SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  26
Télécharger pour lire hors ligne
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
2 พฤศจิกายน 2562
By Peter B. Stark and Jane Flaherty
Publisher: Crown Business
Publication Date: 2017/06
Negotiating is an art—and some know it better than the others.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Peter B. Stark เป็นนักประพันธ์หนังสือขายดีที่สุด ที่ปรึกษา ผู้บรรยาย และประธาน
บริษัท Peter Barron Stark เขาได้ร่วมประพันธ์หนังสือหลายเล่ม เช่น Everyone
Negotiates, The Competent Leader, Lifetime Leadership, และ Why Leaders Fail
 Jane Flaherty เป็นที่ปรึกษาอาวุโส ผู้ฝึกสอนให้กับบริษัท Peter Barron Stark และมี
ประสบการณ์กว่ายี่สิบห้าปีในการฝึกอบรมทั่วโลก เธอเป็นผู้นาที่ได้รับการยอมรับและ
เป็นผู้ฝึกสอนเรื่องการเจรจาต่อรอง
เกริ่นนา
 หนังสือ คู่มือการเจรจาต่อรองเพียงเล่มเดียวที่คุณต้องการ (The Only Negotiating Guide
You’ll Ever Need) เป็นหลักการทั่วไปสาหรับผู้เริ่มต้น ที่ให้คาแนะนาแบบตรงไปตรงมา
 ดังนั้น จึงเหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นในการเจรจาต่อรอง ไม่ว่าต้องการใช้สาหรับ
การเจรจาต่อรองกับภรรยาเพื่อจะไปออกรอบกอล์ฟ หรือต่อรองราคาในการซื้ อของ
บริเวณสนามหญ้าหรือหน้าโรงรถในวันหยุด ที่เจ้าของบ้านขายแบบถูก ๆ (garage sale)
การเจรจาต่อรองเป็นทุกอย่างในชีวิต
 ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตมีการเจรจาต่อรองภายใต้เงื่อนไขหนึ่ง ๆ อยู่ตลอดเวลา เช่นการ
ขอร้องให้นาขยะไปทิ้ง การจราจรบนทางด่วนในชั่วโมงเร่งด่วน การกาหนดเวลานัด
หมายกับลูกค้า ไปจนถึงการตัดสินใจเลือกรายการโทรทัศน์ที่จะดูกับครอบครัวของคุณ
ทุกแง่มุมของชีวิตของคุณ จะอยู่ในรูปแบบของการเจรจาต่อรอง
ส่วนที่ 1 ของหนังสือ: นักเจรจาต่อรองที่ชานาญ
 ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า พวกเราส่วนใหญ่ มีส่วนในการเจรจาต่อรองในระดับหนึ่ง ซึ่ง
เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินชีวิตตามปกติในแต่ละวัน
 ดังนั้น กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง ควรได้รับการพิจารณาว่า "เป็นวิธีการเชิงบวก ใน
โครงสร้างของกระบวนการสื่อสาร"
 กล่าวอีกนัยหนึ่ง Gerard I. Nierenberg ซึ่งได้รับการขนานนามว่าเป็น บิดาแห่งการ
ฝึกอบรมเรื่องการเจรจาต่อรอง โดยนิตยสาร Forbes กล่าวว่า เป้าหมายในการเจรจา
ต่อรองคือ เน้นชนะร่วมกัน
ผลลัพธ์การเจรจาสี่อย่างที่เป็นไปได้
 การเจรจาต่อรองใด ๆ จบลงด้วยหนึ่งในสี่ของผลลัพธ์ที่เป็นไปได้คือ
 1. Lose-Lose: การสูญเสียทั้งสองฝ่ าย เป็นผลลัพธ์ที่ไม่มีใครต้องการ
 2. Win-Lose: เป็นผลลัพธ์ที่ทุกคนหวังอย่างลับๆ ว่า คุณจะจบลงด้วยการชนะ
 3. Win-Win: ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด เป็นผลลัพธ์เมื่อความต้องการของทั้งสองฝ่ ายตรงกัน
 4. No Outcome: ไม่มีผลลัพธ์ คือทุกอย่างยังคงเป็นอยู่เหมือนตอนเริ่มต้น
ข้อสาคัญสามประการเพื่อสร้างผลลัพธ์แบบ ชนะ-ชนะ
 1. หลีกเลี่ยงการเจรจาที่แคบลงจนเหลือประเด็นเดียว (Avoid narrowing the negotiation
down to one issue)
 2. ตระหนักว่าคู่เจรจาของคุณ ไม่ได้มีความต้องการแบบเดียวกันกับที่คุณต้องการ
(Realize that your counterpart does not have the same needs and wants you do)
 3. อย่าคิดว่าคุณรู้ความต้องการของคู่เจรจาของคุณ (Do not assume you know your
counterpart’s needs)
1. หลีกเลี่ยงการเจรจาให้แคบลงจนเหลือประเด็นเดียว
 ไม่ว่าคุณจะเจรจากับคู่ครองหรือคนขายของ การมุ่งเน้นไปที่ปัญหาเดียว คือหนึ่งในสิ่งที่
แย่ที่สุดที่คุณสามารถทาได้ในระหว่างการเจรจา มันหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะทาให้เกิดการ
แพ้-ชนะ
 ไม่ว่าเรื่องการเจรจาใด ๆ จะมีประเด็นใดที่ต้องพิจารณาอีกมาก และยิ่งมีประเด็นมาก
ขึ้น ก็จะมีโอกาสมากขึ้นที่จะทาให้กลายเป็น win-win
หลีกเลี่ยงการเจรจาให้แคบลงจนเหลือปัญหาเดียว (ต่อ)
 ตัวอย่างเช่น หากคุณกาลังซื้ อของและต่อรองราคาเพียงอย่างเดียว มีโอกาสที่ฝ่ ายใดฝ่ าย
หนึ่งจะสูญเสียการต่อรองเรื่องราคา อย่างไรก็ตาม หากคุณนาเรื่องอื่น ๆ มาเจรจา
ต่อรองเพิ่มเติม (วันส่งมอบ การผ่อน การอัพเกรด การรับประกัน การฝึกอบรม และการ
สนับสนุน) คุณอาจได้รับข้อตกลงที่ดีขึ้น
 ส่วนที่น่าสนใจคือ ทุกสิ่งที่อยู่ในวงเล็บด้านบน มีผลกับ ราคา โดยรวมของผลิตภัณฑ์
แต่ถึงกระนั้น ในการเจรจาส่วนใหญ่ ผู้คนมักทาประเด็นให้แคบลงไปจนถึงหนึ่งเดียว
2. ตระหนักว่าคู่เจรจาของคุณไม่ได้มีความต้องการแบบเดียวกันกับคุณ
 ทุกอย่างนอกเหนือจากทัศนคตินี้ ย่อมนาไปสู่สถานการณ์ แพ้-ชนะ
 อย่าเริ่มการเจรจากับแนวคิดที่ว่า กาไรของคุณคือการสูญเสียของคู่เจรจาหรือในทาง
กลับกัน ประการแรก การตลาดไม่เคยมีเหตุผลหรืออะไรที่เรียบง่ายเช่นนั้น และประการ
ที่สอง มันไม่ใช่ความรู้สึกที่ดี ที่จะจบลงด้วยการเป็นฝ่ ายพ่ายแพ้
3. อย่าคิดว่าคุณรู้ความต้องการของคู่เจรจาของคุณ
 ไม่ควรคิดว่า คู่เจรจาของคุณมีความต้องการเช่นเดียวกับคุณ และก็สาคัญเช่นกัน ที่คุณ
มีโอกาสที่จะไม่เข้าใจความต้องการที่แท้จริงของเขา/เธอ
 เป็นเรื่องปกติ ที่ผู้เจรจาอาจจะทาผิดพลาด เพราะบางครั้งคุณคิดว่า ได้รู้คาตอบล่วงหน้า
ทุกอย่างชัดเจนแล้ว
อย่าคิดว่าคุณรู้ความต้องการของคู่เจรจาของคุณ (ต่อ)
 ตัวอย่างเช่น ผู้ขายอาจคิดว่า ผู้ซื้ อต้องการซื้อสินค้าหรือบริการในราคาต่าสุดเท่าที่จะ
เป็นไปได้ แต่จะเกิดอะไรขึ้น หากความต้องการที่แท้จริงของเขา/เธอ เป็นคุณภาพหรือ
สถานภาพ?
 นั่นเป็นการพลาดโอกาสสาหรับผลลัพธ์แบบ win-win นั่นเอง!
องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดสามข้อในการเจรจาต่อรอง
 Stark และ Flaherty แจ้งให้ทราบว่าเป็นเรื่องของ เวลา (ระยะเวลาที่เกิดการเจรจา)
ข้อมูลข่าวสาร (ยิ่งคุณมีมากเท่าไรยิ่งดี) และ อานาจ (ซึ่งมีหลายรูปแบบ)
1. เวลา
 เช่นเดียวกับสิ่งส่วนใหญ่ในชีวิต ที่ดูเหมือนจะยึดมั่นในหลักการของพาเรโต้ ผลลัพธ์ของคุณ
มากกว่าร้อยละ 80 ในการเจรจา ตกลงกันได้ในช่วงร้อยละ 20 สุดท้ายของเวลา หากคุณ
ต้องการนาเวลามาใช้ในระหว่างการเจรจา ทาตามคาแนะนาง่ายๆเหล่านี้
 1. มีความอดทน (Have patience)
 2. ยืนกราน (Be persistent)
 3. ทาอย่างรวดเร็วเมื่อทาได้ (Move quickly when possible)
 4. ตระหนักว่าการกาหนดเวลาเส้นตายสามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Realize deadlines can be
moved, changed, or eliminated)
 5. รู้กาหนดเวลาของคู่เจรจา (Know your counterpart’s timeline)
 6. ทาให้เวลาเป็นประโยชน์สาหรับคุณ (Make time work for you)
2. ข้อมูลข่าวสาร
 ยิ่งคุณรู้เรื่องในการเจรจาต่อรองมากเท่าใด ผลลัพธ์ก็จะยิ่งดีขึ้นเท่านั้น ถ้าคุณรู้น้อยก็มี
โอกาสที่คุณจะเป็นฝ่ าย "แพ้"
 การเจรจาไม่ใช่เหตุการณ์ แต่เป็นกระบวนการที่เริ่มต้นนาน ก่อนที่จะพบเจอแบบตัวต่อ
ตัว จงเตรียมตัวให้พร้อม
 ค้นหาทุกสิ่งที่คุณต้องการ จากใครก็ตามที่มีข้อเท็จจริงและสถิติ ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนของ
คุณ ญาติของคุณ เพื่อนร่วมงาน หรือคนรู้จักกับคู่เจรจาของคุณ ท่องอินเทอร์เน็ต
ตรวจสอบไฟล์ที่เก็บไว้อย่างถาวร และอย่าลืมว่า คู่เจรจาของคุณอาจทาเช่นเดียวกัน
3. อานาจ
 อานาจมีหลายประเภท ที่มีอิทธิพลต่อผลลัพธ์ของการเจรจาต่อรอง เพราะถ้าคุณมีอานาจแต่
ไม่ได้ใช้ ก็จะไม่เพิ่มคุณค่าในการเจรจา
 1. ตาแหน่งหน้าที่ (Position)
 2. ความรู้ความเชี่ยวชาญ (Knowledge of expertise)
 3. ลักษณะเฉพาะตัว หรือจริยธรรม (Character or ethics)
 4. รางวัล (Rewards)
 5. การลงโทษ (Punishment)
 6. เพศ (Gender)
 7. ความอ่อนแอ (Powerlessness)
 8. ความมีเสน่ห์ หรืออานาจส่วนบุคคล (Charisma or personal power)
 9. ขาดความสนใจ หรือความปรารถนา (Lack of interest or desire)
 10. ความบ้าคลั่ง (Craziness)
กฎห้าข้อของอานาจ
 นอกเหนือจากการใช้อานาจแล้ว มีกฎห้าข้อของอานาจเช่นกันคือ
 1. ไม่มีใครที่ครองอานาจได้ทั้งหมด (Seldom does one side have all the power)
 2. อานาจมีทั้งจริงและแบบชัดเจน (Power may be both real and apparent)
 3. อานาจขึ้นกับการยอมรับ (Power exists only to the point at which it is accepted)
 4. ความสัมพันธ์ของอานาจเปลี่ยนแปลงได้ (Power relationships can change)
 5. ควรทดสอบอานาจว่ามีจริง (Power should be tested)
ผู้เจรจาต่อรองสามประเภท
 1. ฉลาม: ไม่มีผลลัพธ์อื่นนอกจากผลชนะ-แพ้ พวกเขาไม่เต็มใจที่จะจบลงด้วยการพ่าย
แพ้ พวกเขาอาศัยอยู่ในโลกที่ยากลาบาก และคิดว่ามันเป็นสิ่งสาคัญที่จะชนะด้วย
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด นั่นเป็นสาเหตุที่พวกเขาแล้วมุ่งเน้นไปที่ การฆ่า
 2. ปลาคาร์ป: อาศัยอยู่ในโลกที่ยากลาบาก เป้าหมายสุดท้ายของพวกเขาคือไม่ต้องการ
ชนะ แต่ต้องการลดความสูญเสีย พวกเขาเผชิญหน้ากับความหวาดกลัว และอยู่กับ
ความคิดที่ว่า พวกเขาจะต้องทาอย่างหนักเพื่อรักษาสิ่งที่พวกเขามีอยู่ เมื่อต้องเผชิญกับ
ปลาฉลาม ปลาคาร์ปมักจะอยู่ฝ่ ายแพ้
ผู้เจรจาสามประเภท (ต่อ)
 3. ปลาโลมา: เป็นผู้เจรจาต่อรองที่ดีที่สุด เพราะพวกเขาอาศัยอยู่ในโลกที่อุดมสมบูรณ์
พวกเขามีความคิดว่า มีผลลัพธ์ที่แตกต่างกันมากมายไม่ใช่เพียงสองประการ (แพ้หรือ
ชนะ) พวกเขามีความยืดหยุ่น และสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมที่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์
นอกจากนี้ พวกเขาจะลองทุกอย่าง เช่นว่ายน้ารอบ ๆ แทนการเผชิญหน้า แต่ถ้าถูกท้า
ทายจากฉลาม พวกเขาสามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็วและเด็ดเดี่ยว พวกเขายังให้
อภัยได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน ดังนั้นหากคู่เจรจาคือฉลาม แสดงสัญญาณของความร่วมมือ
ใด ๆ ปลาโลมาก็มีความสามารถในการเปลี่ยน จากการตอบโต้อย่างรวดเร็วเป็นกลยุทธ์
ความร่วมมือมากขึ้น
ส่วนที่สองของหนังสือ: 101 กลยุทธ์เพื่อการเจรจาต่อรองที่ประสบความสาเร็จ
 เป็นการนาเสนอกลวิธีในแต่ละรูปแบบ ที่มีคาอธิบายเกี่ยวกับชั้นเชิงพร้อมตัวอย่าง
 การอธิบายกลวิธีทั้ง 101 รายการ จะเกินขอบเขตของการสรุปนี้ ดังนั้นมีสามตัวอย่างที่
เป็นบทเรียนสาคัญ คือ
 1. นั่นเป็นข้อเสนอที่ดีที่สุดของคุณแล้วหรือ? (Is That Your Best Offer?)
 2. ว้าว! คุณต้องล้อเล่นแน่ ๆ! (Wow! You’ve Got to Be Kidding!)
 3. นาสิ่งในอนาคตมาต่อรอง (Giving Up a Future Draft Choice)
ชั้นเชิงการเจรจาต่อรอง: 1. นั่นคือข้อเสนอที่ดีที่สุดของคุณแล้วหรือ?
 เป็นวิธีที่ยอดเยี่ยมในการฝึกฝนทักษะการเจรจาต่อรองของคุณ ให้เริ่มถามด้วยคาถามนี้
จากพนักงานขายจนเป็นนิสัย
 คุณจะประหลาดใจว่า พวกเขาจะลดราคาลงได้อีก หรือคุณอาจจะได้รับประโยชน์พิเศษ
จากการถามคาถามง่าย ๆ นี้
 ลองทา และดูว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไร!
ชั้นเชิงการเจรจาต่อรอง: 2. ว้าว! คุณต้องล้อเล่นแน่ ๆ!
 นักเจรจาต่อรองที่ประสบความสาเร็จ มักทาได้ดีในการแสดงความประหลาดใจ
 และนี่คือวิธีที่พวกเขามักจะแสดงความประหลาดใจนั้น มันอาจดูไร้สาระ แต่ในโลกแห่ง
ความเป็นจริงแล้ว มันมีผลกระทบจริง ๆ มันทาให้คู่เจรจาของคุณถามตัวเองว่า "เขารู้
อะไร (ที่ฉันไม่รู้)" แม้ว่าเขาจะรู้ว่า มันเป็นแค่กลลวงก็ตาม
 ในความเป็นจริง การไม่ทาท่าทางประหลาดใจเมื่อมีการพูดถึงราคาหรือเงื่อนไข อาจ
ส่งผลให้บางสิ่งที่คุณไม่ต้องการ นั่นคือคู่เจรจาของคุณได้ประโยชน์จากคุณ
ชั้นเชิงการเจรจาต่อรอง: 3. การนาสิ่งในอนาคตมาต่อรอง
 ทุกคนที่เฝ้าดูการคัดเลือกตัวนักกีฬาอาชีพในแต่ละรอบของ NBA รู้ว่ามันหมายถึงอะไร
คือการที่เราได้รับสิ่งที่ต้องการมากขึ้น ในขณะที่ยอมสละบางสิ่งบางอย่างในอนาคต
 ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณอยากดูเกมฟุตบอลคืนนี้ จริง ๆ แม้ว่าคุณจะสัญญากับแฟนสาวของ
คุณว่า จะพาเธอไปที่ร้านอาหารที่ดี คุณอาจจะเสนอข้อตกลงนี้ กับเธอ หากคุณให้ฉันดู
เกมฟุตบอลวันนี้ ฉันจะพาคุณออกไปทานอาหารสามครั้งในช่วงสัปดาห์หน้า
 เราไม่รับประกันว่ามันจะใช้งานได้ผล แต่ก็คุ้มค่ากับการทดลองทาดู!
สรุป
 คุณอาจต้องการคาแนะนาในเรื่องการเจรจาต่อรองอื่น ๆ อีก นอกเหนือจากหนังสือเล่มนี้
แต่เรารู้สึกว่า หนังสือเล่มนี้ คือสิ่งที่คุณจะกลับมาทบทวนเสมอ เพราะหนังสือเล่มนี้ ทา
หน้าที่เหมือนเป็นหนังสือเรียน (ส่วนแรก) และสารานุกรม (ส่วนที่สอง)
- Henry Ford (July 30, 1863 – April 7, 1947)

Contenu connexe

Plus de maruay songtanin

๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
maruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๑. ยวปาลกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Negotiating guides แนวทางการเจรจาต่อรอง

  • 2. By Peter B. Stark and Jane Flaherty Publisher: Crown Business Publication Date: 2017/06 Negotiating is an art—and some know it better than the others.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Peter B. Stark เป็นนักประพันธ์หนังสือขายดีที่สุด ที่ปรึกษา ผู้บรรยาย และประธาน บริษัท Peter Barron Stark เขาได้ร่วมประพันธ์หนังสือหลายเล่ม เช่น Everyone Negotiates, The Competent Leader, Lifetime Leadership, และ Why Leaders Fail  Jane Flaherty เป็นที่ปรึกษาอาวุโส ผู้ฝึกสอนให้กับบริษัท Peter Barron Stark และมี ประสบการณ์กว่ายี่สิบห้าปีในการฝึกอบรมทั่วโลก เธอเป็นผู้นาที่ได้รับการยอมรับและ เป็นผู้ฝึกสอนเรื่องการเจรจาต่อรอง
  • 4. เกริ่นนา  หนังสือ คู่มือการเจรจาต่อรองเพียงเล่มเดียวที่คุณต้องการ (The Only Negotiating Guide You’ll Ever Need) เป็นหลักการทั่วไปสาหรับผู้เริ่มต้น ที่ให้คาแนะนาแบบตรงไปตรงมา  ดังนั้น จึงเหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นในการเจรจาต่อรอง ไม่ว่าต้องการใช้สาหรับ การเจรจาต่อรองกับภรรยาเพื่อจะไปออกรอบกอล์ฟ หรือต่อรองราคาในการซื้ อของ บริเวณสนามหญ้าหรือหน้าโรงรถในวันหยุด ที่เจ้าของบ้านขายแบบถูก ๆ (garage sale)
  • 5. การเจรจาต่อรองเป็นทุกอย่างในชีวิต  ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิตมีการเจรจาต่อรองภายใต้เงื่อนไขหนึ่ง ๆ อยู่ตลอดเวลา เช่นการ ขอร้องให้นาขยะไปทิ้ง การจราจรบนทางด่วนในชั่วโมงเร่งด่วน การกาหนดเวลานัด หมายกับลูกค้า ไปจนถึงการตัดสินใจเลือกรายการโทรทัศน์ที่จะดูกับครอบครัวของคุณ ทุกแง่มุมของชีวิตของคุณ จะอยู่ในรูปแบบของการเจรจาต่อรอง
  • 6. ส่วนที่ 1 ของหนังสือ: นักเจรจาต่อรองที่ชานาญ  ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า พวกเราส่วนใหญ่ มีส่วนในการเจรจาต่อรองในระดับหนึ่ง ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของการดาเนินชีวิตตามปกติในแต่ละวัน  ดังนั้น กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง ควรได้รับการพิจารณาว่า "เป็นวิธีการเชิงบวก ใน โครงสร้างของกระบวนการสื่อสาร"  กล่าวอีกนัยหนึ่ง Gerard I. Nierenberg ซึ่งได้รับการขนานนามว่าเป็น บิดาแห่งการ ฝึกอบรมเรื่องการเจรจาต่อรอง โดยนิตยสาร Forbes กล่าวว่า เป้าหมายในการเจรจา ต่อรองคือ เน้นชนะร่วมกัน
  • 7. ผลลัพธ์การเจรจาสี่อย่างที่เป็นไปได้  การเจรจาต่อรองใด ๆ จบลงด้วยหนึ่งในสี่ของผลลัพธ์ที่เป็นไปได้คือ  1. Lose-Lose: การสูญเสียทั้งสองฝ่ าย เป็นผลลัพธ์ที่ไม่มีใครต้องการ  2. Win-Lose: เป็นผลลัพธ์ที่ทุกคนหวังอย่างลับๆ ว่า คุณจะจบลงด้วยการชนะ  3. Win-Win: ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด เป็นผลลัพธ์เมื่อความต้องการของทั้งสองฝ่ ายตรงกัน  4. No Outcome: ไม่มีผลลัพธ์ คือทุกอย่างยังคงเป็นอยู่เหมือนตอนเริ่มต้น
  • 8. ข้อสาคัญสามประการเพื่อสร้างผลลัพธ์แบบ ชนะ-ชนะ  1. หลีกเลี่ยงการเจรจาที่แคบลงจนเหลือประเด็นเดียว (Avoid narrowing the negotiation down to one issue)  2. ตระหนักว่าคู่เจรจาของคุณ ไม่ได้มีความต้องการแบบเดียวกันกับที่คุณต้องการ (Realize that your counterpart does not have the same needs and wants you do)  3. อย่าคิดว่าคุณรู้ความต้องการของคู่เจรจาของคุณ (Do not assume you know your counterpart’s needs)
  • 9. 1. หลีกเลี่ยงการเจรจาให้แคบลงจนเหลือประเด็นเดียว  ไม่ว่าคุณจะเจรจากับคู่ครองหรือคนขายของ การมุ่งเน้นไปที่ปัญหาเดียว คือหนึ่งในสิ่งที่ แย่ที่สุดที่คุณสามารถทาได้ในระหว่างการเจรจา มันหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะทาให้เกิดการ แพ้-ชนะ  ไม่ว่าเรื่องการเจรจาใด ๆ จะมีประเด็นใดที่ต้องพิจารณาอีกมาก และยิ่งมีประเด็นมาก ขึ้น ก็จะมีโอกาสมากขึ้นที่จะทาให้กลายเป็น win-win
  • 10. หลีกเลี่ยงการเจรจาให้แคบลงจนเหลือปัญหาเดียว (ต่อ)  ตัวอย่างเช่น หากคุณกาลังซื้ อของและต่อรองราคาเพียงอย่างเดียว มีโอกาสที่ฝ่ ายใดฝ่ าย หนึ่งจะสูญเสียการต่อรองเรื่องราคา อย่างไรก็ตาม หากคุณนาเรื่องอื่น ๆ มาเจรจา ต่อรองเพิ่มเติม (วันส่งมอบ การผ่อน การอัพเกรด การรับประกัน การฝึกอบรม และการ สนับสนุน) คุณอาจได้รับข้อตกลงที่ดีขึ้น  ส่วนที่น่าสนใจคือ ทุกสิ่งที่อยู่ในวงเล็บด้านบน มีผลกับ ราคา โดยรวมของผลิตภัณฑ์ แต่ถึงกระนั้น ในการเจรจาส่วนใหญ่ ผู้คนมักทาประเด็นให้แคบลงไปจนถึงหนึ่งเดียว
  • 11. 2. ตระหนักว่าคู่เจรจาของคุณไม่ได้มีความต้องการแบบเดียวกันกับคุณ  ทุกอย่างนอกเหนือจากทัศนคตินี้ ย่อมนาไปสู่สถานการณ์ แพ้-ชนะ  อย่าเริ่มการเจรจากับแนวคิดที่ว่า กาไรของคุณคือการสูญเสียของคู่เจรจาหรือในทาง กลับกัน ประการแรก การตลาดไม่เคยมีเหตุผลหรืออะไรที่เรียบง่ายเช่นนั้น และประการ ที่สอง มันไม่ใช่ความรู้สึกที่ดี ที่จะจบลงด้วยการเป็นฝ่ ายพ่ายแพ้
  • 12. 3. อย่าคิดว่าคุณรู้ความต้องการของคู่เจรจาของคุณ  ไม่ควรคิดว่า คู่เจรจาของคุณมีความต้องการเช่นเดียวกับคุณ และก็สาคัญเช่นกัน ที่คุณ มีโอกาสที่จะไม่เข้าใจความต้องการที่แท้จริงของเขา/เธอ  เป็นเรื่องปกติ ที่ผู้เจรจาอาจจะทาผิดพลาด เพราะบางครั้งคุณคิดว่า ได้รู้คาตอบล่วงหน้า ทุกอย่างชัดเจนแล้ว
  • 13. อย่าคิดว่าคุณรู้ความต้องการของคู่เจรจาของคุณ (ต่อ)  ตัวอย่างเช่น ผู้ขายอาจคิดว่า ผู้ซื้ อต้องการซื้อสินค้าหรือบริการในราคาต่าสุดเท่าที่จะ เป็นไปได้ แต่จะเกิดอะไรขึ้น หากความต้องการที่แท้จริงของเขา/เธอ เป็นคุณภาพหรือ สถานภาพ?  นั่นเป็นการพลาดโอกาสสาหรับผลลัพธ์แบบ win-win นั่นเอง!
  • 14. องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดสามข้อในการเจรจาต่อรอง  Stark และ Flaherty แจ้งให้ทราบว่าเป็นเรื่องของ เวลา (ระยะเวลาที่เกิดการเจรจา) ข้อมูลข่าวสาร (ยิ่งคุณมีมากเท่าไรยิ่งดี) และ อานาจ (ซึ่งมีหลายรูปแบบ)
  • 15. 1. เวลา  เช่นเดียวกับสิ่งส่วนใหญ่ในชีวิต ที่ดูเหมือนจะยึดมั่นในหลักการของพาเรโต้ ผลลัพธ์ของคุณ มากกว่าร้อยละ 80 ในการเจรจา ตกลงกันได้ในช่วงร้อยละ 20 สุดท้ายของเวลา หากคุณ ต้องการนาเวลามาใช้ในระหว่างการเจรจา ทาตามคาแนะนาง่ายๆเหล่านี้  1. มีความอดทน (Have patience)  2. ยืนกราน (Be persistent)  3. ทาอย่างรวดเร็วเมื่อทาได้ (Move quickly when possible)  4. ตระหนักว่าการกาหนดเวลาเส้นตายสามารถเปลี่ยนแปลงได้ (Realize deadlines can be moved, changed, or eliminated)  5. รู้กาหนดเวลาของคู่เจรจา (Know your counterpart’s timeline)  6. ทาให้เวลาเป็นประโยชน์สาหรับคุณ (Make time work for you)
  • 16. 2. ข้อมูลข่าวสาร  ยิ่งคุณรู้เรื่องในการเจรจาต่อรองมากเท่าใด ผลลัพธ์ก็จะยิ่งดีขึ้นเท่านั้น ถ้าคุณรู้น้อยก็มี โอกาสที่คุณจะเป็นฝ่ าย "แพ้"  การเจรจาไม่ใช่เหตุการณ์ แต่เป็นกระบวนการที่เริ่มต้นนาน ก่อนที่จะพบเจอแบบตัวต่อ ตัว จงเตรียมตัวให้พร้อม  ค้นหาทุกสิ่งที่คุณต้องการ จากใครก็ตามที่มีข้อเท็จจริงและสถิติ ไม่ว่าจะเป็นเพื่อนของ คุณ ญาติของคุณ เพื่อนร่วมงาน หรือคนรู้จักกับคู่เจรจาของคุณ ท่องอินเทอร์เน็ต ตรวจสอบไฟล์ที่เก็บไว้อย่างถาวร และอย่าลืมว่า คู่เจรจาของคุณอาจทาเช่นเดียวกัน
  • 17. 3. อานาจ  อานาจมีหลายประเภท ที่มีอิทธิพลต่อผลลัพธ์ของการเจรจาต่อรอง เพราะถ้าคุณมีอานาจแต่ ไม่ได้ใช้ ก็จะไม่เพิ่มคุณค่าในการเจรจา  1. ตาแหน่งหน้าที่ (Position)  2. ความรู้ความเชี่ยวชาญ (Knowledge of expertise)  3. ลักษณะเฉพาะตัว หรือจริยธรรม (Character or ethics)  4. รางวัล (Rewards)  5. การลงโทษ (Punishment)  6. เพศ (Gender)  7. ความอ่อนแอ (Powerlessness)  8. ความมีเสน่ห์ หรืออานาจส่วนบุคคล (Charisma or personal power)  9. ขาดความสนใจ หรือความปรารถนา (Lack of interest or desire)  10. ความบ้าคลั่ง (Craziness)
  • 18. กฎห้าข้อของอานาจ  นอกเหนือจากการใช้อานาจแล้ว มีกฎห้าข้อของอานาจเช่นกันคือ  1. ไม่มีใครที่ครองอานาจได้ทั้งหมด (Seldom does one side have all the power)  2. อานาจมีทั้งจริงและแบบชัดเจน (Power may be both real and apparent)  3. อานาจขึ้นกับการยอมรับ (Power exists only to the point at which it is accepted)  4. ความสัมพันธ์ของอานาจเปลี่ยนแปลงได้ (Power relationships can change)  5. ควรทดสอบอานาจว่ามีจริง (Power should be tested)
  • 19. ผู้เจรจาต่อรองสามประเภท  1. ฉลาม: ไม่มีผลลัพธ์อื่นนอกจากผลชนะ-แพ้ พวกเขาไม่เต็มใจที่จะจบลงด้วยการพ่าย แพ้ พวกเขาอาศัยอยู่ในโลกที่ยากลาบาก และคิดว่ามันเป็นสิ่งสาคัญที่จะชนะด้วย ค่าใช้จ่ายทั้งหมด นั่นเป็นสาเหตุที่พวกเขาแล้วมุ่งเน้นไปที่ การฆ่า  2. ปลาคาร์ป: อาศัยอยู่ในโลกที่ยากลาบาก เป้าหมายสุดท้ายของพวกเขาคือไม่ต้องการ ชนะ แต่ต้องการลดความสูญเสีย พวกเขาเผชิญหน้ากับความหวาดกลัว และอยู่กับ ความคิดที่ว่า พวกเขาจะต้องทาอย่างหนักเพื่อรักษาสิ่งที่พวกเขามีอยู่ เมื่อต้องเผชิญกับ ปลาฉลาม ปลาคาร์ปมักจะอยู่ฝ่ ายแพ้
  • 20. ผู้เจรจาสามประเภท (ต่อ)  3. ปลาโลมา: เป็นผู้เจรจาต่อรองที่ดีที่สุด เพราะพวกเขาอาศัยอยู่ในโลกที่อุดมสมบูรณ์ พวกเขามีความคิดว่า มีผลลัพธ์ที่แตกต่างกันมากมายไม่ใช่เพียงสองประการ (แพ้หรือ ชนะ) พวกเขามีความยืดหยุ่น และสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมที่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ นอกจากนี้ พวกเขาจะลองทุกอย่าง เช่นว่ายน้ารอบ ๆ แทนการเผชิญหน้า แต่ถ้าถูกท้า ทายจากฉลาม พวกเขาสามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็วและเด็ดเดี่ยว พวกเขายังให้ อภัยได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน ดังนั้นหากคู่เจรจาคือฉลาม แสดงสัญญาณของความร่วมมือ ใด ๆ ปลาโลมาก็มีความสามารถในการเปลี่ยน จากการตอบโต้อย่างรวดเร็วเป็นกลยุทธ์ ความร่วมมือมากขึ้น
  • 21. ส่วนที่สองของหนังสือ: 101 กลยุทธ์เพื่อการเจรจาต่อรองที่ประสบความสาเร็จ  เป็นการนาเสนอกลวิธีในแต่ละรูปแบบ ที่มีคาอธิบายเกี่ยวกับชั้นเชิงพร้อมตัวอย่าง  การอธิบายกลวิธีทั้ง 101 รายการ จะเกินขอบเขตของการสรุปนี้ ดังนั้นมีสามตัวอย่างที่ เป็นบทเรียนสาคัญ คือ  1. นั่นเป็นข้อเสนอที่ดีที่สุดของคุณแล้วหรือ? (Is That Your Best Offer?)  2. ว้าว! คุณต้องล้อเล่นแน่ ๆ! (Wow! You’ve Got to Be Kidding!)  3. นาสิ่งในอนาคตมาต่อรอง (Giving Up a Future Draft Choice)
  • 22. ชั้นเชิงการเจรจาต่อรอง: 1. นั่นคือข้อเสนอที่ดีที่สุดของคุณแล้วหรือ?  เป็นวิธีที่ยอดเยี่ยมในการฝึกฝนทักษะการเจรจาต่อรองของคุณ ให้เริ่มถามด้วยคาถามนี้ จากพนักงานขายจนเป็นนิสัย  คุณจะประหลาดใจว่า พวกเขาจะลดราคาลงได้อีก หรือคุณอาจจะได้รับประโยชน์พิเศษ จากการถามคาถามง่าย ๆ นี้  ลองทา และดูว่าผลจะออกมาเป็นอย่างไร!
  • 23. ชั้นเชิงการเจรจาต่อรอง: 2. ว้าว! คุณต้องล้อเล่นแน่ ๆ!  นักเจรจาต่อรองที่ประสบความสาเร็จ มักทาได้ดีในการแสดงความประหลาดใจ  และนี่คือวิธีที่พวกเขามักจะแสดงความประหลาดใจนั้น มันอาจดูไร้สาระ แต่ในโลกแห่ง ความเป็นจริงแล้ว มันมีผลกระทบจริง ๆ มันทาให้คู่เจรจาของคุณถามตัวเองว่า "เขารู้ อะไร (ที่ฉันไม่รู้)" แม้ว่าเขาจะรู้ว่า มันเป็นแค่กลลวงก็ตาม  ในความเป็นจริง การไม่ทาท่าทางประหลาดใจเมื่อมีการพูดถึงราคาหรือเงื่อนไข อาจ ส่งผลให้บางสิ่งที่คุณไม่ต้องการ นั่นคือคู่เจรจาของคุณได้ประโยชน์จากคุณ
  • 24. ชั้นเชิงการเจรจาต่อรอง: 3. การนาสิ่งในอนาคตมาต่อรอง  ทุกคนที่เฝ้าดูการคัดเลือกตัวนักกีฬาอาชีพในแต่ละรอบของ NBA รู้ว่ามันหมายถึงอะไร คือการที่เราได้รับสิ่งที่ต้องการมากขึ้น ในขณะที่ยอมสละบางสิ่งบางอย่างในอนาคต  ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณอยากดูเกมฟุตบอลคืนนี้ จริง ๆ แม้ว่าคุณจะสัญญากับแฟนสาวของ คุณว่า จะพาเธอไปที่ร้านอาหารที่ดี คุณอาจจะเสนอข้อตกลงนี้ กับเธอ หากคุณให้ฉันดู เกมฟุตบอลวันนี้ ฉันจะพาคุณออกไปทานอาหารสามครั้งในช่วงสัปดาห์หน้า  เราไม่รับประกันว่ามันจะใช้งานได้ผล แต่ก็คุ้มค่ากับการทดลองทาดู!
  • 25. สรุป  คุณอาจต้องการคาแนะนาในเรื่องการเจรจาต่อรองอื่น ๆ อีก นอกเหนือจากหนังสือเล่มนี้ แต่เรารู้สึกว่า หนังสือเล่มนี้ คือสิ่งที่คุณจะกลับมาทบทวนเสมอ เพราะหนังสือเล่มนี้ ทา หน้าที่เหมือนเป็นหนังสือเรียน (ส่วนแรก) และสารานุกรม (ส่วนที่สอง)
  • 26. - Henry Ford (July 30, 1863 – April 7, 1947)