SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
15 กรกฎาคม 2557
By
John Kotter
To succeed both in today’s world and into the future, we need to
think – and act – differently.
 John Kotter is the Konosuke
Matsushita Professor of
Leadership, Emeritus, at Harvard
Business School.
 He wrote a fantastic
book, Leading Change which
covers the sequential change
process for organizational
change.
 การจะประสบความสาเร็จ ในยุคที่เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว โครงสร้างองค์กรอาจเป็นตัวเหนี่ยวรั้ง ที่ทาให้
องค์กรปรับตัวไม่ทันกระแส
 John P. Kotter กล่าวว่า สิ่งที่องค์กรต้องการคือ ระบบปฏิบัติการ
แบบคู่ (dual-operating system) ระบบหนึ่งใช้กับการปฏิบัติงาน
ประจาวัน อีกระบบหนึ่งจะมุ่งเน้นที่โอกาสและความต้องการใน
อนาคต
 เมื่อ 15 ปีมาแล้ว Kotter ได้ประพันธ์หนังสือ Leading Change ที่
มีแนวทางการปฏิบัติเพื่อการเปลี่ยนแปลงขององค์กร 8 ขั้น
 ในคราวนี้ Kotter ได้วางหลักการ 5 ข้อ และแนวทางปฏิบัติ 8
ขั้น ไว้ในหนังสือ Accelerate: Building Strategic Agility for a
Faster-Moving World
 ซึ่งในระบบปฏิบัติการแบบคู่นี้ เป็นสิ่งที่องค์กรสามารถทาได้โดย
ใช้ระบบลาดับชั้น (hierarchical) ในการปฏิบัติงานประจาวัน
และใช้ระบบเครือข่าย (network) ในงานที่เป็นการเปลี่ยนแปลง
ต้องการความรวดเร็ว การสร้างนวัตกรรม และความคล่องตัว
 ในองค์กรทั่วไป ระบบปฏิบัติการตามลาดับชั้นบังคับบัญชา
(hierarchical operational structure) มีเพื่อใช้รายงาน และเพื่อให้
มีความรับผิดชอบตามลาดับชั้น
 เนื่องจากเป็นโครงสร้างที่มีความเสี่ยงน้อย โดยจัดบุคลากรให้อยู่
ตามกรอบที่วางไว้ มีการมอบหมายงานให้หน่วยงานต่าง ๆ
 แต่ปัญหาคือ ผู้จัดการทางานตามหน้าที่ ไม่ได้รับการพิจารณา
การเลื่อนชั้นจากผลงานที่เสี่ยง หรือการสร้างนวัตกรรม
 ในขณะที่องค์กรที่มีความเป็นเลิศ มีการสร้างนวัตกรรม ต้อง
อาศัยเครือข่ายทางยุทธศาตร์ (strategic network) ที่ไม่เป็นไป
ตามสายงาน เพื่อความคล่องตัวในการตอบสนองต่อสถานการณ์
 เป็นสิ่งที่ Dr. Kotter ได้กล่าวถึงระบบปฏิบัติการแบบคู่ (dual-
operating system) ซึ่งทาให้องค์กรมีความคล่องตัว มีความ
รวดเร็ว มีความสร้างสรรค์ และประสบความสาเร็จ ในโลกที่มี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
 โครงสร้างองค์กรที่ใช้กันมาเป็นร้อยปี ไม่เหมาะกับการ
เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว เมื่อมีโอกาสหรือการคุกคามทางกลยุทธ์
องค์กรจะตอบสนองโดยจัดทาโครงการ และให้คนเก่งที่สุด
รับผิดชอบ เพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลง
 ในโครงสร้างแบบเดิม การตอบสนองอาจไม่ทันกาล ทาให้เสีย
โอกาสได้ เพราะโครงสร้างองค์กรที่จัดทาไว้เพื่อสาหรับการ
ปฏิบัติการประจาวัน ไม่ได้เตรียมความพร้อมสาหรับอนาคต
 องค์กรต้องอาศัยการจัดตั้งเครือข่าย เพื่อการรับมือให้ทันท่วงที
 ระบบใหม่ที่ Dr. Kotter เรียกว่า dual operating system จะมีการ
สร้างเครือข่ายภายในองค์กร ที่ทางานร่วมกันกับระบบลาดับชั้น
 ระบบนี้ ทาให้องค์กรสามารถก้าวสู่ภายนอก ในขณะเดียวกัน ก็
เป็นการฉวยโอกาสทางการตลาด และหลีกเลี่ยงการคุกคามทาง
ธุรกิจ
 ในตอนเริ่มต้น ทุกองค์กรมีลักษณะเป็น network-like structure
 วงจรชีวิตทางธุรกิจ เริ่มต้นคล้าย ๆ กัน คือ มีการจัดตั้งเป็น
เครือข่าย (a network-like structure) เหมือนระบบสุริยะจักรวาล
ที่มีผู้ก่อตั้งอยู่ที่จุดศูนย์กลาง
 ทุกคนในองค์กรมีส่วนในโอกาสและความเสี่ยง และทุกคนมี
วิสัยทัศน์ร่วมกัน
 ทาให้แต่ละคนมีความกระตือรือร้น และมีความคล่องตัวสูง
 ต่อมาพัฒนาเป็น ลาดับชั้น (Hierarchy Structure)
 เมื่อเวลาผ่านไป องค์กรมีการจัดการเป็นแบบมีลาดับชั้น เพื่อการ
บริหารจัดการกระบวนการต่าง ๆ เช่น การวางแผน การจัด
งบประมาณ การจัดทาหน้าที่การงาน การจัดการบุคคล การ
วัดผล และการแก้ปัญหา
 การมีโครงสร้างลาดับชั้น และมีการจัดการกระบวนการทางาน
ทาให้องค์กรสามารถพยากรณ์ผลลัพธ์ได้
 ต่อมา แปรเป็นโครงสร้างเป็นแบบแข็งที่อ
 ข้อจากัดของการทางานแบบแยกส่วนคือ มีแรงกดดันจากการทา
ตัวเลขแต่ละไตรมาส ขาดความร่วมมือกัน ต่อต้านการ
เปลี่ยนแปลง ทาให้ก้าวไม่ทันโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
 ปัญหาเรื่องการติดต่อสื่อสารข้ามหน่วย ทาให้โครงการล่าช้า
วิกฤตระยะสั้นเบี่ยงเบนเป้าหมายระยะยาว ความคิดใหม่ ๆ ถูก
มองว่าเป็นความเสี่ยง และอาจกระทบกับความก้าวหน้าในหน้าที่
การงาน
 ทุกสิ่งที่กล่าวมาทาให้เกิดความหน่วง
 องค์กรควรมีการปรับตัว มีการเร่ง โดยใช้ระบบปฏิบัติการแบบคู่
 สิ่งที่ต้องการในปัจจุบันคือ การเตรียมพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง
ที่รวดเร็ว
 วิธีการรับมือโดยใช้ระบบเครือข่าย ทาให้เกิดความคล่องตัว และ
มีความรวดเร็ว ต่อการสนองตอบเหตุการณ์ภายนอก
 ทาให้องค์กรสามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลง
โดยใช้ทั้งสองระบบควบคู่กันไปในองค์กร (A dual operating
system)
แนวคิดหลัก 5 ประการ
 Principle 1: “you need a radical increase in the number of people
involved in creating or executing strategic initiatives”
 Principle 2: “it’s all about volunteers”
 Principle 4: “action that is head and heart driven”
 Principle 4: “leadership, leadership, leadership”
 Principle 5: “although two systems are required for acceleration,
they must act as one organization”
1. การเร่ง ต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคลากรจานวนมาก ให้มี
ส่วนร่วมจัดทาและปฏิบัติตามกลยุทธ์
 องค์กรต้องอาศัยบุคลากรจานวนมากในการร่วมมือกัน ช่วยกัน
มอง ช่วยกันคิด ช่วยกันทา จึงจะเกิดการเร่งขึ้นมาได้ ใน
โครงสร้างแบบลาดับชั้น ผู้นามีบุคคลจานวนน้อยที่จะมีเวลา
ให้กับเรื่องของกลยุทธ์ใหม่ ๆ
 นี่เป็นโอกาสสาคัญที่สุดของผู้นา ที่ทาให้การเร่งนี้ เกิดขึ้นใน
องค์กร
2. การเร่ง เกิดจากอาสาสมัคร
 เป็นการที่บุคคลอาสามาทางานส่วนกลางให้กับองค์กร ไม่ใช่ถูก
บังคับให้ทา
 การที่บุคลากรได้ทางานร่วมกับผู้นาระดับสูงขององค์กร ซึ่งถือว่า
เป็นเกียรติกับบุคลากร ในการอาสาสมัครเข้าร่วมพัฒนาองค์กร
 การบังคับให้ทา ทาให้ไม่ได้ใจ ขาดแรงกระตุ้นผลักดันเพื่อให้
บรรลุเป้าประสงค์
3. การเร่ง ต้องใช้ตัวและหัวใจ
 ไม่ใช่มีแต่บุคคลมาทางานแต่ไม่ได้เอาใจมาด้วย
 บุคคลส่วนมาก ไม่อยากช่วย ถ้ามีแต่การอ้างตัวเลขที่ต้องบรรลุ
 ต้องทาให้เขารู้สึกถึงความสาคัญของเขา ที่มีต่อผลสาเร็จของ
องค์กร
4. การเร่ง เกิดจากการนาองค์กร ต้องศัยการนามากกว่าการจัดการ
(Much more leadership, not just more management)
 แนวคิดและพฤติกรรมเรื่องการนาองค์กรในที่นี้ หมายถึงการนา
องค์กรในทุกระดับ ที่ไม่ต้องรอให้ผู้มีอานาจเหนือกว่าเป็นคน
บอกว่าต้องทาอย่างไร
 บุคลากรได้รับมอบหมายอานาจในระดับหนึ่งในการตัดสินใจจาก
ผู้นา โดยไม่ยึดติดกับลาดับชั้นการบังคับบัญชา
 ทาให้บุคลากรมีความกระตือรือร้น และกล้าตัดสินใจที่เป็นความ
สร้างสรรค์ สามารถก้าวข้ามอุปสรรคต่าง ๆ จนกว่างานจะ
สาเร็จ นี่คือพฤติกรรมแบบผู้นา
5. การเร่ง แบบสองระบบในหนึ่งเดียว
 ทั้งระบบลาดับชั้นและระบบเครือข่าย ที่ใช้ในองค์กรควบคู่กันไป
 ระบบคู่นี้ ใช้ได้ผล เพราะในเครือข่าย มีบุคลากรอาสาสมัครที่อยู่
ในระบบของลาดับชั้น มาผสมผสานด้วย
 ทั้งสองระบบต้องทางานไปด้วยกัน และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
วิธีการเร่ง 8 ขั้นตอน
 1. Create a sense of urgency around a Big Opportunity.
 2. Build and evolve a guiding coalition.
 3. Form a change vision and strategic initiatives.
 4. Enlist a volunteer army.
 5. Enable action by removing barriers.
 6. Generate (and celebrate) short-term wins.
 7. Sustain acceleration.
 8. Institute change.
 1. สร้างความตระหนัก เป็นการสร้างความรู้สึกถึงความจาเป็น
เร่งด่วน ต่อโอกาสใหญ่ที่รออยู่ข้างหน้า
 การสร้างระบบปฏิบัติการแบบคู่เริ่มต้นที่ตรงนี้
 ความเร่งด่วน (Urgency) ทาให้บุคคลมีความคิดว่า เขาจะมีส่วน
ช่วยองค์กรได้อย่างไร
 2. ได้ใจสร้างทีม เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายและมี
หลายระดับมาทางานร่วมกัน เนื่องจากรู้ถึงความจาเป็นเร่งด่วน
ขององค์กร ในการตอบสนองต่อความท้าทายเชิงกลยุทธ์ การ
แข่งขันที่มีสูง และเพื่อไขว่คว้าโอกาสในอนาคต
 พวกเขามีแรงผลักดัน มีสติปัญญา มีอารมณ์ร่วมกัน มีการติดต่อ
เชื่อมโยง มีทักษะ และมีข้อมูลสารสนเทศ ในการทางานให้เกิด
ประสิทธิผล
 3. สร้างเป้าหมายร่วม เป็นการ
กาหนดวิสัยทัศน์และการ
กาหนดเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์
ของกลุ่มเครือข่ายที่มีร่วมกัน
 การทางานของเครือข่ายนี้ เป็น
สิ่งที่ระบบลาดับชั้นไม่สามารถ
ทาได้ เนื่องจากขาดความ
รวดเร็วในการทางาน
 4. สร้างเป็นกองทัพอาสาสมัคร เป็นการที่มีกลุ่มคนจานวนมาก
ต้องการช่วยเหลือ เนื่องจากมีการสื่อสารวิสัยทัศน์ใหม่และ
เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ไปสู่บุคลากรในองค์กร ส่งผลให้เกิด
ความร่วมมือมากขึ้น
 เมื่อขั้นตอนนี้ ทาได้ดี จะเกิดเป็นแรงดึงดูดให้เกิดเป็นระบบ
เครือข่ายใหม่ ๆ ขึ้นมา
 5. กาจัดอุปสรรค กลุ่มบุคคลต้องมีการทางานที่คล่องตัว มีขวัญ
และกาลังใจ ดังนั้นอุปสรรคใด ๆ ที่ขวางกั้น ทาให้ช้าหรือทาให้
กิจกรรมชะงักงัน ต้องถูกกาจัดออกไป
 6. ฉลองชัยชนะ
 ทุกคนเป็นผู้ขนะ ความสาเร็จไม่ว่าน้อยหรือมาก ควรมีการฉลอง
เพราะจะทาให้เกิดขวัญและกาลังใจที่ดี รวมถึงเกิดความร่วมมือ
 7. สร้างการเร่งอย่างยั่งยืน ด้วยการมุ่งเน้นการก้าวไปข้างหน้า
อย่างไม่หยุดยั้ง
 8. ทาให้การเปลี่ยนแปลงนี้ อยู่ในสายเลือด การประสบชัยชนะ
ทาให้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กลายเป็นวัฒนธรรมขององค์กร
 เมื่อกาลเวลาผ่านไป ระบบปฏิบัติการแบบคู่นี้ (dual operating
system) จะฝังลึกเข้าไปอยู่ในพันธุกรรมขององค์กร
สรุป
 แนวคิดของ Kotter คือระบบปฏิบัติการแบบคู่ (dual operating
system) ที่ใช้บริหารแบบลาดับชั้นอย่างเป็นทางการ
(management practices and hierarchy) ในการปฏิบัติงาน
ประจาวัน และใช้ระบบเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ (informal
networks) ในการสร้างนวัตกรรม การปรับตัว ความเร็ว ความ
คล่องตัวทางกลยุทธ์ และการเปลี่ยนแปลง
 แนวคิดหลักของหนังสือเล่มนี้ คือ พลังของเครือข่าย (the power
of networks)
 วิพากษ์ ในที่สุด การนาต้องอาศัยเครือข่ายด้วยจึงจะสาเร็จ
(Finally the long-standing traditional leadership guru embraces
networks!)
 Kotter ประพันธ์หนังสือ Accelerate โดยใช้ประโยชน์จาก
เครือข่ายในการสร้างการเร่ง แต่ยังไม่ละวาง 8 ขั้นตอนของการ
เปลี่ยนแปลง (8-step model of change)
 แต่อย่างน้อย เขาได้กล่าวถึงความคล่องตัวและความเร็วของ
เครือข่าย ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและยั่งยืน
By Dr. John Kotter
 Step 1: Establishing a Sense of Urgency
 Step 2: Creating the Guiding Coalition
 Step 3: Developing a Change Vision
 Step 4: Communicating the Vision for Buy-in
 Step 5: Empowering Broad-based Action
 Step 6: Generating Short-term Wins
 Step 7: Never Letting Up
 Step 8: Incorporating Changes into the Culture
Napoleon Hill

Contenu connexe

Tendances

Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การwanna2728
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงstjohnbatch753
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การwanna2728
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การwanna2728
 
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีมChapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีมwanna2728
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมmaymymay
 

Tendances (13)

Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การChapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
Chapter 5 กระบวนการพัฒนาองค์การ
 
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลงวิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
วิเคราะ์ห์การบริหารการเปลี่ยนแปลง
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การChapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
Chapter 4 แนวคิดการพัฒนาองค์การ
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การChapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
Chapter1 องค์การและการพัฒนาองค์การ
 
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การChapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
Chapter2 การเปลี่ยนแปลงในองค์การ
 
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีมChapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
Chapter8 การสร้างการพัฒนาการทำงานเป็นทีม
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
๑.๘ การบริหารการเปลี่ยนแปลงและบริหารความเสี่ยง จักราวุธ คำทวี
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 

En vedette

Kotter And The Iceberg
Kotter And The IcebergKotter And The Iceberg
Kotter And The IcebergJenith Mishne
 
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
8 step ikash new(แก้แล้ว).pptOrawan Sritiapetch
 
สรุปการเรียนรู้ Getting diversity
สรุปการเรียนรู้  Getting diversity สรุปการเรียนรู้  Getting diversity
สรุปการเรียนรู้ Getting diversity Songsaeng Srijan
 
Presentation on failure of nokia
Presentation on failure of nokiaPresentation on failure of nokia
Presentation on failure of nokiaabhishekthakur309
 
8 Stages of change management (Kotter)
8 Stages of change management (Kotter)8 Stages of change management (Kotter)
8 Stages of change management (Kotter)Simon Misiewicz
 
Nokia's downfall
Nokia's downfallNokia's downfall
Nokia's downfallnooramingad
 
Kotter’s 8 step change model
Kotter’s 8 step change modelKotter’s 8 step change model
Kotter’s 8 step change modelUjjwal Joshi
 
Kotter's 8 step change model
Kotter's 8 step change modelKotter's 8 step change model
Kotter's 8 step change modelSeta Wicaksana
 
Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1Manoo Ordeedolchest
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 
Baldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaiBaldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaimaruay songtanin
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
Basic customer Service
Basic customer ServiceBasic customer Service
Basic customer ServiceMohamed Kareem
 
Muangraj Hospital 20140918 Innovation Journey
Muangraj Hospital 20140918 Innovation JourneyMuangraj Hospital 20140918 Innovation Journey
Muangraj Hospital 20140918 Innovation Journeypantapong
 
Communication innovation swu week#2
Communication innovation swu week#2Communication innovation swu week#2
Communication innovation swu week#2pantapong
 
RU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovationRU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovationpantapong
 

En vedette (20)

Kotter And The Iceberg
Kotter And The IcebergKotter And The Iceberg
Kotter And The Iceberg
 
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
8 step ikash new(แก้แล้ว).ppt
 
สรุปการเรียนรู้ Getting diversity
สรุปการเรียนรู้  Getting diversity สรุปการเรียนรู้  Getting diversity
สรุปการเรียนรู้ Getting diversity
 
Our Iceberg Is Melting
Our Iceberg Is MeltingOur Iceberg Is Melting
Our Iceberg Is Melting
 
Presentation on failure of nokia
Presentation on failure of nokiaPresentation on failure of nokia
Presentation on failure of nokia
 
8 Stages of change management (Kotter)
8 Stages of change management (Kotter)8 Stages of change management (Kotter)
8 Stages of change management (Kotter)
 
Nokia's downfall
Nokia's downfallNokia's downfall
Nokia's downfall
 
Kotter’s 8 step change model
Kotter’s 8 step change modelKotter’s 8 step change model
Kotter’s 8 step change model
 
Kotter's 8 step change model
Kotter's 8 step change modelKotter's 8 step change model
Kotter's 8 step change model
 
Nokia Case Study
Nokia Case StudyNokia Case Study
Nokia Case Study
 
NOKIA PRESENTATION
NOKIA PRESENTATIONNOKIA PRESENTATION
NOKIA PRESENTATION
 
Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1Ss services workshop7-8พค53_v1
Ss services workshop7-8พค53_v1
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
Service management
Service managementService management
Service management
 
Baldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thaiBaldrige excellence builder thai
Baldrige excellence builder thai
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
Basic customer Service
Basic customer ServiceBasic customer Service
Basic customer Service
 
Muangraj Hospital 20140918 Innovation Journey
Muangraj Hospital 20140918 Innovation JourneyMuangraj Hospital 20140918 Innovation Journey
Muangraj Hospital 20140918 Innovation Journey
 
Communication innovation swu week#2
Communication innovation swu week#2Communication innovation swu week#2
Communication innovation swu week#2
 
RU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovationRU 20150118 managing change and innovation
RU 20150118 managing change and innovation
 

Similaire à Accelerate

Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...maruay songtanin
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้Weerachat Martluplao
 
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3Faqs of baldrige criteria part 3 of 3
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3maruay songtanin
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfmaruay songtanin
 

Similaire à Accelerate (20)

ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
Heart of change
Heart of changeHeart of change
Heart of change
 
Change management
Change managementChange management
Change management
 
Make better decisions
Make better decisionsMake better decisions
Make better decisions
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
Performance leadership
Performance leadershipPerformance leadership
Performance leadership
 
Conflict management
Conflict managementConflict management
Conflict management
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
บทที่ 1 การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
 
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3Faqs of baldrige criteria part 3 of 3
Faqs of baldrige criteria part 3 of 3
 
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdfOKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
OKRs Measure What Matters: OKRs วัดสิ่งที่สำคัญ.pdf
 

Plus de maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Accelerate

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 15 กรกฎาคม 2557
  • 2. By John Kotter To succeed both in today’s world and into the future, we need to think – and act – differently.
  • 3.  John Kotter is the Konosuke Matsushita Professor of Leadership, Emeritus, at Harvard Business School.  He wrote a fantastic book, Leading Change which covers the sequential change process for organizational change.
  • 4.  การจะประสบความสาเร็จ ในยุคที่เศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว โครงสร้างองค์กรอาจเป็นตัวเหนี่ยวรั้ง ที่ทาให้ องค์กรปรับตัวไม่ทันกระแส  John P. Kotter กล่าวว่า สิ่งที่องค์กรต้องการคือ ระบบปฏิบัติการ แบบคู่ (dual-operating system) ระบบหนึ่งใช้กับการปฏิบัติงาน ประจาวัน อีกระบบหนึ่งจะมุ่งเน้นที่โอกาสและความต้องการใน อนาคต
  • 5.  เมื่อ 15 ปีมาแล้ว Kotter ได้ประพันธ์หนังสือ Leading Change ที่ มีแนวทางการปฏิบัติเพื่อการเปลี่ยนแปลงขององค์กร 8 ขั้น  ในคราวนี้ Kotter ได้วางหลักการ 5 ข้อ และแนวทางปฏิบัติ 8 ขั้น ไว้ในหนังสือ Accelerate: Building Strategic Agility for a Faster-Moving World  ซึ่งในระบบปฏิบัติการแบบคู่นี้ เป็นสิ่งที่องค์กรสามารถทาได้โดย ใช้ระบบลาดับชั้น (hierarchical) ในการปฏิบัติงานประจาวัน และใช้ระบบเครือข่าย (network) ในงานที่เป็นการเปลี่ยนแปลง ต้องการความรวดเร็ว การสร้างนวัตกรรม และความคล่องตัว
  • 6.  ในองค์กรทั่วไป ระบบปฏิบัติการตามลาดับชั้นบังคับบัญชา (hierarchical operational structure) มีเพื่อใช้รายงาน และเพื่อให้ มีความรับผิดชอบตามลาดับชั้น  เนื่องจากเป็นโครงสร้างที่มีความเสี่ยงน้อย โดยจัดบุคลากรให้อยู่ ตามกรอบที่วางไว้ มีการมอบหมายงานให้หน่วยงานต่าง ๆ  แต่ปัญหาคือ ผู้จัดการทางานตามหน้าที่ ไม่ได้รับการพิจารณา การเลื่อนชั้นจากผลงานที่เสี่ยง หรือการสร้างนวัตกรรม
  • 7.  ในขณะที่องค์กรที่มีความเป็นเลิศ มีการสร้างนวัตกรรม ต้อง อาศัยเครือข่ายทางยุทธศาตร์ (strategic network) ที่ไม่เป็นไป ตามสายงาน เพื่อความคล่องตัวในการตอบสนองต่อสถานการณ์  เป็นสิ่งที่ Dr. Kotter ได้กล่าวถึงระบบปฏิบัติการแบบคู่ (dual- operating system) ซึ่งทาให้องค์กรมีความคล่องตัว มีความ รวดเร็ว มีความสร้างสรรค์ และประสบความสาเร็จ ในโลกที่มี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
  • 8.  โครงสร้างองค์กรที่ใช้กันมาเป็นร้อยปี ไม่เหมาะกับการ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว เมื่อมีโอกาสหรือการคุกคามทางกลยุทธ์ องค์กรจะตอบสนองโดยจัดทาโครงการ และให้คนเก่งที่สุด รับผิดชอบ เพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลง  ในโครงสร้างแบบเดิม การตอบสนองอาจไม่ทันกาล ทาให้เสีย โอกาสได้ เพราะโครงสร้างองค์กรที่จัดทาไว้เพื่อสาหรับการ ปฏิบัติการประจาวัน ไม่ได้เตรียมความพร้อมสาหรับอนาคต  องค์กรต้องอาศัยการจัดตั้งเครือข่าย เพื่อการรับมือให้ทันท่วงที
  • 9.  ระบบใหม่ที่ Dr. Kotter เรียกว่า dual operating system จะมีการ สร้างเครือข่ายภายในองค์กร ที่ทางานร่วมกันกับระบบลาดับชั้น  ระบบนี้ ทาให้องค์กรสามารถก้าวสู่ภายนอก ในขณะเดียวกัน ก็ เป็นการฉวยโอกาสทางการตลาด และหลีกเลี่ยงการคุกคามทาง ธุรกิจ
  • 11.  วงจรชีวิตทางธุรกิจ เริ่มต้นคล้าย ๆ กัน คือ มีการจัดตั้งเป็น เครือข่าย (a network-like structure) เหมือนระบบสุริยะจักรวาล ที่มีผู้ก่อตั้งอยู่ที่จุดศูนย์กลาง  ทุกคนในองค์กรมีส่วนในโอกาสและความเสี่ยง และทุกคนมี วิสัยทัศน์ร่วมกัน  ทาให้แต่ละคนมีความกระตือรือร้น และมีความคล่องตัวสูง
  • 13.  เมื่อเวลาผ่านไป องค์กรมีการจัดการเป็นแบบมีลาดับชั้น เพื่อการ บริหารจัดการกระบวนการต่าง ๆ เช่น การวางแผน การจัด งบประมาณ การจัดทาหน้าที่การงาน การจัดการบุคคล การ วัดผล และการแก้ปัญหา  การมีโครงสร้างลาดับชั้น และมีการจัดการกระบวนการทางาน ทาให้องค์กรสามารถพยากรณ์ผลลัพธ์ได้
  • 15.  ข้อจากัดของการทางานแบบแยกส่วนคือ มีแรงกดดันจากการทา ตัวเลขแต่ละไตรมาส ขาดความร่วมมือกัน ต่อต้านการ เปลี่ยนแปลง ทาให้ก้าวไม่ทันโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว  ปัญหาเรื่องการติดต่อสื่อสารข้ามหน่วย ทาให้โครงการล่าช้า วิกฤตระยะสั้นเบี่ยงเบนเป้าหมายระยะยาว ความคิดใหม่ ๆ ถูก มองว่าเป็นความเสี่ยง และอาจกระทบกับความก้าวหน้าในหน้าที่ การงาน  ทุกสิ่งที่กล่าวมาทาให้เกิดความหน่วง
  • 16.  องค์กรควรมีการปรับตัว มีการเร่ง โดยใช้ระบบปฏิบัติการแบบคู่
  • 17.  สิ่งที่ต้องการในปัจจุบันคือ การเตรียมพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ที่รวดเร็ว  วิธีการรับมือโดยใช้ระบบเครือข่าย ทาให้เกิดความคล่องตัว และ มีความรวดเร็ว ต่อการสนองตอบเหตุการณ์ภายนอก  ทาให้องค์กรสามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้ทั้งสองระบบควบคู่กันไปในองค์กร (A dual operating system)
  • 18.
  • 19. แนวคิดหลัก 5 ประการ  Principle 1: “you need a radical increase in the number of people involved in creating or executing strategic initiatives”  Principle 2: “it’s all about volunteers”  Principle 4: “action that is head and heart driven”  Principle 4: “leadership, leadership, leadership”  Principle 5: “although two systems are required for acceleration, they must act as one organization”
  • 20. 1. การเร่ง ต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคลากรจานวนมาก ให้มี ส่วนร่วมจัดทาและปฏิบัติตามกลยุทธ์  องค์กรต้องอาศัยบุคลากรจานวนมากในการร่วมมือกัน ช่วยกัน มอง ช่วยกันคิด ช่วยกันทา จึงจะเกิดการเร่งขึ้นมาได้ ใน โครงสร้างแบบลาดับชั้น ผู้นามีบุคคลจานวนน้อยที่จะมีเวลา ให้กับเรื่องของกลยุทธ์ใหม่ ๆ  นี่เป็นโอกาสสาคัญที่สุดของผู้นา ที่ทาให้การเร่งนี้ เกิดขึ้นใน องค์กร
  • 21. 2. การเร่ง เกิดจากอาสาสมัคร  เป็นการที่บุคคลอาสามาทางานส่วนกลางให้กับองค์กร ไม่ใช่ถูก บังคับให้ทา  การที่บุคลากรได้ทางานร่วมกับผู้นาระดับสูงขององค์กร ซึ่งถือว่า เป็นเกียรติกับบุคลากร ในการอาสาสมัครเข้าร่วมพัฒนาองค์กร  การบังคับให้ทา ทาให้ไม่ได้ใจ ขาดแรงกระตุ้นผลักดันเพื่อให้ บรรลุเป้าประสงค์
  • 22. 3. การเร่ง ต้องใช้ตัวและหัวใจ  ไม่ใช่มีแต่บุคคลมาทางานแต่ไม่ได้เอาใจมาด้วย  บุคคลส่วนมาก ไม่อยากช่วย ถ้ามีแต่การอ้างตัวเลขที่ต้องบรรลุ  ต้องทาให้เขารู้สึกถึงความสาคัญของเขา ที่มีต่อผลสาเร็จของ องค์กร
  • 23. 4. การเร่ง เกิดจากการนาองค์กร ต้องศัยการนามากกว่าการจัดการ (Much more leadership, not just more management)  แนวคิดและพฤติกรรมเรื่องการนาองค์กรในที่นี้ หมายถึงการนา องค์กรในทุกระดับ ที่ไม่ต้องรอให้ผู้มีอานาจเหนือกว่าเป็นคน บอกว่าต้องทาอย่างไร  บุคลากรได้รับมอบหมายอานาจในระดับหนึ่งในการตัดสินใจจาก ผู้นา โดยไม่ยึดติดกับลาดับชั้นการบังคับบัญชา  ทาให้บุคลากรมีความกระตือรือร้น และกล้าตัดสินใจที่เป็นความ สร้างสรรค์ สามารถก้าวข้ามอุปสรรคต่าง ๆ จนกว่างานจะ สาเร็จ นี่คือพฤติกรรมแบบผู้นา
  • 24. 5. การเร่ง แบบสองระบบในหนึ่งเดียว  ทั้งระบบลาดับชั้นและระบบเครือข่าย ที่ใช้ในองค์กรควบคู่กันไป  ระบบคู่นี้ ใช้ได้ผล เพราะในเครือข่าย มีบุคลากรอาสาสมัครที่อยู่ ในระบบของลาดับชั้น มาผสมผสานด้วย  ทั้งสองระบบต้องทางานไปด้วยกัน และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
  • 25.
  • 26. วิธีการเร่ง 8 ขั้นตอน  1. Create a sense of urgency around a Big Opportunity.  2. Build and evolve a guiding coalition.  3. Form a change vision and strategic initiatives.  4. Enlist a volunteer army.  5. Enable action by removing barriers.  6. Generate (and celebrate) short-term wins.  7. Sustain acceleration.  8. Institute change.
  • 27.  1. สร้างความตระหนัก เป็นการสร้างความรู้สึกถึงความจาเป็น เร่งด่วน ต่อโอกาสใหญ่ที่รออยู่ข้างหน้า  การสร้างระบบปฏิบัติการแบบคู่เริ่มต้นที่ตรงนี้  ความเร่งด่วน (Urgency) ทาให้บุคคลมีความคิดว่า เขาจะมีส่วน ช่วยองค์กรได้อย่างไร
  • 28.  2. ได้ใจสร้างทีม เป็นกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายและมี หลายระดับมาทางานร่วมกัน เนื่องจากรู้ถึงความจาเป็นเร่งด่วน ขององค์กร ในการตอบสนองต่อความท้าทายเชิงกลยุทธ์ การ แข่งขันที่มีสูง และเพื่อไขว่คว้าโอกาสในอนาคต  พวกเขามีแรงผลักดัน มีสติปัญญา มีอารมณ์ร่วมกัน มีการติดต่อ เชื่อมโยง มีทักษะ และมีข้อมูลสารสนเทศ ในการทางานให้เกิด ประสิทธิผล
  • 29.  3. สร้างเป้าหมายร่วม เป็นการ กาหนดวิสัยทัศน์และการ กาหนดเป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ของกลุ่มเครือข่ายที่มีร่วมกัน  การทางานของเครือข่ายนี้ เป็น สิ่งที่ระบบลาดับชั้นไม่สามารถ ทาได้ เนื่องจากขาดความ รวดเร็วในการทางาน
  • 30.  4. สร้างเป็นกองทัพอาสาสมัคร เป็นการที่มีกลุ่มคนจานวนมาก ต้องการช่วยเหลือ เนื่องจากมีการสื่อสารวิสัยทัศน์ใหม่และ เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ ไปสู่บุคลากรในองค์กร ส่งผลให้เกิด ความร่วมมือมากขึ้น  เมื่อขั้นตอนนี้ ทาได้ดี จะเกิดเป็นแรงดึงดูดให้เกิดเป็นระบบ เครือข่ายใหม่ ๆ ขึ้นมา
  • 31.  5. กาจัดอุปสรรค กลุ่มบุคคลต้องมีการทางานที่คล่องตัว มีขวัญ และกาลังใจ ดังนั้นอุปสรรคใด ๆ ที่ขวางกั้น ทาให้ช้าหรือทาให้ กิจกรรมชะงักงัน ต้องถูกกาจัดออกไป
  • 32.  6. ฉลองชัยชนะ  ทุกคนเป็นผู้ขนะ ความสาเร็จไม่ว่าน้อยหรือมาก ควรมีการฉลอง เพราะจะทาให้เกิดขวัญและกาลังใจที่ดี รวมถึงเกิดความร่วมมือ
  • 33.  7. สร้างการเร่งอย่างยั่งยืน ด้วยการมุ่งเน้นการก้าวไปข้างหน้า อย่างไม่หยุดยั้ง
  • 34.  8. ทาให้การเปลี่ยนแปลงนี้ อยู่ในสายเลือด การประสบชัยชนะ ทาให้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น กลายเป็นวัฒนธรรมขององค์กร  เมื่อกาลเวลาผ่านไป ระบบปฏิบัติการแบบคู่นี้ (dual operating system) จะฝังลึกเข้าไปอยู่ในพันธุกรรมขององค์กร
  • 35. สรุป  แนวคิดของ Kotter คือระบบปฏิบัติการแบบคู่ (dual operating system) ที่ใช้บริหารแบบลาดับชั้นอย่างเป็นทางการ (management practices and hierarchy) ในการปฏิบัติงาน ประจาวัน และใช้ระบบเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ (informal networks) ในการสร้างนวัตกรรม การปรับตัว ความเร็ว ความ คล่องตัวทางกลยุทธ์ และการเปลี่ยนแปลง  แนวคิดหลักของหนังสือเล่มนี้ คือ พลังของเครือข่าย (the power of networks)
  • 36.  วิพากษ์ ในที่สุด การนาต้องอาศัยเครือข่ายด้วยจึงจะสาเร็จ (Finally the long-standing traditional leadership guru embraces networks!)  Kotter ประพันธ์หนังสือ Accelerate โดยใช้ประโยชน์จาก เครือข่ายในการสร้างการเร่ง แต่ยังไม่ละวาง 8 ขั้นตอนของการ เปลี่ยนแปลง (8-step model of change)  แต่อย่างน้อย เขาได้กล่าวถึงความคล่องตัวและความเร็วของ เครือข่าย ที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและยั่งยืน
  • 37. By Dr. John Kotter  Step 1: Establishing a Sense of Urgency  Step 2: Creating the Guiding Coalition  Step 3: Developing a Change Vision  Step 4: Communicating the Vision for Buy-in  Step 5: Empowering Broad-based Action  Step 6: Generating Short-term Wins  Step 7: Never Letting Up  Step 8: Incorporating Changes into the Culture