารถแยกออกเป็น 2 ทรรศนะคือทรรศนะโดยรวมของชาวตะวันออก และของชาวตะวันตก   และทรรศนะของบุคคลทั่วไป  ซึ่งจะทราบในรายละเอียดต่อไป พระพุทธเจ้าตรัสกับสีหะบดีว่า “เมื่อท่านจะมานับถือศาสนาพุทธท่านอย่าลืมศาสนาเก่าของท่าน(คือศาสนาเชน) เรื่องสีหสูตร อ้างซ้ำใน พระธรรมปิฎก, 2540:38-40) เพราะท่านเป็นอู่ข้าวอู่น้ำของศาสนานี้มาก่อน” ท่าทีนี้ทำให้ชาวตะวันตกที่นับถือศาสนาตะวันตกอยู่มองศาสนาพุทธแนวทางเลือกใหม่ แต่ขณะเดียงกันก็ไม่ทอดทิ้งศาสนาของตนเอง ดังปรากฏในทัศนะต่อศาสนาพุทธในหัวข้อทรรศนะต่างๆ และเพราะทรรศนะคือหน่วยย่อยที่มีความสำคัญสำคัญของกระบวนทัศน์ที่เป็นกระบวนการที่ทำให้วัฒนธรรมและสังคมเปลี่ยนไป การเปลี่ยนศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการนี้ ฉะนั้น จึงเป็นหัวข้อสำคัญในบทนี้ที่จำเป็นต้องนำทรรศนะต่าง ๆ มาประกอบการศึกษาวิเคราะห์  อนึ่ง ตัวอย่างอย่างง่ายมีวิธีวิทยาศาสนาในเรื่องนี้  อาทิเช่น  สมัยใหม่คนถือเวลาคือพระเจ้า จะเข้าวัด ไปบวชหรือจะเปลี่ยน converse เข้าสู่พระพุทธศาสนาเพียง ยกมือตั้งใจ เพียงรำลึก เพียงบวชแต่ใจเท่านั้น ก็เพียงพอ เพราะถ้าทำให้ครบสมบูรณ์ จะไม่ได้ทำเลย เพราะความพร้อมมียาก อาการอย่างนี้ถือว่าเข้าในข่ายของลัทธิกระบวนทัศน์แล้ว   ทางแนวตั้งศาสนาพุทธ  มีท่าทีมองอย่างไรในเรื่องนี้ ย่อมอนุโลมได้เพราะพระพุทธเจ้าตรัสว่า  “ใจทั้งหลายเป็นหัวหน้า  ทุกอย่างสำเร็จแล้วด้วยใจ”   (จักขุบาลเถรวัตถุ : ขุ.ธ.2549:1)  โปรดดูในเนื้อหาและสาระตอนต่อไป พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ

Contenu connexe

Tendances

จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีPa'rig Prig
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีPa'rig Prig
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011Anchalee BuddhaBucha
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 

Tendances (20)

จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่666 3-ปี
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่444 3-ปี
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011โครงร่างวิทยานิพนธ์   อัญชลี จตุรานนUpdate1011
โครงร่างวิทยานิพนธ์ อัญชลี จตุรานนUpdate1011
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญอักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ  (บันทึกอัตโนมัติ)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 

En vedette

เรื่องรัตนตรัย For mergemarttrini
เรื่องรัตนตรัย   For mergemarttriniเรื่องรัตนตรัย   For mergemarttrini
เรื่องรัตนตรัย For mergemarttriniMartin Trinity
 
Meet moath al akhrass
Meet moath al akhrassMeet moath al akhrass
Meet moath al akhrassMoath Akhrass
 
Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121Satheinna Khetmanedaja
 
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธรายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธleemeanshun minzstar
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธโครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธSomruay Pindon
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaSettapong Malisuwan
 
Portfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun OngkanPortfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun OngkanPloy Aquamarine
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016Settapong Malisuwan
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 

En vedette (20)

เรื่องรัตนตรัย For mergemarttrini
เรื่องรัตนตรัย   For mergemarttriniเรื่องรัตนตรัย   For mergemarttrini
เรื่องรัตนตรัย For mergemarttrini
 
Meet moath al akhrass
Meet moath al akhrassMeet moath al akhrass
Meet moath al akhrass
 
อัลบั้มรูป
อัลบั้มรูปอัลบั้มรูป
อัลบั้มรูป
 
Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121Copy of copy of งานนำเสนอ121
Copy of copy of งานนำเสนอ121
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
Comunud eenglish collective
Comunud eenglish collectiveComunud eenglish collective
Comunud eenglish collective
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธรายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธโครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
 
Digital disruption v6
Digital disruption v6Digital disruption v6
Digital disruption v6
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north koreaพ.อ.ดร.เศรษฐพงค์   สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
พ.อ.ดร.เศรษฐพงค์ สงครามไซเบอร์เขย่าโลก Sony and north korea
 
Portfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun OngkanPortfolio - Sirijun Ongkan
Portfolio - Sirijun Ongkan
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
อาชญากรรมไซเบอร์ Ppt 13 7-2016
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 

Similaire à การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน

แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔Tongsamut vorasan
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 

Similaire à การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน (20)

แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 

การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยน

  • 2. ศศ.บ.(ศาสนศึกษา)มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้วิจัย พระมหาสมบูรณ์ พรรณา,ป.ธ.7, พธ.ด. ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปาริชาด สุวรรณบุบผา Ph.D.ประธานดำเนินการสอบวิทยานิพนธ์   ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชาญณรงค์ บุญหนุน, อ.ด. กรรมการสอบวิทยานิพนธ์   ศาสตราจารย์บรรจง มไหสวริยะพ.บ. , ว.ว. ออร์โธปิดิคส์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยรองศาสตราจารย์วริยา ชินวรรโณ, Ph.D.คณบดีคณะสังคมศาสตร์แลมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 3.
  • 4.
  • 5. Recommendations from the research. Including promoting to support the attitude research responding to this continuing role of the Buddhist teachings in this field. And the current quality of life better in our society. In addition, the study group differences. To review the attitude of the modish conversion and leading to a paradigm for understanding comparative religion in Thai society.
  • 6. KEY WORDS : BUDDHISM VIEWS / RELIGIOUS CONVERSION
  • 8. การศึกษาวิเคราะห์ท่าทีของพระพุทธศาสนาเรื่องการเปลี่ยนศาสนาAN ANALYTICAL STUDY OF BUDDHIIST VIEWS ON RELIGIOUS CONVERSIONS พระมหามาติณ ถีนิติ 4937659 SHCR/M ศศ.ม. (ศาสนาเปรียบเทียบ)คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : ปาริชาด สุวรรณบุบผา ,Ph.D.(Systematic Theology)., ชาญณรงค์ บุญหนุน , อ.ด. (ปรัชญา) บทคัดย่อ   วิทยานิพนธ์การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์เรื่องท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา ด้วยการศึกษาหาสาเหตุและวิธีการและปัญหาต่างๆ วิธีวิจัยประกอบด้วย การวิจัยภาคเอกสารและนำเสนอข้อมูลด้วยวิธีพรรณนาและอภิปรายผล ในปี พุทธศักราช 2550 เมื่อเกิดกรณีเรื่องการเปลี่ยนศาสนาในเชิงขาดจริยธรรม(unethical conversion) ในประเทศศรีลังกาและประเทศอื่นๆ ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาวิเคราะห์เรื่องท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพระพุทธศาสนา จากการวิจัยพบว่า ศาสนาพุทธใช้หลักเสรีภาพในการให้คนเข้านับถือศาสนาโดยหลักคำสอนกาลามสูตร เน้นเหตุผลในเรื่อง นิพพาน ทางสายกลาง อริยสัจ มรรค นำสู่ศรัทธาความเชื่อต่อการเปลี่ยนศาสนา ประการสำคัญปัจจุบันได้ยอมรับกันว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งวิทยาศาสตร์ กล่าวคือมีหลักคำสอนที่มีความเข้ากันได้กับหลักวิทยาศาสตร์ พบว่าในศาสนาพุทธมีท่าทีการเปลี่ยนศาสนา ที่ปรากฏชัดเจนคือ ไม่ใช้หลักชวนเชื่อหรือใช้ชี้นำหรือกำลังบีบบังคับหรือสินบนหรือให้สิ่งตอบแทน แต่ให้เข้ามาทดลองและตัดสินใจเอง ข้อเสนอแนะจากการวิจัยเพิ่มเติม ได้แก่การส่งเสริมสนับสนุนให้มีผู้วิจัยท่าทีนี้อย่างต่อเนื่อง สนองตอบต่อบทบาทของผู้นับถือพระพุทธศาสนาให้มีจุดยืนในคำสอน มิใช่ถือศาสนาเป็นยาเพติดหรือแฟชั่น และมีใจเปิดกว้างกับปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นในปัจจุบัน อาทิเช่นสงครามศาสนา สงครามชนชั้น เป็นต้น และให้มีชีวิตปัจจุบันที่มีคุณภาพยิ่งขึ้นในสังคมมนุษย์ นอกจากนี้การศึกษากลุ่มที่แตกต่าง เพื่อทบทวนให้มีความสมสมัยต่อท่าทีการเปลี่ยนศาสนา และนำไปสู่กระบวนทัศน์การเข้าใจศาสนาเปรียบเทียบในสังคมไทย คำสำคัญ : ท่าทีพระพุทธศาสนา / การเปลี่ยนศาสนา   104 หน้า พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 9. บทนำบทที่ 1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปรากฏการณ์เรื่องการเปลี่ยนศาสนา หลายลักษณะ ได้แก่ลักษณะการเปลี่ยนศาสนาตามธรรมชาติ หรือลักษณะพึงประสงค์ (desirable) จากหลายสาเหตุ และลักษณะการเปลี่ยนศาสนาที่ไม่พึงประสงค์ (undesirable) ในแง่ของการชักนำที่ไม่มีจริยธรรมต่อศาสนาและต่อบรรทัดฐานของสังคมมนุษย์ เรียกว่า“Unethical Conversions” (James Hastings, Religions and Ethics Encyclopedia: 1981104-190: T.T. Clark Ltd.: England.) พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 10. บทที่ 2 ทรรศนะเรื่องการเปลี่ยนศาสนาและประวัติศาสตร์การเปลี่ยนศาสนายุคพุทธกาล พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 11. บทที่ 3หลักคำสอนสำคัญในพระพุทธศาสนาและการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนศาสนา แนวคิดคำสอนกฎแห่งกรรมและการเปลี่ยนศาสนา กฎแห่งกรรมในศาสนาพุทธสำคัญที่สุดในการปูพื้นฐานสู่การเปลี่ยนศาสนา เพราะกฎแห่งกรรมในศาสนาเน้นเจตนาของการกระทำ ใครทำผิด ทำไม่ผิด ย่อมต้องมีตัวมาเสวยผลกรรมเสมอ “ไม่ขาดไม่เกิน” ลดทอนไม่ได้ แทนไม่ได้ ผ่อนผันไม่ได้ เหมือนความตายมาถึงใคร คือความตายของคนนั้น ก็คือความตายเฉพาะตัวเขาเท่านั้นไม่มีใครห้ามได้ พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 12. บทที่ 4การเปลี่ยนศาสนาตามทรรศนะและบุคคลทั่วไป ในการศึกษาท่าทีของพุทธศาสนาเรื่องของการเปลี่ยนศาสนา เพื่อศึกษาตามวัตถุประสงค์การวิจัย บทนี้เป็นการศึกษาตาม ทรรศนะนักวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เกิดจากพระไตรปิฎกที่เป็นคำสอน พระสูตร พระวินัย พระอภิธรรม และอรรถกถา เรื่องถึงเรื่องความเข้าใจ พระพุทธศาสนาเกิดจากผลการเผยแผ่ศาสนาพุทธด้วยทรรศนะที่วิจัยพบในกระแสหลักคือที่มีหลักขันติธรรม (tolerance) และเมตตาธรรม (loving kindness) และสัจธรรม (truth) เป็นที่ตั้ง กล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่มีทรรศนะที่เป็นกัลยาณมิตรหรือเพื่อนผู้จริงใจและบริสุทธิ์ใจต่อกันต่อการเปลี่ยนศาสนา การเปลี่ยนศาสนาจึงได้ผล เพราะฉะนั้น ในการศึกษาวิเคราะห์ท่าทีการเปลี่ยนศาสนาของพุทธศาสนา มีความจำเป็นที่ต้องศึกษารายละเอียดต่อทรรศนะและบุคคลทั่วไป โดยนำมาทรรศนะและแนวคิดต่าง ๆ มาประกอบเป็นแนวร่วม ในการจัดระบบความคิดและความเข้าใจให้รัดกุมแล้วจึงศึกษาวิเคราะห์ เพื่อทำให้หัวข้อวิทยานิพนธ์มีความสมบูรณ์และเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น สรุปแล้วการเปลี่ยนศาสนาและท่าทีการเปลี่ยนและแนวคิดมีหลายทรรศนะ สามารถแยกออกเป็น 2 ทรรศนะคือทรรศนะโดยรวมของชาวตะวันออก และของชาวตะวันตก และทรรศนะของบุคคลทั่วไป ซึ่งจะทราบในรายละเอียดต่อไป พระพุทธเจ้าตรัสกับสีหะบดีว่า “เมื่อท่านจะมานับถือศาสนาพุทธท่านอย่าลืมศาสนาเก่าของท่าน(คือศาสนาเชน) เรื่องสีหสูตร อ้างซ้ำใน พระธรรมปิฎก, 2540:38-40) เพราะท่านเป็นอู่ข้าวอู่น้ำของศาสนานี้มาก่อน” ท่าทีนี้ทำให้ชาวตะวันตกที่นับถือศาสนาตะวันตกอยู่มองศาสนาพุทธแนวทางเลือกใหม่ แต่ขณะเดียงกันก็ไม่ทอดทิ้งศาสนาของตนเอง ดังปรากฏในทัศนะต่อศาสนาพุทธในหัวข้อทรรศนะต่างๆ และเพราะทรรศนะคือหน่วยย่อยที่มีความสำคัญสำคัญของกระบวนทัศน์ที่เป็นกระบวนการที่ทำให้วัฒนธรรมและสังคมเปลี่ยนไป การเปลี่ยนศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการนี้ ฉะนั้น จึงเป็นหัวข้อสำคัญในบทนี้ที่จำเป็นต้องนำทรรศนะต่าง ๆ มาประกอบการศึกษาวิเคราะห์ อนึ่ง ตัวอย่างอย่างง่ายมีวิธีวิทยาศาสนาในเรื่องนี้ อาทิเช่น สมัยใหม่คนถือเวลาคือพระเจ้า จะเข้าวัด ไปบวชหรือจะเปลี่ยน converse เข้าสู่พระพุทธศาสนาเพียง ยกมือตั้งใจ เพียงรำลึก เพียงบวชแต่ใจเท่านั้น ก็เพียงพอ เพราะถ้าทำให้ครบสมบูรณ์ จะไม่ได้ทำเลย เพราะความพร้อมมียาก อาการอย่างนี้ถือว่าเข้าในข่ายของลัทธิกระบวนทัศน์แล้ว ทางแนวตั้งศาสนาพุทธ มีท่าทีมองอย่างไรในเรื่องนี้ ย่อมอนุโลมได้เพราะพระพุทธเจ้าตรัสว่า “ใจทั้งหลายเป็นหัวหน้า ทุกอย่างสำเร็จแล้วด้วยใจ” (จักขุบาลเถรวัตถุ : ขุ.ธ.2549:1) โปรดดูในเนื้อหาและสาระตอนต่อไป พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 13.
  • 15. ภาคผนวก ค.ตารางอภิปรายผลการสัมภาษณ์ อภิปรายผล การสัมภาษณ์ จากวันที่ 1 มกราคม 2553 - 28 กุมภาพันธ์ 2553 มีแบบคำถาม 12 ข้อ จา ก ผู้ตอบ รวม 26 รายการ ดังมีจำนวนข้อที่มีผู้ตอบและผู้ไม่ตอบ ดังต่อไปนี้  ข้อที่ 1 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 2 ตอบ 20 ราย ไม่ตอบ 6 ราย ข้อที่ 3 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 4 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 5 ตอบ 22 ราย ไม่ตอบ 4 ราย ข้อที่ 6 ตอบ 24 ราย ไม่ตอบ 2 ราย ข้อที่ 7 ตอบ 25 ราย ไม่ตอบ 1 ราย ข้อที่ 8 ตอบ 24 ราย ไม่ตอบ 2 ราย ข้อที่ 9 ตอบ 25 ราย ไม่ตอบ 1 ราย ข้อที่ 10 ตอบ 25 ราย ไม่ตอบ 1 ราย ข้อที่ 11 ตอบ 23 ราย ไม่ตอบ 3 ราย ข้อที่ 12 ตอบ 24 ราย ไม่ตอบ 2 ราย รวม 12 ข้อ ตอบจำนวน 278 รายการ ไม่ตอบ รวม 34 รายการ พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 16. ประวัติผู้วิจัย ชื่อพระมหามาติณ ถีนิติ วัน เดือน ปีเกิด14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494. สถานที่เกิด จังหวัดกรุงเทพ ฯ ประเทศไทย. ประวัติการศึกษา มัธยมสาธิต มศว. ประสานมิตร กรุงเทพฯ (2534) มัธยมศึกษาตอนปลาย กรมวิชาการ, (2521). พ.ม. ช. (จิตรกรรม). Dip-in-Jour., (1979). ประเทศอังกฤษ. MIOJ, (1975). (Pro-Member Institute of Journalists) by Royal charter, London, England. กระทรวงศึกษาธิการ, พ.ศ. 2550 เปรียญธรรม 3 ประโยค. มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2549 ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศาสนวิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล, พ.ศ. 2553 ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศาสนาเปรียบเทียบ) ทุนการศึกษาที่รับ ทุนผู้ช่วยสอน ปี 2551 / 1 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. ประสบการณ์ในการทำงาน กรรมการตรวจสอบธรรมสนามหลวง. อดีตครูสอนปริยัติธรรม สังกัดสำนักเรียนวัดมหาธาตุฯ วิชา พ.ร.บ. คณะสงฆ์ 2505. หนังสือเกียรติบัตรผู้ทำคุณประโยชน์แด่วิทยาลัยศาสนศึกษา,(2546) มหาวิทยาลัยมหิดล จาก ร.ศ. ดร. พินิจ รัตนกุล ผู้อำนวยการ. เขียนเรื่อง บ้านทุ่งไร่ละ6 ล้าน (2520) ในนิตยสารฟ้า นายอาจินต์ ปัญจพรรค์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (งานวิจัยเชิงสังคม). ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ 52 แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทร : 08-944-319-20. E-mail address: martintrinity50@yahoo.com พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ
  • 17. ฐาตุ จิรํ สตํ ธมฺโม ขอให้สัทธรรมจงยั่งยืนนานBuddhism truth must be long lived forever พระมหามาติณ ถีนิติศศ.ม.(ศาสนาเปรียบทียบ