SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  83
Télécharger pour lire hors ligne
ติวเข้มวิทยาศาสตร์ (SCIENCE)
สาหรับนักเรียนที่มีความสามารถ
พิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์
(GIFTED SCIENCE)
เรื่อง
การเปลี่ยนแปลงของสาร
[ตอนที่ 1]
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
การเปลี่ยนแปลงของสาร [ตอนที่ 1]
• 1. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแข็ง
• 2. การเปลี่ยนแปลงสถานะของเหลว
• 3. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแก๊ส
• 4. พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
1. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแข็ง
สาร และ สมบัติของสาร
สสาร ( Matter ) หมายถึงสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และ สามารถ
สัมผัสได้โดยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่น ดิน น้า อากาศ ฯลฯ ภายใน
สสารเป็นเนื้อของสสาร เรียกว่า สาร ( Substance )
สาร ( Substance ) คือ สสารที่ทราบสมบัติ หรือ สสารที่จะศึกษา
ดังนั้นจึงเป็นสสารที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งจะมีสมบัติของสาร
2 ประเภท คือ
- สมบัติกายภาพ ( Physical Property ) หมายถึง สมบัติที่สังเกตได้
จากลักษณะภายนอก และ เกี่ยวกับวิธีการทางฟิสิกส์ เช่น
ความหนาแน่น , จุดเดือด , จุดหลอมเหลว
- สมบัติทางเคมี ( Chemistry Property ) หมายถึง สมบัติที่เกิดขึ้น
จากการทาปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ , การเป็นสนิม , ความเป็น
กรด - เบส ของสาร
การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่
1. การใช้สถานะเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
- สถานะที่เป็นของแข็ง ( Solid ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่ง
อนุภาคภายในจะอยู่ชิดติดกัน เช่น ด่างทับทิม ( KMnO4 )
, ทองแดง ( Cu )
- สถานะที่เป็นของเหลว ( Liquid ) จะมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และ
มีปริมาตรที่คงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดกันน้อยกว่า
ของแข็ง และ มีสมบัติเป็นของไหล เช่น น้ามัน , แอลกอฮอล์ , ปรอท
( Hg ) ฯลฯ
- สถานะที่เป็นก๊าซ ( Gas ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรที่ไม่คงที่ โดย
รูปร่าง จะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคภายในจะอยู่
ห่างกันมากที่สุด และ มีสมบัติเป็นของไหลได้ เช่น ก๊าซหุงต้ม , อากาศ
สถานะของสาร
การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่
2. การใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ จะมีสมบัติทางกายภาพของสารที่ได้
จากการสังเกตลักษณะความแตกต่างของเนื้อสาร ซึ่งจะจาแนก
ได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
- สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี
เนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน ทาให้สารมีสมบัติเหมือนกัน
ตลอดทุกส่วน เช่น แอลกอฮอล์ , ทองคา ( Au ) , โลหะบัดกรี
- สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี
เนื้อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน จะทาให้สารนั้นมีสมบัติ ไม่
เหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น น้าอบไทย , น้าคลอง ฯลฯ
การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่
3. การละลายน้าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
- สารที่ละลายน้าได้ เช่น เกลือแกง ( NaCl ) , ด่างทับทิม
( KMnO4 ) ฯลฯ
- สารที่ละลายน้าได้บ้าง เช่น ก๊าซคลอรีน ( Cl2 ) , ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ฯลฯ
- สารที่ไม่สามารถละลายน้าได้ เช่น กามะถัน ( S8 ) , เหล็ก
( Fe ) ฯลฯ
การละลายประเภทดูดความร้อนและการละลายประเภทคายความร้อน
การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่
4. การนาไฟฟ้าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
- สารที่นาไฟฟ้าได้ เช่น ทองแดง ( Cu ) , น้าเกลือ ฯลฯ
- สารที่ไม่นาไฟฟ้า เช่น หินปูน ( CaCO3 ) , ก๊าซออกซิเจน ( O2 )
การแยกน้าด้วยกระแสไฟฟ้า
การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่
5. ใช้ความเป็นโลหะเป็นเกณฑ์ ใช้ความเป็นโลหะเป็น
เกณฑ์ แบ่งสารออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
•โลหะ (metal) เช่น ทองคา(Au) ทองแดง(Cu) เงิน(Ag)
เหล็ก(Fe) ปรอท(Hg) สังกะสี(Zn) ดีบุก(Sn) ตะกั่ว
(Pb) โซเดียม(Na) แมกนีเซียม (Mg) เป็นต้น
•อโลหะ (non - metal) เช่น คาร์บอน(C) ฟอสฟอรัส
(P) กามะถัน(S) ออกซิเจน(O) ไฮโดรเจน(H) ฮีเลียม
(He) คลอรีน(Cl) เป็นต้น
•กึ่งโลหะ (metalloid) เช่น ซิลิคอน(Si) ซีลิเนียม
(Se) เจอร์เมเนียม(Ge) อาร์เซนิก(As) เป็นต้น
โดยส่วนมากนักวิทยาศาสตร์จะจาแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ดังนี้
สารแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ สารเนื้อเดียว และสารเนื้อผสม
สารเนื้อเดียว
สารเนื้อเดียว คือ สารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียว และถ้าตรวจสอบสมบัติของสารจะเหมือนกันทุกส่วน อาจมี
องค์ประกอบเดียว หรือหลายองค์ประกอบ แบ่งเป็นสารบริสุทธิ์และสารละลาย
1. สารบริสุทธิ์ เป็นสารที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ได้แก่ ธาตุและสารประกอบ ซึ่งก็คือ สารที่เกิดจาก
องค์ประกอบมากกว่าหนึ่งชนิด แต่มีอัตราส่วนโดยมวลของสารที่เป็นองค์ประกอบ
- ธาตุ( Element ) คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวกัน เช่น คาร์บอน ( C ) , กามะถัน
( S8 ) ซึ่งธาตุแบ่งเป็น
โลหะ (เช่น เหล็ก ทองคา เงิน)
อโลหะ (เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน)
กึ่งโลหะ (เช่น อะลูมิเนียม)
- สารประกอบ ( Compound Substance ) เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน โดยมีอัตราส่วนในการ
ร่วมกันคงที่แน่นอน ได้แก่ กรดน้าส้ม ( CH3COOH ) , กรดไฮโดรคลอริก ( HCl ) ฯลฯ
สารเนื้อเดียว
2. สารละลาย เป็นของผสมเนื้อเดียว มีอัตราส่วนโดยมวลของสารที่เป็นองค์ประกอบไม่คงที่ องค์ประกอบของสารละลาย
มี 2 ส่วน คือ
2.1 ตัวทาละลาย คือ สารที่มีปริมาณมากที่สุดในสารละลาย (กรณีสถานะองค์ประกอบเหมือนกัน) หรือเป็นสารที่มี
สถานะเดียวกับสารละลาย (กรณีสถานะองค์ประกอบต่างกัน)
2.2 ตัวละลาย คือ สารที่มีปริมาณอยู่น้อยในสารละลาย หรือมีสถานะต่างจากสาร
ละลาย เช่น- น้าเกลือ เป็นสารละลาย ประกอบด้วยน้าและเกลือ พิจารณา น้าเกลือ มีสถานะเป็นของเหลว และน้าก็มีสถานะ
เป็นของเหลว ดังนั้น น้าจึงเป็นตัวทาละลาย ส่วนเกลือ เป็นของแข็ง จึงเป็นตัวละลาย-อากาศ เป็นสารละลาย ประกอบด้วย
1) แก๊สไนโตรเจน ประมาณ 78%2) แก๊สออกซิเจน ประมาณ 21%3) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สเฉื่อย 1%พิจารณา
อากาศมีองค์ประกอบสถานะเดียวกัน คือ แก๊ส จึงต้องดูปริมาณสารที่เป็นองค์ประกอบ ดังนั้น แก๊สไนโตรเจน เป็นตัวทา
ละลาย (มีปริมาณมากกว่า) ส่วนแก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สเฉื่อยเป็นตัวละลายข้อควรทราบตัวทา
ละลาย จะมีเพียงองค์ประกอบเดียว แต่ตัวละลายสามารถมีหลายองค์ประกอบสารละลาย คือ ตัวทาละลาย + ตัวละลาย
การจาแนกสารบริสุทธิ์และสารละลายโดยใช้อุณหภูมิ
สารเนื้อผสม
สารเนื้อผสม คือ สารที่มีองค์ประกอบมากกว่าหนึ่งส่วน สารที่มองไม่เป็นเนื้อเดียวหรือองค์ประกอบเดียว แต่จะสามารถ
เห็นเป็น 2 องค์ประกอบขึ้นไป
- สารเนื้อผสม แบ่งเป็น คอลลอยด์ และสารแขวนลอย
- สารแขวนลอย คือ สารผสมที่ประกอบด้วยสารที่อนุภาคมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่า 10-4 เซนติเมตร กระจายอยู่ในสาร
ที่เป็นตัวกลางอีกชนิดหนึ่ง เมื่อทิ้งไว้จะตกตะกอน สามารถที่จะแยกอนุภาคในสารแขวนลอยได้โดยการใช้กระดาษกรอง
- คอลลอยด์ คือ สารผสมที่ประกอบด้วยสารที่อนุภาคมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตร กระจายอยู่ใน
สารที่เป็นตัวกลางอีกชนิดหนึ่ง สามารถที่จะแยกอนุภาคในคอลลอยด์ออกจากตัวกลางได้โดยการใช้กระดาษเซลโลเฟน
เท่านั้น ไม่สามารถใช้กระดาษกรองในการแยกอนุภาคได้เนื่องจากอนุภาคของคอลลอยด์มีขนาดเล็กกว่ารูของกระดาษ
กรอง
สรุปข้อแตกต่างระหว่างสารผสมกับสารเนื้อผสม
ข้อแตกต่างระหว่างสารผสมกับสารเนื้อผสม คือ สารผสมมีองค์ประกอบตั้งแต่ 2 ส่วนขึ้นไป ซึ่งอาจจะมองเห็นเพียงส่วนเดียวหรือหลาย
ส่วนก็ได้ (ส่วนเดียว คือ มองเห็นเป็นเนื้อเดียว ได้แก่ สารละลาย หลายส่วน คือ มองเห็นเป็นเนื้อผสม ได้แก่ คอลลอยด์ และสารแขวนลอย)
- สารผสม ต่างก็เป็นสารไม่บริสุทธิ์ มีความแตกต่างกันในเรื่องขนาดของอนุภาค
- สารแขวนลอย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคมากกว่า 10-4 เซนติเมตร
- คอลลอยด์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคอยู่ระหว่าง 10-7–10-4เซนติเมตร
- สารละลาย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคเล็กกว่า 10-7 เซนติเมตร
วิธีการตรวจสอบสารผสมทั้ง 3 ชนิด ทาได้หลายวิธี ดังนี้
วิธีที่ 1
ตั้งสารตัวอย่างที่ต้องการตรวจสอบไว้ แล้วถ้าตกตะกอนก็แสดงว่า สารตัวอย่าง
นั้นเป็นสารแขวนลอย (อนุภาคขนาดใหญ่ มวลจึงมาก ทาให้ตกตะกอน)
วิธีที่ 2
ทดสอบโดยใช้วิธีการกรองผ่านกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน ซึ่ง
กระดาษกรองสามารถกรองสารที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร
ขึ้นไป และกระดาษเซลโลเฟนซึ่งสามารถกรองสารที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ใหญ่กว่า 10-7 เซนติเมตร
สรุปผลการทดสอบ
1. สารแขวนลอย ไม่สามารถผ่านทั้งกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟนได้
(อนุภาค > 10-4 เซนติเมตร)
2. คอลลอยด์ ผ่านกระดาษกรองได้ แต่ไม่สามารถผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้
(10-4 เซนติเมตร > อนุภาค > 10-7 เซนติเมตร)
3. สารละลาย ผ่านได้ทั้งกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน (อนุภาค < 10-7
เซนติเมตร)
ข้อควรทราบ
คอลลอยด์มีลักษณะพิเศษกว่าสารผสมประเภทอื่นๆ คือ สามารถเกิด "ปรากฏการณ์
ทินดอลล์ (Tyndall Effect)"
ปรากฏการณ์ทินดอลล์ ค้นพบโดย จอห์น ทินดอลล์ (John Tyndall) นักวิทยาศาสตร์
ชาวไอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2412
ปรากฏการณ์ทินดอลล์ คือ แสงกระทบอนุภาคของคอลลอยด์จะเกิดการกระเจิงแสง
ทาให้มองเห็นเป็นลาแสงในคอลลอยด์นั้น โดยแสงไม่สามารถทะลุผ่านคอลลอยด์ได้
จอห์น ทินดอลล์
ของแข็ง (SOLID ; S) หมายถึง สารที่มีขนาดและรูปร่างแน่นอน เนื่องจากอนุภาคจะ
เรียงตัวและอยู่ชิดกันมาก ยึดเหนี่ยวกันอย่างหนาแน่น ทาให้อนุภาคเคลื่อนไหวได้น้อย
มาก เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ยาก ปริมาตรคงที่ เช่น เหล็ก ไม้ เงินเหรียญ ทองคา ถ่าน
ไม้ เกลือ น้าตาล ก้อนหิน เมล็ดพืช ถ่านไฟฉาย ยางรถยนต์ เป็นต้น
ของแข็ง หมายถึง สารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมาก ทาให้อนุภาคอยู่ใกล้ชิดกันดังนั้นจึงมี
รูปร่างและปริมาตรของมันเอง โดยไม่เปลี่ยนไปตามรูปร่างของภาชนะที่บรรจุ เช่น เหล็ก เกลือแกง
และด่างทับทิม
สมบัติทั่วไปของ “ของแข็ง”
• 1. อนุภาคของของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารมากกว่าสารชนิดเดียวกันที่มีสถานะ
เป็นของเหลว และแก๊ส
• 2. ส่วนใหญ่มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงกว่าของเหลวและแก๊ส
• 3. มีรูปร่างที่แน่นอนไม่ขึ้นอยู่กับภาชนะที่ใส่
สารที่อยู่ในสถานะของแข็งจะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากกว่าของเหลวและก๊าซ จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทา
ให้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารในสถานะของแข็งส่วนใหญ่มีค่าสูงกว่าของเหลวและก๊าซ นอกจากนี้
ของแข็งยังมีสมบัติเฉพาะตัวที่สาคัญอีกหลายประการคือ มีรูปร่างแน่นอนไม่ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ มีปริมาตร
คงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ไม่สามารถไหลได้ตามภาวะปกติเนื่องจากอนุภาคของแข็งอยู่ชิดกันมาก การ
จัดเรียงอนุภาคอยู่ในตาแหน่งที่แน่นอน
การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง การจัดเรียงอนุภาคในของแข็งแบ่งตามลักษณะการจัดเรียงอนุภาคของสาร
ได้ 2 ชนิด คือ
1. ของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก (CRYSTALLINE SOLID) เป็นของแข็งที่มีพื้นผิวที่ทามุมกันด้วยค่าที่แน่นอน
ซึ่งแสดงถึงการจัดเรียงเป็นระเบียบของอนุภาคของของแข็ง ผลึกที่มีขนาดใหญ่เมื่อทาให้เล็กลงก็ยังคงรักษา
ลักษณะรูปผลึกเดิมอยู่
2. ของแข็งอสัณฐาน (AMORPHOUS SOLID) ของแข็งที่อนุภาคอยู่ปะปนกันอย่างไม่เป็นระเบียบ ไม่มีรูปร่าง
ที่แน่นอนเช่น แก้ว โพลิเมอร์ ยางธรรมชาติ ฯลฯ
การจัดเรียงอนุภาคของ ของแข็ง
ของแข็งที่เกิดจากการเรียงอนุภาคอย่างเป็นระเบียบ มีรูปร่างเฉพาะตัวเรียกว่าผลึก ผลึกของของแข็งแต่ละชนิดจะมีผิวหน้าที่
เรียบ ซึ่งทามุมกันด้วยค่าที่แน่นอน เป็นลักษณะเฉพาะตัว ผลึกที่มีขนาดใหญ่ ๆ เมื่อทาให้ผลึกเล็กลงเช่นโดยการบด ส่วนเล็ก ๆ
จะยังคงรักษารูปผลึกเป็นแบบเดิมอยู่ โดยทั่วไปของแข็งชนิดเดียวกันจะมีการจัดเรียงอนุภาคเป็นแบบเดียวกันไม่ว่าของแข็งนั้น
จะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือสังเคราะห์ขึ้นผลึกของของแข็งจะมีจุดหลอมเหลวคงที่และมีช่วงอุณหภูมิของการหลอมเหลวสั้น
การที่ของแข็งมีการจัดเรียงโมเลกุลต่างกัน ทาให้เกิดผลึกที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นผลให้สมบัติทางกายภาพ เช่น จุดเดือด จุด
หลอมเหลว และความหนาแน่นแตกต่างกัน
ของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก (CRYSTALLINE SOLID)
• สารบางอย่างอาจมีรูปผลึกได้หลายแบบซึ่งเราจะเรียกว่า ปรากฏการณ์อัญรูป (POLYMORPHISM) เช่น เพชร
แกรไฟต์ สารบางชนิดอาจจะมีรูปร่างผลึกที่เหมือนกันได้ ซึ่งจะเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ภาวะรูปร่าง
เหมือน (ISOMORPHISM) เช่น โซเดียมคลอไรด์ โพแทสเซียมคลอไรด์ เป็นต้น นอกจากนี้ ผลึกยังมีสมบัติที่
เรียกว่า ANISOTROPY อันได้แก่ความแข็งแรงทนทานทางกล ดรรชนีหักเห และการนาไฟฟ้า ถ้าวัดในทิศทางที่
ต่างกันค่าที่ได้จะไม่เท่ากัน
คุณสมบัติของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก
• อนุภาคเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบแบบแผนทางเรขาคณิตเป็นสามมิติ เรียกว่า CRYSTAL LATTICE
• ผิวหน้าเรียบ มุมระหว่างผิวหน้ามีค่าแน่นอน
• มีจุดหลอมเหลวแน่นอน
• มีสมบัติไม่เหมือนกันทุกทิศทาง
ชนิดผลึกของ “ของแข็ง”
ของแข็งที่อยู่ในรูปผลึกมีลักษณะที่สาคัญคือมีการจัดเรียงอนุภาคภายในอย่างมีระเบียบในสามมิติ แต่ละอนุภาค
ยึดเหนี่ยวด้วยแรงชนิดต่าง ๆ มีโครงสร้างทางเรขาคณิตที่แน่นอน ของแข็งบริสุทธิ์มีจุดหลอมเหลวที่ชัดเจนและ
คงที่ นั่นคือเมื่ออุณหภูมิถึงจุดหลอมเหลวสารประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวทันที
ถ้าใช้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคภายในผลึกเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่ง
ของแข็งในรูปผลึกได้ 4 ประเภท ดังนี้
1. ผลึกโมเลกุล (Molecular crystal) เป็นผลึกที่เกิดจากโมเลกุลโคเวเลนต์
2. ผลึกโคเวเลนต์ (Network covalent crystal) เป็นผลึกที่เกิดจาก
สารประกอบโคเวเลนต์แบบโครงผลึกร่างตาข่าย
3. ผลึกโลหะ (Metalic crystal) เป็นผลึกที่เกิดจากพันธะโลหะ
4. ผลึกไอออนิก (Ionic crystal) เป็นผลึกที่เกิดจากสารประกอบไอออนิก
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
ภายในผลึก
โครงสร้างผลึก (CRYSTAL STRUCTURE) ของวัสดุ เรามักจะนึกถึงอะตอมหรือไอออนในรูปของทรงกลมที่จัดเรียง
ตัวอย่างเป็นระเบียบในระบบโครงข่ายสามมิติ หรือที่เรียกว่า แลตทิซ (LATTICE) จุดตัดบนโครงข่ายสามมิตินี้
เรียกว่า จุดแลตทิซ (LATTICE POINT) ซึ่งแสดงถึงอะตอมของในโครงข่าย แต่ละส่วนย่อยที่จัดเรียงตัวซ้าๆกันใน
แลตทิซเรียกว่า ยูนิตเซลล์ (UNIT CELL) ซึ่งงกาหนดด้วยความยาวแต่ละด้าน A,B,C
ยูนิตเซลล์มีทั้งหมด 7 แบบ แต่ละแบบมีความยาวของแต่ละด้านและมุมที่ด้านประกอบกันแตกต่างกัน
ออกไป เราเรียกยูนิตเซลล์ทั้ง 7 แบบนี้ว่า ระบบผลึก (CRYSTAL SYSTEM) ยกตัวอย่างเช่น ระบบผลึก
คิวบิก (CUBIC) เป็นระบบผลึกที่แต่ละด้านมีความยาวเท่ากันและทามุมกัน 90 องศา หรือ ระบบผลึก
ออร์โธรอมบิก (ORTHORHOMBIC) ที่แต่ละด้านทามุมกัน 90 องศา แต่ว่ามีความยาวไม่เท่ากัน
ของแข็งอสัญฐาน (AMORPHOUS SOLID)
ของแข็งบางประเภท เช่น แก้ว ยาง พลาสติก เป็นของแข็งที่ไม่มีรูปผลึก ของแข็งที่ไม่มีรูปผลึกเรียกว่า ของแข็งอสัญ
ฐาน ของแข็งประเภทนี้มีการจัดเรียงอนุภาคภายในไม่เป็นระเบียบ เมื่อแตกหักจะได้ชิ้นส่วนที่ไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิต
หรือเมื่อได้รับความร้อนปริมาณมากพอจะค่อย ๆ อ่อนตัวกลายเป็นของเหลวและไหลได้ ของแข็งประเภทนี้ส่วนใหญ่ไม่
สามารถหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนได้
ของแข็งอสัณฐาน (AMORPHOUS SOLID)
•
ISOTROPY
ของแข็งอสัณฐาน (AMORPHOUS SOLID)
• อนุภาคเรียงตัวโดยไม่มีระเบียบแบบแผน
• ผิวหน้าไม่เรียบ และมุมต่างๆ กัน
• ช่วงการหลอมเหลวกว้าง
• มีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง
การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง”
• การหลอมเหลว (MELTING) เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็งจะมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น ทาให้อนุภาค
มีการสั่นมากขึ้น และมีการถ่ายโอนพลังงานให้แก่อนุภาคข้างเคียงอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งบางอนุภาคของของแข็งมี
พลังงานสูงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค อนุภาคของของแข็งจึงเริ่มเคลื่อนที่และอยู่ห่างกันมากขึ้น ของแข็งจึง
เกิดการเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว (melting) และเรียกอุณหภูมิในขณะที่ของแข็งเปลี่ยน
สถานะเป็นของเหลวที่ความดัน 1 บรรยากาศว่า จุดหลอมเหลว (melting point)
การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง”
• การหลอมเหลว (MELTING)
จุดหลอมเหลวปกติ หมายถึง จุดหลอมเหลวของของแข็งที่
ความดัน 1 บรรยากาศ ในระหว่างการหลอมเหลว ของแข็ง
อยู่ในสมดุลกับของเหลว จุดหลอมเหลวของของแข็ง เป็น
อุณหภูมิที่ของแข็งและของเหลวอยู่ร่วมกันในสมดุล ที่
อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
การระเหิด (SUBLIMATION) การระเหิดของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสารชนิดที่ไม่มีขั้วหรือมีขั้วน้อยมาก และมี
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces) อย่างอ่อน เช่น แรงลอนดอน (London
forces) เมื่ออนุภาคของสารได้รับความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อย จะทาให้อนุภาคของสารนั้นแยกออกจากผลึก
โดยเฉพาะอนุภาคที่อยู่บริเวณผิวหน้าของผลึกจะหลุดออกและเคลื่อนที่เป็นอิสระได้ง่าย เช่น การระเหิดของไอโอดีน
การระเหิดของแนฟทาลีน การบูร เมนทอล เป็นต้น
การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง”
การระเหิด (SUBLIMATION) เนื่องจากอนุภาคของของแข็งอยู่ใกล้กันมาก ทาให้มีโอกาสกระทบกันได้ จึงมีการถ่ายเท
พลังงานให้แก่กันที่อุณหภูมิหนึ่งบางอนุภาคที่ผิวหน้าของของแข็งมีพลังงานสูงพอที่จะหลุดเป็นปรากฏการณ์ที่ของแข็ง
เปลี่ยนสถานะเป็นไอ โดยไม่ผ่านสถานะของเหลวก่อน เรียกว่า ” การระเหิด ” จึงทาให้แนฟทาลีนมีขนาดเล็กลงและ
หมดไปในที่สุดได้สารที่ระเหิดได้ นอกจากแนฟทาลีนแล้วยังมี การบูร พิมเสน ไอโอดีน เป็นต้น
การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง”
2. การเปลี่ยนแปลงสถานะของเหลว
• ของเหลว (LIQUID ; L) หมายถึง สารที่มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน เนื่องจากอนุภาคจะอยู่ห่างกันและไม่เป็น
ระเบียบ ยึดเหนี่ยวกันอย่างหลวม ๆ เปลี่ยนแปลงรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ สามารถไหลได้ ปริมาตร
คงที่ เช่น น้า นมสด น้าปลา น้ามันพืช น้าอัดลม เครื่องดื่มชูกาลัง เป็นต้น
ของเหลว หมายถึง สารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง ทาให้อนุภาคไม่ได้อยู่ชิดกันอย่างของแข็ง จึงมีปริมาตรที่แน่นอน
แต่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของภาชนะที่บรรจุเช่น น้า เบนซีน และปรอท เป็นต้น
ของเหลว (LIQUID)
•
1. มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง
3. รูปร่างของของเหลวจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ และมีปริมาตรคงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่
พันธะไฮโดรเจน (H-BOND)
ของเหลวสามารถแพร่ได้
ของเหลวสามารถแพร่ได้
สมบัติทั่วไปของของเหลว
•
สมบัติทั่วไปของของเหลว
• แรงดึงผิว (Tension forces) หมายถึงแรงที่ดึงผิวของของเหลวเข้ามาภายในเพื่อ
ทาให้พื้นที่ของของเหลวเหลือน้อยที่สุด
• ความตึงผิว หมายถึงงานที่ต้องใช้ในการขยายพื้นที่ผิวของของเหลว 1 หน่วย
สมบัติทั่วไปของของเหลว
•
COHESIVE FORCE ADHESIVE
แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด
• เมื่อของเหลวสัมผัสกับวัสดุหรือบรรจุอยู่ในภาชนะ จะมีโมเลกุลของสารสองชนิดที่แตกต่างกันคือ โมเลกุลของ
ของเหลวและโมเลกุลของสารที่เป็นวัสดุหรือทาภาชนะ รวมทั้งมีแรงยึดเหนี่ยวที่เกี่ยวข้องอีก 2 ประเภทดังนี้
แรงเชื่อมแน่น (Cohesive forces) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหรือโมเลกุล
ของสารชนิดเดียวกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับน้า
แรงยึดติด (Adhesive forces) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
หรือโมเลกุลต่างชนิดกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับ
แก้วที่ใช้ทาภาชนะ
น้ำในหลอดทดลองหรือในกระบอกตวง จะสังเกตเห็นว่ำผิวแก้วเปียกน้ำ และ
บริเวณผิวน้ำที่ติดกับข้ำงแก้วมีระดับสูงกว่ำบริเวณตรงกลำง หรือถ้ำจุ่มหลอด
คะปิลลำรี (Capillary tube) ปลำยเปิดทั้งสองข้ำงลงในน้ำที่บรรจุอยู่ในบีบึกเกอร์
จะพบว่ำระดับน้ำในหลอดคะปิลลำรีสูงกว่ำในบีกเกอร์ และบริเวณตรงกลำงของ
น้ำมีลักษณะเว้ำ อธิบำยได้ว่ำเนื่องจำกองค์ประกอบของแก้วส่วนใหญ่เป็น
SiO2 โมเลกุลของน้ำจึงมีแรงยึดเหนี่ยวกับออกซิเจนที่ผนังด้ำนในของหลอดแก้ว
ได้แรงยึดติดระหว่ำงโมเลกุลของแก้วกับน้ำแข็งแรงมำกกว่ำแรงเชื่อมแน่น
ระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับน้ำโมเลกุลของน้ำจึงยึดติดกับผนังของหลอดแก้วเป็น
ลักษณะแผ่นฟิล์มบำง ๆ ควำมตึงผิวของน้ำซึ่งมีค่ำสูงจะทำให้ผิวน้ำหดตัวได้และ
ดึงโมเลกุลอื่น ๆ ของน้ำตำมขึ้นไปด้วย เป็นผลให้ระดับน้ำในหลอดคะปิลลำรีสูง
กว่ำระดับน้ำในบีกเกอร์
แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด
ของเหลวบำงชนิดมีลักษณะตรงข้ำมกับน้ำ เช่น ปรอท เนื่องจำกปรอทมีแรงเชื่อมแน่น
ระหว่ำงโมเลกุลของปรอทกับปรอทมำกกว่ำแรงยึดติดระหว่ำงโมเลกุลของปรอทกับ
แก้ว ดังนั้นโมเลกุลของปรอทที่อยู่บริเวณผิวและที่ติดอยู่กับผนังหลอดคะปิลลำรี
(Capillary tube) จะถูกดึงเข้ำสู่ภำยในหรือให้ห่ำงจำกผนัง จึงทำให้ปรอทไม่เปียกแก้ว
และระดับปรอทในหลอดคะปิลลำรีต่ำกว่ำระดับปรอทในบีกเกอร์และผิวหน้ำมี
ลักษณะโค้งนูน
แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด
•เมื่อหยดน้ำลงบนแผ่นไม้หรือกระดำษแล้วสังเกตได้ว่ำแผ่นไม้หรือกระดำษนั้นเปียก อธิบำยได้
ว่ำแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำมีค่ำน้อยกว่ำแรงยึดเหี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับไม้
หรือกระดำษ ทำให้น้ำไม่สำมำรถรวมตัวอยู่ลักษณะเป็นหยดได้ จึงแผ่กระจำยออกไป
•ถ้ำหยดน้ำลงบนผิวที่เรียบมัน เช่น พลำสติกหรือวัสดุที่เคลือบเงำบำงชนิด หยดน้ำจะมีลักษณะ
เป็นรูปทรงกลมเกำะที่ผิววัสดุนั้น เพรำะว่ำแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำมีค่ำมำกกว่ำแรง
ยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับวัสดุ
ข้อสรุปเกี่ยวกับแรงดึงผิว
• 1. แรงดึงผิวของของเหลวจะทำให้ของเหลวปริมำณน้อย ๆ
มีรูปร่ำงค่อนข้ำงเป็นทรงกลม เพรำะว่ำในปริมำตรที่
กำหนดให้รูปทรงกลมมีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด และทำผิวของ
ของเหลวถูกดึงจนตึง เปรียบเสมือนแผ่นยำงยืดบำง ๆ ปก
คลุมของเหลวไว้ดังนั้นจึงเห็นแมลงบำงชนิดสำมำรถเดิน
บนผิวน้ำได้ หรือหยดน้ำบนใบไม้ที่มีผิวหน้ำเป็นมันหรือ
วัสดุผิวเรียบเป็นมันจะรักษำรูปทรงในลักษณะค่อนข้ำง
กลม เพรำะว่ำน้ำมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลที่แข็งแรง
และมีแรงดึงผิวมำก
ข้อสรุปเกี่ยวกับแรงดึงผิว
2. แรงโน้มถ่วงของโลกจะมีผลทาให้หยดน้าแบนลงหรือกระจายออก สาหรับ
ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคภายในที่แข็งแรง ของเหลวนั้นจะมี
แรงดึงผิวมาก และรักษารูปทรงที่มีลักษณะค่อนข้างกลมได้มากกว่าของเหลวที่มี
แรงดึงผิวน้อย ของเหลวต่างชนิดกันจะมีแรงดึงผิวต่างกันเมื่ออยู่บนวัสดุชนิด
เดียวกัน จึงรักษารูปทรงได้แตกต่างกัน
3. ถ้ามีการเพิ่มพื้นที่ผิวของของเหลว โมเลกุลที่อยู่ด้านในของของเหลว
จะต้องเคลื่อนที่ออกมายังพื้นผิวของของเหลว โมเลกุลเหล่านี้ต้องใช้
พลังงานเพื่อเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่อยู่รอบข้าง งานที่ต้อง
ใช้ในการขยายพื้นที่ผิวของของเหลว 1 หน่วย เรียกว่า ความตึงผิว
• ความตึงผิวของของเหลวจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลในของเหลว ถ้า
ของเหลวใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูง ความตึงผิวจะมีค่าสูงด้วย ความตึงผิวของของเหลว
บางชนิดดังข้อมูลในตาราง
ตารางแสดงความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อุณหภูมิ 25oC
ปัจจัยที่มีผลต่อแรงดึงผิว
1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลกับความตึงผิว ของเหลวที่มี
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแข็งแรง จะมีแรงดึงผิวมาก และ
ทาให้มีความตึงผิวมากด้วย ปรอทมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคเป็นพันธะโลหะซึ่งมีความแข็งแรงมาก ความตึงผิว
ของปรอทจึงมีค่าสูง
ไดเอทิลอีเทอร์ - มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นแรง
ลอนดอน ซึ่งมีความแข็งแรงน้อย ความตึงผิวจึงมีค่าน้อย
น้า - เป็นของเหลวที่มีความตึงผิวมาก เนื่องจากมีแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจน น้าจึง
สามารถอยู่ในลักษณะเป็นหยดอยู่บนผิวหน้าของวัตถุบาง
ชนิดได้ค่อนข้างมากกว่าของเหลวชนิดอื่น
ปัจจัยที่มีผลต่อแรงดึงผิว
2. อุณหภูมิกับควำมตึงผิว อุณหภูมิมีผลต่อควำมตึงผิวของของเหลว เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป ควำมตึงผิวของ
ของเหลวจะเปลี่ยนไปด้วย เช่น น้ำ ควำมตึงผิวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้น
กำรเติมสำรบำงชนิดลงในน้ำ เช่น เติมน้ำสบู่ หรือเติมเกลือลงในน้ำจะทำให้ควำมตึงผิวเปลี่ยนแปลงด้วย
ตารางแสดงความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อุณหภูมิ 20oC ตารางแสดงความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อุณหภูมิ 25oC
ปัจจัยที่มีผลต่อแรงดึงผิว
• หมายถึงการที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นไอ สารในสถานะของเหลวมีการ
จัดเรียงอนุภาคไม่เป็นระเบียบ และมีช่องว่างอยู่ทั่วไป โมเลกุลของของเหลวจึง
เคลื่อนที่ได้เล็กน้อย ทาให้เกิดการชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะ แล้วมีการถ่าย
โอนพลังงานให้แก่กัน ทาให้บางโมเลกุลของของเหลวมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น และ
บางโมเลกุลมีพลังงานจลน์ลดลง ถ้าโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้นอยู่บริเวณ
ผิวหน้าของของเหลว หรือสามารถเคลื่อนที่มาอยู่ผิวหน้าของของเหลวได้ และมี
พลังงานสูงมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล โมเลกุลเหล่านั้นจะหลุดออกจาก
ผิวหน้าของของเหลวกลายเป็นไอไปเรื่อย ๆ การที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นไอ
เรียกว่าการระเหย ขณะที่ของเหลวเกิดการระเหยจะดึงพลังงานส่วนหนึ่งไปใช้ใน
การเปลี่ยนสถานะ ทาให้อุณหภูมิของของเหลวลดลง ของเหลวจึงดูดพลังงานจาก
สิ่งแวดล้อมเข้ามาแทนที่พลังงานส่วนที่เสียไป
การระเหย (EVAPORATION)
สมบัติทั่วไปของของเหลว
ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย
• 1. อุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิสูงการระเหยจะเกิดได้เร็วขึ้น เช่น ตากผ้าไว้ในที่มีแดดจัดผ้าจะแห้งได้เร็วกว่า
ผ้าที่ตากไว้ในร่ม เนื่องจากความร้อนหรืออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมีผลให้พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของ
น้าเพิ่มขึ้น ทาให้โมเลกุลของน้าที่มีพลังงานจลน์สูงพอที่จะเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมี
มากขึ้น การระเหยของน้าจึงเกิดได้เร็วขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย
• 2. พื้นที่ผิว การเพิ่มพื้นที่ผิวหน้าของของเหลวทาให้เกิดการระเหยได้เร็วขึ้น เพราะว่าเป็นการเพิ่ม
จานวนโมเลกุลของของเหลวที่มีโอกาสหลุดออกจากผิวหน้าของของเหลวได้มากขึ้น เช่น ถ้าใส่
ของเหลวลงในภาชนะปากกว้างจะระเหยได้เร็วกว่าในภาชนะปากแคบ
ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย
• 3. การถ่ายเทอากาศ การที่อยู่ในที่ที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี
หรือมีลมพัดผ่านจะช่วยให้เกิดการระเหยได้ดี เช่น เหงื่อบน
ร่างกาย เพราะการเคลื่อนที่ของอากาศทาให้โมเลกุลของไอ
บริเวณเหนือของเหลวเกิดการเคลื่อนที่ และลดจานวน
โมเลกุลของไอบริเวณผิวหน้าของของเหลว เป็นผลให้
โมเลกุลของของเหลวบริเวณผิวหน้ากลายเป็นไอได้มากขึ้น
หรือระเหยได้เร็วขึ้น ขณะที่เหงื่อระเหยจะดึงความร้อนจาก
ผิวหนังจึงทาให้รู้สึกเย็น
ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
เมื่อบรรจุของเหลวในภาชนะเปิดและตั้งทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง ของเหลวจะระเหยกลาย เป็นไอไปได้เรื่อย ๆ แต่ถ้าบรรจุ
ของเหลวในภาชนะปิด ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของของเหลวที่ระเหยกลายเป็นไอจะยังคงอยู่ในที่ว่างเหนือของเหลว
โมเลกุลที่อยู่ในรูปของไอจะเกิดการชนกันเองหรือชนผนังภาชนะ การที่โมเลกุลของไอจานวนมากชนกับผนังภาชนะ
ตลอดเวลาทาให้เกิดแรงกระทาต่อภาชนะ หรือมีความดันเกิดขึ้นในภาชนะ ในขณะที่ของเหลวกลายเป็นไอ ปริมาตรของ
ของเหลวจะลดลง แต่ปริมาตรของไอจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทาให้ดันของไอเหนือของเหลวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะเดียวกันไอ
บางส่วนก็จะเปลี่ยนสถานะกลับเป็นของเหลวได้อีก ในตอนเริ่มต้นอัตราการเปลี่ยนจากไอเป็นของเหลวจะช้า แต่จะมี
อัตราเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อจานวนโมเลกุลของไอเพิ่มขึ้นมากขึ้น การเปลี่ยนสถานะกลับไปมาระหว่างของเหลวกับไอ
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งอัตราการเปลี่ยนจากของเหลวเป็นไอเท่ากับอัตราการเปลี่ยนจากไอเป็นของเหลว ซึ่งเป็น
ผลทาให้จานวนโมเลกุลที่กลายเป็นไอเท่ากับจานวนโมเลกุลที่ควบแน่นเป็นของเหลว ซึ่งขณะนี้ปริมาตรและความดันไอ
ของของเหลวจะคงที่ ความดันของไอเหนือของเหลวขณะที่มีอัตราการระเหยเท่ากับอัตราการควบแน่นนี้เรียกว่า ความ
ดันไอของของเหลว (Vapour pressure)
ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว
1. อุณหภูมิ
• ความดันไอของของเหลว ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ เมื่อของเหลวมี
อุณหภูมิสูงขึ้น ความดันไอของของเหลวจะสูงขึ้นด้วยและ
การทาให้ของเหลวมีความดันไอเท่ากันจะใช้อุณหภูมิไม่
เท่ากัน
• จุดเดือดของของเหลวคืออุณหภูมิที่ของเหลวมีความดันไอ
เท่ากับความดันบรรยากาศดังนั้น จุดเดือดของอีเทอร์ แอซี
โตน แอลกอฮอล์ และน้าคือ 34.6 OC , 56.5 OC ,
78.4 OC และ 100 OC โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กาหนดให้จุด
เดือดของของเหลววัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ และเรียกว่า
“จุดเดือดปกติ” และจุดเดือดของของเหลวที่ความดันค่าอื่นๆ
จะมีค่าแตกต่างกัน
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว
• ความดันไอของของเหลวมีความสัมพันธ์กับจุดเดือด
นอกจากนี้ ณ อุณหภูมิต่างกัน ความดันไอของของเหลว
ชนิดหนึ่งจะมีค่าแตกต่างกัน นั่นคือที่อุณหภูมิสูงความ
ดันไอของของเหลวจะมีค่าสูงกว่าที่อุณหภูมิต่า
เนื่องจากโมเลกุลมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น โมเลกุลจึงมี
โอกาสเป็นไอได้มากขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว
2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว
• เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลในของเหลวมีหลายชนิด และมีความแข็งแรงแตกต่างกัน เช่น แรง
ลอนดอน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว พันธะไฮโดรเจน ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแข็งแรงน้อยจะ
กลายเป็นไอได้ง่าย มีความดันไอสูง และมีจุดเดือดต่า เช่น อีเทอร์ แอซีโตน ส่วนของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคแข็งแรงมากจะกลายเป็นไอได้ยาก มีความดันไอต่า และจุดเดือดสูง เช่น น้า
ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว
• การที่อยู่ในที่ที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดีหรือมีลมพัดผ่านจะช่วยให้เกิดการระเหยได้ดี
จุดเดือด
• การเดือด ( BOILING ) เป็นขบวนการที่โมเลกุลของของเหลวได้รับพลังงานสูงมากจน
กลายเป็นไอได้อย่างรวดเร็ว และโมเลกุลของของเหลวทั่วทุกบริเวณในภาชนะนั้น
สามารถที่จะหลุดหนีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลได้อย่างรวดเร็ว การเดือดของของเหลว
จะเกิดขึ้นที่อุณหภูมิหนึ่ง ซึ่งจะคงที่สาหรับของเหลวแต่ละชนิด เรียกว่า จุดเดือด (
BOILING POINT ) ความดันไอของของเหลวขณะเดือดจะมีค่าเท่ากับความดันภายนอก
หรือมากกว่าซึ่งก็คือความดันบรรยากาศขณะนั้น ความดันของบรรยากาศจะมีผลต่อ
จุดเดือดของของเหลว คือ ถ้าเปลี่ยนความดันจะทาให้จุดเดือดของของเหลวเปลี่ยนไป
ด้วย ดังนั้นการบอกจุดเดือดของของเหลวชนิดหนึ่ง ๆ จะต้องบอกความดันของ
บรรยากาศด้วย เช่น จุดเดือดของน้าเท่ากับ 100 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 1
บรรยากาศ แต่โดยทั่วไปเมื่อกล่าวถึงจุดเดือดโดยไม่ระบุความดันเราหมายถึงจุดเดือด
ที่ความดัน 1 บรรยากาศ และเรียกว่า จุดเดือดปกติ
จุดเดือด
จุดเดือดของน้ากับระดับความสูงจากน้าทะเล
ยิ่งสูงจุดเดือดของน้ายิ่งลดลง
1. ที่ความดันบรรยากาศ 760 มม.ปรอท น้าจะเดือดที่ 100 องศา C
2. ทุก 11 เมตรที่สูงขึ้นความดันบรรยากาศลดลง 1 มม.ปรอท
3. ทุก 27 มม.ปรอท จุดเดือดของน้าจะลดลง 1 องศา C
หรือทุกๆความสูง 297 เมตร จุดเดือดของน้าจะลดลง 1 องศา C
ประเภทของคอลลอยด์
• 1. เจล (GEL) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ซึ่งกระจายอยู่ใน
สารที่เป็นตัวกลางที่มีสถานะเป็นของเหลว และมักจะมีลักษณะที่มีความเหนียวหนืด เช่น กาวลาเท็กซ์ แป้งเปียก
แยมผลไม้ต่างๆ เยลลี่ เป็นต้น
ประเภทของคอลลอยด์
• 2. โฟม (FOAM) เป็นคอลลอยด์ที่อาจเกิดจากแก๊สที่กระจายอยู่ในของแข็งและของเหลวได้
- แก๊สที่กระจายอยู่ในของแข็ง เช่น ขนมสาลี่ ฟองน้าที่ใช้สาหรับถูตัว เป็นต้น
- แก๊สที่กระจายอยู่ในของเหลว เช่น ฟองเบียร์ ฟองจากผงซักฟอก ฟองจากโฟมล้างหน้า เป็นต้น
ประเภทของคอลลอยด์
• 3. แอโรซอล (AEROSOL) เป็นคอลลอยด์ที่อาจจะเกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของแข็งหรือ
ของเหลวที่กระจายอยู่ในแก๊สได้
- ของแข็งที่กระจายอยู่ในแก๊ส เช่น ฝุ่ นละอองที่กระจายอยู่ในอากาศ กลุ่มควัน เป็นต้น
- ของเหลวที่กระจายอยู่ในแก๊ส เช่น สเปรย์ปรับอากาศ ยาฆ่าแมลงชนิดสเปรย์ เป็นต้น
ประเภทของคอลลอยด์
• 4. อิมัลชัน (EMULSION) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของเหลว และไม่รวมกันเป็นเนื้อเดียว ถูกทาให้
รวมกันโดยการเติมสารที่เป็นอิมัลซิฟายเออร์ ซึ่งเป็นตัวประสานให้ของเหลวทั้งสองรวมตัวกัน เกิดเป็นสารที่
เรียกว่า อิมัลชัน เช่น
- น้ามันผสมกับน้า มีน้าสบู่เป็นอิมัลซิฟายเออร์
- น้าสลัด (น้ามันพืช น้าส้มสายชู) มีไข่แดงเป็นอิมัลซิฟายเออร์
ข้อควรทราบ
- ของเหลวที่ไม่รวมตัวกัน มำรวมตัวกันได้เรียกว่ำ อิมัลชัน (emulsion)
- สำรที่ทำให้เกิดกำรประสำนรวมกัน เรียกว่ำ อิมัลซิฟำยเออร์ (emulzifier)
ประเภทของคอลลอยด์
• 5. ซอล (SOL) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง มีโมเลกุลขนาดเล็กกระจายอยู่ใน
สารที่เป็นตัวกลางที่มีสถานะเป็นของเหลว เช่น น้าแป้ง น้าอบไทย เป็นต้น
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2kai kk
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Sumarin Sanguanwong
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียวDnavaroj Dnaka
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบWichai Likitponrak
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารSumalee Panpeng
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สoraneehussem
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)Saisard
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 

Tendances (19)

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
สาร
สารสาร
สาร
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 

En vedette

เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยนWichai Likitponrak
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 

En vedette (20)

เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมีเคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
เคมีพื้นบท2ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป61ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
1ติวสอบวิชาวิทยาศาสตร์ป6
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
9ติวข้อสอบสสวทปฏิกิริยาเคมี
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์บท5พฤติกรรมสัตว์
บท5พฤติกรรมสัตว์
 
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุลเคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
เคมีพื้นบท3สารชีวโมเลกุล
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
4.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแก๊สกับพลังงานเปลี่ยน
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน  พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 

Similaire à 3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว

สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือนkkrunuch
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมีnn ning
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6ANattha Namm
 

Similaire à 3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว (9)

สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
 
San
SanSan
San
 
00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)00000618 0 20130711-103701 (1)
00000618 0 20130711-103701 (1)
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
ธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6Aธาตุหมู่ 6A
ธาตุหมู่ 6A
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 

Plus de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว

  • 2. การเปลี่ยนแปลงของสาร [ตอนที่ 1] • 1. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแข็ง • 2. การเปลี่ยนแปลงสถานะของเหลว • 3. การเปลี่ยนแปลงสถานะของแก๊ส • 4. พลังงานกับการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
  • 4. สาร และ สมบัติของสาร สสาร ( Matter ) หมายถึงสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และ สามารถ สัมผัสได้โดยประสาทสัมผัสทั้ง 5 เช่น ดิน น้า อากาศ ฯลฯ ภายใน สสารเป็นเนื้อของสสาร เรียกว่า สาร ( Substance ) สาร ( Substance ) คือ สสารที่ทราบสมบัติ หรือ สสารที่จะศึกษา ดังนั้นจึงเป็นสสารที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งจะมีสมบัติของสาร 2 ประเภท คือ - สมบัติกายภาพ ( Physical Property ) หมายถึง สมบัติที่สังเกตได้ จากลักษณะภายนอก และ เกี่ยวกับวิธีการทางฟิสิกส์ เช่น ความหนาแน่น , จุดเดือด , จุดหลอมเหลว - สมบัติทางเคมี ( Chemistry Property ) หมายถึง สมบัติที่เกิดขึ้น จากการทาปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ , การเป็นสนิม , ความเป็น กรด - เบส ของสาร
  • 5. การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ 1. การใช้สถานะเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - สถานะที่เป็นของแข็ง ( Solid ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่ง อนุภาคภายในจะอยู่ชิดติดกัน เช่น ด่างทับทิม ( KMnO4 ) , ทองแดง ( Cu ) - สถานะที่เป็นของเหลว ( Liquid ) จะมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และ มีปริมาตรที่คงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดกันน้อยกว่า ของแข็ง และ มีสมบัติเป็นของไหล เช่น น้ามัน , แอลกอฮอล์ , ปรอท ( Hg ) ฯลฯ - สถานะที่เป็นก๊าซ ( Gas ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรที่ไม่คงที่ โดย รูปร่าง จะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคภายในจะอยู่ ห่างกันมากที่สุด และ มีสมบัติเป็นของไหลได้ เช่น ก๊าซหุงต้ม , อากาศ
  • 7.
  • 8. การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ 2. การใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ จะมีสมบัติทางกายภาพของสารที่ได้ จากการสังเกตลักษณะความแตกต่างของเนื้อสาร ซึ่งจะจาแนก ได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ - สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี เนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน ทาให้สารมีสมบัติเหมือนกัน ตลอดทุกส่วน เช่น แอลกอฮอล์ , ทองคา ( Au ) , โลหะบัดกรี - สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มี เนื้อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน จะทาให้สารนั้นมีสมบัติ ไม่ เหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น น้าอบไทย , น้าคลอง ฯลฯ
  • 9. การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ 3. การละลายน้าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - สารที่ละลายน้าได้ เช่น เกลือแกง ( NaCl ) , ด่างทับทิม ( KMnO4 ) ฯลฯ - สารที่ละลายน้าได้บ้าง เช่น ก๊าซคลอรีน ( Cl2 ) , ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ฯลฯ - สารที่ไม่สามารถละลายน้าได้ เช่น กามะถัน ( S8 ) , เหล็ก ( Fe ) ฯลฯ
  • 10.
  • 11.
  • 13. การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ 4. การนาไฟฟ้าเป็นเกณฑ์ จะจาแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ - สารที่นาไฟฟ้าได้ เช่น ทองแดง ( Cu ) , น้าเกลือ ฯลฯ - สารที่ไม่นาไฟฟ้า เช่น หินปูน ( CaCO3 ) , ก๊าซออกซิเจน ( O2 )
  • 15. การจัดจาแนกสาร จะสามารถจาแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ 5. ใช้ความเป็นโลหะเป็นเกณฑ์ ใช้ความเป็นโลหะเป็น เกณฑ์ แบ่งสารออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ •โลหะ (metal) เช่น ทองคา(Au) ทองแดง(Cu) เงิน(Ag) เหล็ก(Fe) ปรอท(Hg) สังกะสี(Zn) ดีบุก(Sn) ตะกั่ว (Pb) โซเดียม(Na) แมกนีเซียม (Mg) เป็นต้น •อโลหะ (non - metal) เช่น คาร์บอน(C) ฟอสฟอรัส (P) กามะถัน(S) ออกซิเจน(O) ไฮโดรเจน(H) ฮีเลียม (He) คลอรีน(Cl) เป็นต้น •กึ่งโลหะ (metalloid) เช่น ซิลิคอน(Si) ซีลิเนียม (Se) เจอร์เมเนียม(Ge) อาร์เซนิก(As) เป็นต้น
  • 16.
  • 17.
  • 19. สารเนื้อเดียว สารเนื้อเดียว คือ สารที่มองเห็นเป็นเนื้อเดียว และถ้าตรวจสอบสมบัติของสารจะเหมือนกันทุกส่วน อาจมี องค์ประกอบเดียว หรือหลายองค์ประกอบ แบ่งเป็นสารบริสุทธิ์และสารละลาย 1. สารบริสุทธิ์ เป็นสารที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ได้แก่ ธาตุและสารประกอบ ซึ่งก็คือ สารที่เกิดจาก องค์ประกอบมากกว่าหนึ่งชนิด แต่มีอัตราส่วนโดยมวลของสารที่เป็นองค์ประกอบ - ธาตุ( Element ) คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวกัน เช่น คาร์บอน ( C ) , กามะถัน ( S8 ) ซึ่งธาตุแบ่งเป็น โลหะ (เช่น เหล็ก ทองคา เงิน) อโลหะ (เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจน) กึ่งโลหะ (เช่น อะลูมิเนียม) - สารประกอบ ( Compound Substance ) เกิดจากธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน โดยมีอัตราส่วนในการ ร่วมกันคงที่แน่นอน ได้แก่ กรดน้าส้ม ( CH3COOH ) , กรดไฮโดรคลอริก ( HCl ) ฯลฯ
  • 20.
  • 21. สารเนื้อเดียว 2. สารละลาย เป็นของผสมเนื้อเดียว มีอัตราส่วนโดยมวลของสารที่เป็นองค์ประกอบไม่คงที่ องค์ประกอบของสารละลาย มี 2 ส่วน คือ 2.1 ตัวทาละลาย คือ สารที่มีปริมาณมากที่สุดในสารละลาย (กรณีสถานะองค์ประกอบเหมือนกัน) หรือเป็นสารที่มี สถานะเดียวกับสารละลาย (กรณีสถานะองค์ประกอบต่างกัน) 2.2 ตัวละลาย คือ สารที่มีปริมาณอยู่น้อยในสารละลาย หรือมีสถานะต่างจากสาร ละลาย เช่น- น้าเกลือ เป็นสารละลาย ประกอบด้วยน้าและเกลือ พิจารณา น้าเกลือ มีสถานะเป็นของเหลว และน้าก็มีสถานะ เป็นของเหลว ดังนั้น น้าจึงเป็นตัวทาละลาย ส่วนเกลือ เป็นของแข็ง จึงเป็นตัวละลาย-อากาศ เป็นสารละลาย ประกอบด้วย 1) แก๊สไนโตรเจน ประมาณ 78%2) แก๊สออกซิเจน ประมาณ 21%3) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สเฉื่อย 1%พิจารณา อากาศมีองค์ประกอบสถานะเดียวกัน คือ แก๊ส จึงต้องดูปริมาณสารที่เป็นองค์ประกอบ ดังนั้น แก๊สไนโตรเจน เป็นตัวทา ละลาย (มีปริมาณมากกว่า) ส่วนแก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สเฉื่อยเป็นตัวละลายข้อควรทราบตัวทา ละลาย จะมีเพียงองค์ประกอบเดียว แต่ตัวละลายสามารถมีหลายองค์ประกอบสารละลาย คือ ตัวทาละลาย + ตัวละลาย
  • 22.
  • 24. สารเนื้อผสม สารเนื้อผสม คือ สารที่มีองค์ประกอบมากกว่าหนึ่งส่วน สารที่มองไม่เป็นเนื้อเดียวหรือองค์ประกอบเดียว แต่จะสามารถ เห็นเป็น 2 องค์ประกอบขึ้นไป - สารเนื้อผสม แบ่งเป็น คอลลอยด์ และสารแขวนลอย - สารแขวนลอย คือ สารผสมที่ประกอบด้วยสารที่อนุภาคมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่า 10-4 เซนติเมตร กระจายอยู่ในสาร ที่เป็นตัวกลางอีกชนิดหนึ่ง เมื่อทิ้งไว้จะตกตะกอน สามารถที่จะแยกอนุภาคในสารแขวนลอยได้โดยการใช้กระดาษกรอง - คอลลอยด์ คือ สารผสมที่ประกอบด้วยสารที่อนุภาคมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 10-7 - 10-4 เซนติเมตร กระจายอยู่ใน สารที่เป็นตัวกลางอีกชนิดหนึ่ง สามารถที่จะแยกอนุภาคในคอลลอยด์ออกจากตัวกลางได้โดยการใช้กระดาษเซลโลเฟน เท่านั้น ไม่สามารถใช้กระดาษกรองในการแยกอนุภาคได้เนื่องจากอนุภาคของคอลลอยด์มีขนาดเล็กกว่ารูของกระดาษ กรอง
  • 25. สรุปข้อแตกต่างระหว่างสารผสมกับสารเนื้อผสม ข้อแตกต่างระหว่างสารผสมกับสารเนื้อผสม คือ สารผสมมีองค์ประกอบตั้งแต่ 2 ส่วนขึ้นไป ซึ่งอาจจะมองเห็นเพียงส่วนเดียวหรือหลาย ส่วนก็ได้ (ส่วนเดียว คือ มองเห็นเป็นเนื้อเดียว ได้แก่ สารละลาย หลายส่วน คือ มองเห็นเป็นเนื้อผสม ได้แก่ คอลลอยด์ และสารแขวนลอย) - สารผสม ต่างก็เป็นสารไม่บริสุทธิ์ มีความแตกต่างกันในเรื่องขนาดของอนุภาค - สารแขวนลอย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคมากกว่า 10-4 เซนติเมตร - คอลลอยด์ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคอยู่ระหว่าง 10-7–10-4เซนติเมตร - สารละลาย มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาคเล็กกว่า 10-7 เซนติเมตร
  • 26. วิธีการตรวจสอบสารผสมทั้ง 3 ชนิด ทาได้หลายวิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 ตั้งสารตัวอย่างที่ต้องการตรวจสอบไว้ แล้วถ้าตกตะกอนก็แสดงว่า สารตัวอย่าง นั้นเป็นสารแขวนลอย (อนุภาคขนาดใหญ่ มวลจึงมาก ทาให้ตกตะกอน) วิธีที่ 2 ทดสอบโดยใช้วิธีการกรองผ่านกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน ซึ่ง กระดาษกรองสามารถกรองสารที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร ขึ้นไป และกระดาษเซลโลเฟนซึ่งสามารถกรองสารที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ใหญ่กว่า 10-7 เซนติเมตร สรุปผลการทดสอบ 1. สารแขวนลอย ไม่สามารถผ่านทั้งกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟนได้ (อนุภาค > 10-4 เซนติเมตร) 2. คอลลอยด์ ผ่านกระดาษกรองได้ แต่ไม่สามารถผ่านกระดาษเซลโลเฟนได้ (10-4 เซนติเมตร > อนุภาค > 10-7 เซนติเมตร) 3. สารละลาย ผ่านได้ทั้งกระดาษกรองและกระดาษเซลโลเฟน (อนุภาค < 10-7 เซนติเมตร)
  • 27. ข้อควรทราบ คอลลอยด์มีลักษณะพิเศษกว่าสารผสมประเภทอื่นๆ คือ สามารถเกิด "ปรากฏการณ์ ทินดอลล์ (Tyndall Effect)" ปรากฏการณ์ทินดอลล์ ค้นพบโดย จอห์น ทินดอลล์ (John Tyndall) นักวิทยาศาสตร์ ชาวไอร์แลนด์ ในปี พ.ศ. 2412 ปรากฏการณ์ทินดอลล์ คือ แสงกระทบอนุภาคของคอลลอยด์จะเกิดการกระเจิงแสง ทาให้มองเห็นเป็นลาแสงในคอลลอยด์นั้น โดยแสงไม่สามารถทะลุผ่านคอลลอยด์ได้ จอห์น ทินดอลล์
  • 28. ของแข็ง (SOLID ; S) หมายถึง สารที่มีขนาดและรูปร่างแน่นอน เนื่องจากอนุภาคจะ เรียงตัวและอยู่ชิดกันมาก ยึดเหนี่ยวกันอย่างหนาแน่น ทาให้อนุภาคเคลื่อนไหวได้น้อย มาก เปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ยาก ปริมาตรคงที่ เช่น เหล็ก ไม้ เงินเหรียญ ทองคา ถ่าน ไม้ เกลือ น้าตาล ก้อนหิน เมล็ดพืช ถ่านไฟฉาย ยางรถยนต์ เป็นต้น ของแข็ง หมายถึง สารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมาก ทาให้อนุภาคอยู่ใกล้ชิดกันดังนั้นจึงมี รูปร่างและปริมาตรของมันเอง โดยไม่เปลี่ยนไปตามรูปร่างของภาชนะที่บรรจุ เช่น เหล็ก เกลือแกง และด่างทับทิม
  • 29. สมบัติทั่วไปของ “ของแข็ง” • 1. อนุภาคของของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสารมากกว่าสารชนิดเดียวกันที่มีสถานะ เป็นของเหลว และแก๊ส • 2. ส่วนใหญ่มีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงกว่าของเหลวและแก๊ส • 3. มีรูปร่างที่แน่นอนไม่ขึ้นอยู่กับภาชนะที่ใส่ สารที่อยู่ในสถานะของแข็งจะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากกว่าของเหลวและก๊าซ จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทา ให้จุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสารในสถานะของแข็งส่วนใหญ่มีค่าสูงกว่าของเหลวและก๊าซ นอกจากนี้ ของแข็งยังมีสมบัติเฉพาะตัวที่สาคัญอีกหลายประการคือ มีรูปร่างแน่นอนไม่ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ มีปริมาตร คงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ไม่สามารถไหลได้ตามภาวะปกติเนื่องจากอนุภาคของแข็งอยู่ชิดกันมาก การ จัดเรียงอนุภาคอยู่ในตาแหน่งที่แน่นอน
  • 30. การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง การจัดเรียงอนุภาคในของแข็งแบ่งตามลักษณะการจัดเรียงอนุภาคของสาร ได้ 2 ชนิด คือ 1. ของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก (CRYSTALLINE SOLID) เป็นของแข็งที่มีพื้นผิวที่ทามุมกันด้วยค่าที่แน่นอน ซึ่งแสดงถึงการจัดเรียงเป็นระเบียบของอนุภาคของของแข็ง ผลึกที่มีขนาดใหญ่เมื่อทาให้เล็กลงก็ยังคงรักษา ลักษณะรูปผลึกเดิมอยู่ 2. ของแข็งอสัณฐาน (AMORPHOUS SOLID) ของแข็งที่อนุภาคอยู่ปะปนกันอย่างไม่เป็นระเบียบ ไม่มีรูปร่าง ที่แน่นอนเช่น แก้ว โพลิเมอร์ ยางธรรมชาติ ฯลฯ
  • 31. การจัดเรียงอนุภาคของ ของแข็ง ของแข็งที่เกิดจากการเรียงอนุภาคอย่างเป็นระเบียบ มีรูปร่างเฉพาะตัวเรียกว่าผลึก ผลึกของของแข็งแต่ละชนิดจะมีผิวหน้าที่ เรียบ ซึ่งทามุมกันด้วยค่าที่แน่นอน เป็นลักษณะเฉพาะตัว ผลึกที่มีขนาดใหญ่ ๆ เมื่อทาให้ผลึกเล็กลงเช่นโดยการบด ส่วนเล็ก ๆ จะยังคงรักษารูปผลึกเป็นแบบเดิมอยู่ โดยทั่วไปของแข็งชนิดเดียวกันจะมีการจัดเรียงอนุภาคเป็นแบบเดียวกันไม่ว่าของแข็งนั้น จะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือสังเคราะห์ขึ้นผลึกของของแข็งจะมีจุดหลอมเหลวคงที่และมีช่วงอุณหภูมิของการหลอมเหลวสั้น การที่ของแข็งมีการจัดเรียงโมเลกุลต่างกัน ทาให้เกิดผลึกที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นผลให้สมบัติทางกายภาพ เช่น จุดเดือด จุด หลอมเหลว และความหนาแน่นแตกต่างกัน
  • 32. ของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก (CRYSTALLINE SOLID) • สารบางอย่างอาจมีรูปผลึกได้หลายแบบซึ่งเราจะเรียกว่า ปรากฏการณ์อัญรูป (POLYMORPHISM) เช่น เพชร แกรไฟต์ สารบางชนิดอาจจะมีรูปร่างผลึกที่เหมือนกันได้ ซึ่งจะเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ภาวะรูปร่าง เหมือน (ISOMORPHISM) เช่น โซเดียมคลอไรด์ โพแทสเซียมคลอไรด์ เป็นต้น นอกจากนี้ ผลึกยังมีสมบัติที่ เรียกว่า ANISOTROPY อันได้แก่ความแข็งแรงทนทานทางกล ดรรชนีหักเห และการนาไฟฟ้า ถ้าวัดในทิศทางที่ ต่างกันค่าที่ได้จะไม่เท่ากัน
  • 33. คุณสมบัติของแข็งที่มีลักษณะเป็นผลึก • อนุภาคเรียงตัวกันอย่างมีระเบียบแบบแผนทางเรขาคณิตเป็นสามมิติ เรียกว่า CRYSTAL LATTICE • ผิวหน้าเรียบ มุมระหว่างผิวหน้ามีค่าแน่นอน • มีจุดหลอมเหลวแน่นอน • มีสมบัติไม่เหมือนกันทุกทิศทาง
  • 34. ชนิดผลึกของ “ของแข็ง” ของแข็งที่อยู่ในรูปผลึกมีลักษณะที่สาคัญคือมีการจัดเรียงอนุภาคภายในอย่างมีระเบียบในสามมิติ แต่ละอนุภาค ยึดเหนี่ยวด้วยแรงชนิดต่าง ๆ มีโครงสร้างทางเรขาคณิตที่แน่นอน ของแข็งบริสุทธิ์มีจุดหลอมเหลวที่ชัดเจนและ คงที่ นั่นคือเมื่ออุณหภูมิถึงจุดหลอมเหลวสารประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวทันที ถ้าใช้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคภายในผลึกเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่ง ของแข็งในรูปผลึกได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1. ผลึกโมเลกุล (Molecular crystal) เป็นผลึกที่เกิดจากโมเลกุลโคเวเลนต์ 2. ผลึกโคเวเลนต์ (Network covalent crystal) เป็นผลึกที่เกิดจาก สารประกอบโคเวเลนต์แบบโครงผลึกร่างตาข่าย 3. ผลึกโลหะ (Metalic crystal) เป็นผลึกที่เกิดจากพันธะโลหะ 4. ผลึกไอออนิก (Ionic crystal) เป็นผลึกที่เกิดจากสารประกอบไอออนิก
  • 36.
  • 37.
  • 38. โครงสร้างผลึก (CRYSTAL STRUCTURE) ของวัสดุ เรามักจะนึกถึงอะตอมหรือไอออนในรูปของทรงกลมที่จัดเรียง ตัวอย่างเป็นระเบียบในระบบโครงข่ายสามมิติ หรือที่เรียกว่า แลตทิซ (LATTICE) จุดตัดบนโครงข่ายสามมิตินี้ เรียกว่า จุดแลตทิซ (LATTICE POINT) ซึ่งแสดงถึงอะตอมของในโครงข่าย แต่ละส่วนย่อยที่จัดเรียงตัวซ้าๆกันใน แลตทิซเรียกว่า ยูนิตเซลล์ (UNIT CELL) ซึ่งงกาหนดด้วยความยาวแต่ละด้าน A,B,C
  • 39. ยูนิตเซลล์มีทั้งหมด 7 แบบ แต่ละแบบมีความยาวของแต่ละด้านและมุมที่ด้านประกอบกันแตกต่างกัน ออกไป เราเรียกยูนิตเซลล์ทั้ง 7 แบบนี้ว่า ระบบผลึก (CRYSTAL SYSTEM) ยกตัวอย่างเช่น ระบบผลึก คิวบิก (CUBIC) เป็นระบบผลึกที่แต่ละด้านมีความยาวเท่ากันและทามุมกัน 90 องศา หรือ ระบบผลึก ออร์โธรอมบิก (ORTHORHOMBIC) ที่แต่ละด้านทามุมกัน 90 องศา แต่ว่ามีความยาวไม่เท่ากัน
  • 40. ของแข็งอสัญฐาน (AMORPHOUS SOLID) ของแข็งบางประเภท เช่น แก้ว ยาง พลาสติก เป็นของแข็งที่ไม่มีรูปผลึก ของแข็งที่ไม่มีรูปผลึกเรียกว่า ของแข็งอสัญ ฐาน ของแข็งประเภทนี้มีการจัดเรียงอนุภาคภายในไม่เป็นระเบียบ เมื่อแตกหักจะได้ชิ้นส่วนที่ไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิต หรือเมื่อได้รับความร้อนปริมาณมากพอจะค่อย ๆ อ่อนตัวกลายเป็นของเหลวและไหลได้ ของแข็งประเภทนี้ส่วนใหญ่ไม่ สามารถหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนได้
  • 42. ของแข็งอสัณฐาน (AMORPHOUS SOLID) • อนุภาคเรียงตัวโดยไม่มีระเบียบแบบแผน • ผิวหน้าไม่เรียบ และมุมต่างๆ กัน • ช่วงการหลอมเหลวกว้าง • มีสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง
  • 43. การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง” • การหลอมเหลว (MELTING) เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็งจะมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น ทาให้อนุภาค มีการสั่นมากขึ้น และมีการถ่ายโอนพลังงานให้แก่อนุภาคข้างเคียงอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งบางอนุภาคของของแข็งมี พลังงานสูงกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค อนุภาคของของแข็งจึงเริ่มเคลื่อนที่และอยู่ห่างกันมากขึ้น ของแข็งจึง เกิดการเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว (melting) และเรียกอุณหภูมิในขณะที่ของแข็งเปลี่ยน สถานะเป็นของเหลวที่ความดัน 1 บรรยากาศว่า จุดหลอมเหลว (melting point)
  • 44. การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง” • การหลอมเหลว (MELTING) จุดหลอมเหลวปกติ หมายถึง จุดหลอมเหลวของของแข็งที่ ความดัน 1 บรรยากาศ ในระหว่างการหลอมเหลว ของแข็ง อยู่ในสมดุลกับของเหลว จุดหลอมเหลวของของแข็ง เป็น อุณหภูมิที่ของแข็งและของเหลวอยู่ร่วมกันในสมดุล ที่ อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
  • 45. การระเหิด (SUBLIMATION) การระเหิดของสารเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับสารชนิดที่ไม่มีขั้วหรือมีขั้วน้อยมาก และมี แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเป็นแรงแวนเดอร์วาลส์ (Van der Waals forces) อย่างอ่อน เช่น แรงลอนดอน (London forces) เมื่ออนุภาคของสารได้รับความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเพียงเล็กน้อย จะทาให้อนุภาคของสารนั้นแยกออกจากผลึก โดยเฉพาะอนุภาคที่อยู่บริเวณผิวหน้าของผลึกจะหลุดออกและเคลื่อนที่เป็นอิสระได้ง่าย เช่น การระเหิดของไอโอดีน การระเหิดของแนฟทาลีน การบูร เมนทอล เป็นต้น การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง”
  • 46. การระเหิด (SUBLIMATION) เนื่องจากอนุภาคของของแข็งอยู่ใกล้กันมาก ทาให้มีโอกาสกระทบกันได้ จึงมีการถ่ายเท พลังงานให้แก่กันที่อุณหภูมิหนึ่งบางอนุภาคที่ผิวหน้าของของแข็งมีพลังงานสูงพอที่จะหลุดเป็นปรากฏการณ์ที่ของแข็ง เปลี่ยนสถานะเป็นไอ โดยไม่ผ่านสถานะของเหลวก่อน เรียกว่า ” การระเหิด ” จึงทาให้แนฟทาลีนมีขนาดเล็กลงและ หมดไปในที่สุดได้สารที่ระเหิดได้ นอกจากแนฟทาลีนแล้วยังมี การบูร พิมเสน ไอโอดีน เป็นต้น การเปลี่ยนสถานะของ “ของแข็ง”
  • 48. • ของเหลว (LIQUID ; L) หมายถึง สารที่มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน เนื่องจากอนุภาคจะอยู่ห่างกันและไม่เป็น ระเบียบ ยึดเหนี่ยวกันอย่างหลวม ๆ เปลี่ยนแปลงรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ สามารถไหลได้ ปริมาตร คงที่ เช่น น้า นมสด น้าปลา น้ามันพืช น้าอัดลม เครื่องดื่มชูกาลัง เป็นต้น ของเหลว หมายถึง สารที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง ทาให้อนุภาคไม่ได้อยู่ชิดกันอย่างของแข็ง จึงมีปริมาตรที่แน่นอน แต่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของภาชนะที่บรรจุเช่น น้า เบนซีน และปรอท เป็นต้น
  • 49. ของเหลว (LIQUID) • 1. มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง 3. รูปร่างของของเหลวจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ และมีปริมาตรคงที่ที่อุณหภูมิและความดันคงที่
  • 54. สมบัติทั่วไปของของเหลว • แรงดึงผิว (Tension forces) หมายถึงแรงที่ดึงผิวของของเหลวเข้ามาภายในเพื่อ ทาให้พื้นที่ของของเหลวเหลือน้อยที่สุด • ความตึงผิว หมายถึงงานที่ต้องใช้ในการขยายพื้นที่ผิวของของเหลว 1 หน่วย
  • 56. แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด • เมื่อของเหลวสัมผัสกับวัสดุหรือบรรจุอยู่ในภาชนะ จะมีโมเลกุลของสารสองชนิดที่แตกต่างกันคือ โมเลกุลของ ของเหลวและโมเลกุลของสารที่เป็นวัสดุหรือทาภาชนะ รวมทั้งมีแรงยึดเหนี่ยวที่เกี่ยวข้องอีก 2 ประเภทดังนี้ แรงเชื่อมแน่น (Cohesive forces) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหรือโมเลกุล ของสารชนิดเดียวกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับน้า แรงยึดติด (Adhesive forces) หมายถึงแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หรือโมเลกุลต่างชนิดกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้ากับ แก้วที่ใช้ทาภาชนะ
  • 57. น้ำในหลอดทดลองหรือในกระบอกตวง จะสังเกตเห็นว่ำผิวแก้วเปียกน้ำ และ บริเวณผิวน้ำที่ติดกับข้ำงแก้วมีระดับสูงกว่ำบริเวณตรงกลำง หรือถ้ำจุ่มหลอด คะปิลลำรี (Capillary tube) ปลำยเปิดทั้งสองข้ำงลงในน้ำที่บรรจุอยู่ในบีบึกเกอร์ จะพบว่ำระดับน้ำในหลอดคะปิลลำรีสูงกว่ำในบีกเกอร์ และบริเวณตรงกลำงของ น้ำมีลักษณะเว้ำ อธิบำยได้ว่ำเนื่องจำกองค์ประกอบของแก้วส่วนใหญ่เป็น SiO2 โมเลกุลของน้ำจึงมีแรงยึดเหนี่ยวกับออกซิเจนที่ผนังด้ำนในของหลอดแก้ว ได้แรงยึดติดระหว่ำงโมเลกุลของแก้วกับน้ำแข็งแรงมำกกว่ำแรงเชื่อมแน่น ระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับน้ำโมเลกุลของน้ำจึงยึดติดกับผนังของหลอดแก้วเป็น ลักษณะแผ่นฟิล์มบำง ๆ ควำมตึงผิวของน้ำซึ่งมีค่ำสูงจะทำให้ผิวน้ำหดตัวได้และ ดึงโมเลกุลอื่น ๆ ของน้ำตำมขึ้นไปด้วย เป็นผลให้ระดับน้ำในหลอดคะปิลลำรีสูง กว่ำระดับน้ำในบีกเกอร์ แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด
  • 58. ของเหลวบำงชนิดมีลักษณะตรงข้ำมกับน้ำ เช่น ปรอท เนื่องจำกปรอทมีแรงเชื่อมแน่น ระหว่ำงโมเลกุลของปรอทกับปรอทมำกกว่ำแรงยึดติดระหว่ำงโมเลกุลของปรอทกับ แก้ว ดังนั้นโมเลกุลของปรอทที่อยู่บริเวณผิวและที่ติดอยู่กับผนังหลอดคะปิลลำรี (Capillary tube) จะถูกดึงเข้ำสู่ภำยในหรือให้ห่ำงจำกผนัง จึงทำให้ปรอทไม่เปียกแก้ว และระดับปรอทในหลอดคะปิลลำรีต่ำกว่ำระดับปรอทในบีกเกอร์และผิวหน้ำมี ลักษณะโค้งนูน แรงเชื่อมแน่นและแรงยึดติด •เมื่อหยดน้ำลงบนแผ่นไม้หรือกระดำษแล้วสังเกตได้ว่ำแผ่นไม้หรือกระดำษนั้นเปียก อธิบำยได้ ว่ำแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำมีค่ำน้อยกว่ำแรงยึดเหี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับไม้ หรือกระดำษ ทำให้น้ำไม่สำมำรถรวมตัวอยู่ลักษณะเป็นหยดได้ จึงแผ่กระจำยออกไป •ถ้ำหยดน้ำลงบนผิวที่เรียบมัน เช่น พลำสติกหรือวัสดุที่เคลือบเงำบำงชนิด หยดน้ำจะมีลักษณะ เป็นรูปทรงกลมเกำะที่ผิววัสดุนั้น เพรำะว่ำแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำมีค่ำมำกกว่ำแรง ยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลของน้ำกับวัสดุ
  • 59. ข้อสรุปเกี่ยวกับแรงดึงผิว • 1. แรงดึงผิวของของเหลวจะทำให้ของเหลวปริมำณน้อย ๆ มีรูปร่ำงค่อนข้ำงเป็นทรงกลม เพรำะว่ำในปริมำตรที่ กำหนดให้รูปทรงกลมมีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด และทำผิวของ ของเหลวถูกดึงจนตึง เปรียบเสมือนแผ่นยำงยืดบำง ๆ ปก คลุมของเหลวไว้ดังนั้นจึงเห็นแมลงบำงชนิดสำมำรถเดิน บนผิวน้ำได้ หรือหยดน้ำบนใบไม้ที่มีผิวหน้ำเป็นมันหรือ วัสดุผิวเรียบเป็นมันจะรักษำรูปทรงในลักษณะค่อนข้ำง กลม เพรำะว่ำน้ำมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลที่แข็งแรง และมีแรงดึงผิวมำก
  • 60. ข้อสรุปเกี่ยวกับแรงดึงผิว 2. แรงโน้มถ่วงของโลกจะมีผลทาให้หยดน้าแบนลงหรือกระจายออก สาหรับ ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคภายในที่แข็งแรง ของเหลวนั้นจะมี แรงดึงผิวมาก และรักษารูปทรงที่มีลักษณะค่อนข้างกลมได้มากกว่าของเหลวที่มี แรงดึงผิวน้อย ของเหลวต่างชนิดกันจะมีแรงดึงผิวต่างกันเมื่ออยู่บนวัสดุชนิด เดียวกัน จึงรักษารูปทรงได้แตกต่างกัน 3. ถ้ามีการเพิ่มพื้นที่ผิวของของเหลว โมเลกุลที่อยู่ด้านในของของเหลว จะต้องเคลื่อนที่ออกมายังพื้นผิวของของเหลว โมเลกุลเหล่านี้ต้องใช้ พลังงานเพื่อเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่อยู่รอบข้าง งานที่ต้อง ใช้ในการขยายพื้นที่ผิวของของเหลว 1 หน่วย เรียกว่า ความตึงผิว
  • 61. • ความตึงผิวของของเหลวจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลในของเหลว ถ้า ของเหลวใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูง ความตึงผิวจะมีค่าสูงด้วย ความตึงผิวของของเหลว บางชนิดดังข้อมูลในตาราง ตารางแสดงความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อุณหภูมิ 25oC
  • 62. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงดึงผิว 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลกับความตึงผิว ของเหลวที่มี แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแข็งแรง จะมีแรงดึงผิวมาก และ ทาให้มีความตึงผิวมากด้วย ปรอทมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาคเป็นพันธะโลหะซึ่งมีความแข็งแรงมาก ความตึงผิว ของปรอทจึงมีค่าสูง ไดเอทิลอีเทอร์ - มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นแรง ลอนดอน ซึ่งมีความแข็งแรงน้อย ความตึงผิวจึงมีค่าน้อย น้า - เป็นของเหลวที่มีความตึงผิวมาก เนื่องจากมีแรงยึด เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นพันธะไฮโดรเจน น้าจึง สามารถอยู่ในลักษณะเป็นหยดอยู่บนผิวหน้าของวัตถุบาง ชนิดได้ค่อนข้างมากกว่าของเหลวชนิดอื่น
  • 63. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงดึงผิว 2. อุณหภูมิกับควำมตึงผิว อุณหภูมิมีผลต่อควำมตึงผิวของของเหลว เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป ควำมตึงผิวของ ของเหลวจะเปลี่ยนไปด้วย เช่น น้ำ ควำมตึงผิวจะลดลงเมื่ออุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้น กำรเติมสำรบำงชนิดลงในน้ำ เช่น เติมน้ำสบู่ หรือเติมเกลือลงในน้ำจะทำให้ควำมตึงผิวเปลี่ยนแปลงด้วย ตารางแสดงความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อุณหภูมิ 20oC ตารางแสดงความตึงผิวของของเหลวบางชนิดที่อุณหภูมิ 25oC
  • 65. • หมายถึงการที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นไอ สารในสถานะของเหลวมีการ จัดเรียงอนุภาคไม่เป็นระเบียบ และมีช่องว่างอยู่ทั่วไป โมเลกุลของของเหลวจึง เคลื่อนที่ได้เล็กน้อย ทาให้เกิดการชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะ แล้วมีการถ่าย โอนพลังงานให้แก่กัน ทาให้บางโมเลกุลของของเหลวมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น และ บางโมเลกุลมีพลังงานจลน์ลดลง ถ้าโมเลกุลที่มีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้นอยู่บริเวณ ผิวหน้าของของเหลว หรือสามารถเคลื่อนที่มาอยู่ผิวหน้าของของเหลวได้ และมี พลังงานสูงมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล โมเลกุลเหล่านั้นจะหลุดออกจาก ผิวหน้าของของเหลวกลายเป็นไอไปเรื่อย ๆ การที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะไปเป็นไอ เรียกว่าการระเหย ขณะที่ของเหลวเกิดการระเหยจะดึงพลังงานส่วนหนึ่งไปใช้ใน การเปลี่ยนสถานะ ทาให้อุณหภูมิของของเหลวลดลง ของเหลวจึงดูดพลังงานจาก สิ่งแวดล้อมเข้ามาแทนที่พลังงานส่วนที่เสียไป การระเหย (EVAPORATION) สมบัติทั่วไปของของเหลว
  • 66. ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย • 1. อุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิสูงการระเหยจะเกิดได้เร็วขึ้น เช่น ตากผ้าไว้ในที่มีแดดจัดผ้าจะแห้งได้เร็วกว่า ผ้าที่ตากไว้ในร่ม เนื่องจากความร้อนหรืออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมีผลให้พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของ น้าเพิ่มขึ้น ทาให้โมเลกุลของน้าที่มีพลังงานจลน์สูงพอที่จะเอาชนะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมี มากขึ้น การระเหยของน้าจึงเกิดได้เร็วขึ้น
  • 67. ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย • 2. พื้นที่ผิว การเพิ่มพื้นที่ผิวหน้าของของเหลวทาให้เกิดการระเหยได้เร็วขึ้น เพราะว่าเป็นการเพิ่ม จานวนโมเลกุลของของเหลวที่มีโอกาสหลุดออกจากผิวหน้าของของเหลวได้มากขึ้น เช่น ถ้าใส่ ของเหลวลงในภาชนะปากกว้างจะระเหยได้เร็วกว่าในภาชนะปากแคบ
  • 68. ปัจจัยที่มีผลต่อการระเหย • 3. การถ่ายเทอากาศ การที่อยู่ในที่ที่มีการถ่ายเทอากาศได้ดี หรือมีลมพัดผ่านจะช่วยให้เกิดการระเหยได้ดี เช่น เหงื่อบน ร่างกาย เพราะการเคลื่อนที่ของอากาศทาให้โมเลกุลของไอ บริเวณเหนือของเหลวเกิดการเคลื่อนที่ และลดจานวน โมเลกุลของไอบริเวณผิวหน้าของของเหลว เป็นผลให้ โมเลกุลของของเหลวบริเวณผิวหน้ากลายเป็นไอได้มากขึ้น หรือระเหยได้เร็วขึ้น ขณะที่เหงื่อระเหยจะดึงความร้อนจาก ผิวหนังจึงทาให้รู้สึกเย็น
  • 69. ความดันไอกับจุดเดือดของของเหลว เมื่อบรรจุของเหลวในภาชนะเปิดและตั้งทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง ของเหลวจะระเหยกลาย เป็นไอไปได้เรื่อย ๆ แต่ถ้าบรรจุ ของเหลวในภาชนะปิด ณ อุณหภูมิเดียวกัน โมเลกุลของของเหลวที่ระเหยกลายเป็นไอจะยังคงอยู่ในที่ว่างเหนือของเหลว โมเลกุลที่อยู่ในรูปของไอจะเกิดการชนกันเองหรือชนผนังภาชนะ การที่โมเลกุลของไอจานวนมากชนกับผนังภาชนะ ตลอดเวลาทาให้เกิดแรงกระทาต่อภาชนะ หรือมีความดันเกิดขึ้นในภาชนะ ในขณะที่ของเหลวกลายเป็นไอ ปริมาตรของ ของเหลวจะลดลง แต่ปริมาตรของไอจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทาให้ดันของไอเหนือของเหลวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะเดียวกันไอ บางส่วนก็จะเปลี่ยนสถานะกลับเป็นของเหลวได้อีก ในตอนเริ่มต้นอัตราการเปลี่ยนจากไอเป็นของเหลวจะช้า แต่จะมี อัตราเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อจานวนโมเลกุลของไอเพิ่มขึ้นมากขึ้น การเปลี่ยนสถานะกลับไปมาระหว่างของเหลวกับไอ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งอัตราการเปลี่ยนจากของเหลวเป็นไอเท่ากับอัตราการเปลี่ยนจากไอเป็นของเหลว ซึ่งเป็น ผลทาให้จานวนโมเลกุลที่กลายเป็นไอเท่ากับจานวนโมเลกุลที่ควบแน่นเป็นของเหลว ซึ่งขณะนี้ปริมาตรและความดันไอ ของของเหลวจะคงที่ ความดันของไอเหนือของเหลวขณะที่มีอัตราการระเหยเท่ากับอัตราการควบแน่นนี้เรียกว่า ความ ดันไอของของเหลว (Vapour pressure)
  • 71. ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว 1. อุณหภูมิ • ความดันไอของของเหลว ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ เมื่อของเหลวมี อุณหภูมิสูงขึ้น ความดันไอของของเหลวจะสูงขึ้นด้วยและ การทาให้ของเหลวมีความดันไอเท่ากันจะใช้อุณหภูมิไม่ เท่ากัน • จุดเดือดของของเหลวคืออุณหภูมิที่ของเหลวมีความดันไอ เท่ากับความดันบรรยากาศดังนั้น จุดเดือดของอีเทอร์ แอซี โตน แอลกอฮอล์ และน้าคือ 34.6 OC , 56.5 OC , 78.4 OC และ 100 OC โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กาหนดให้จุด เดือดของของเหลววัดที่ความดัน 1 บรรยากาศ และเรียกว่า “จุดเดือดปกติ” และจุดเดือดของของเหลวที่ความดันค่าอื่นๆ จะมีค่าแตกต่างกัน
  • 72. ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว • ความดันไอของของเหลวมีความสัมพันธ์กับจุดเดือด นอกจากนี้ ณ อุณหภูมิต่างกัน ความดันไอของของเหลว ชนิดหนึ่งจะมีค่าแตกต่างกัน นั่นคือที่อุณหภูมิสูงความ ดันไอของของเหลวจะมีค่าสูงกว่าที่อุณหภูมิต่า เนื่องจากโมเลกุลมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น โมเลกุลจึงมี โอกาสเป็นไอได้มากขึ้น
  • 73. ปัจจัยที่มีผลต่อความดันไอของของเหลว 2. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลว • เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลในของเหลวมีหลายชนิด และมีความแข็งแรงแตกต่างกัน เช่น แรง ลอนดอน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว พันธะไฮโดรเจน ของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแข็งแรงน้อยจะ กลายเป็นไอได้ง่าย มีความดันไอสูง และมีจุดเดือดต่า เช่น อีเทอร์ แอซีโตน ส่วนของเหลวที่มีแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาคแข็งแรงมากจะกลายเป็นไอได้ยาก มีความดันไอต่า และจุดเดือดสูง เช่น น้า
  • 75. จุดเดือด • การเดือด ( BOILING ) เป็นขบวนการที่โมเลกุลของของเหลวได้รับพลังงานสูงมากจน กลายเป็นไอได้อย่างรวดเร็ว และโมเลกุลของของเหลวทั่วทุกบริเวณในภาชนะนั้น สามารถที่จะหลุดหนีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลได้อย่างรวดเร็ว การเดือดของของเหลว จะเกิดขึ้นที่อุณหภูมิหนึ่ง ซึ่งจะคงที่สาหรับของเหลวแต่ละชนิด เรียกว่า จุดเดือด ( BOILING POINT ) ความดันไอของของเหลวขณะเดือดจะมีค่าเท่ากับความดันภายนอก หรือมากกว่าซึ่งก็คือความดันบรรยากาศขณะนั้น ความดันของบรรยากาศจะมีผลต่อ จุดเดือดของของเหลว คือ ถ้าเปลี่ยนความดันจะทาให้จุดเดือดของของเหลวเปลี่ยนไป ด้วย ดังนั้นการบอกจุดเดือดของของเหลวชนิดหนึ่ง ๆ จะต้องบอกความดันของ บรรยากาศด้วย เช่น จุดเดือดของน้าเท่ากับ 100 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 1 บรรยากาศ แต่โดยทั่วไปเมื่อกล่าวถึงจุดเดือดโดยไม่ระบุความดันเราหมายถึงจุดเดือด ที่ความดัน 1 บรรยากาศ และเรียกว่า จุดเดือดปกติ
  • 77. จุดเดือดของน้ากับระดับความสูงจากน้าทะเล ยิ่งสูงจุดเดือดของน้ายิ่งลดลง 1. ที่ความดันบรรยากาศ 760 มม.ปรอท น้าจะเดือดที่ 100 องศา C 2. ทุก 11 เมตรที่สูงขึ้นความดันบรรยากาศลดลง 1 มม.ปรอท 3. ทุก 27 มม.ปรอท จุดเดือดของน้าจะลดลง 1 องศา C หรือทุกๆความสูง 297 เมตร จุดเดือดของน้าจะลดลง 1 องศา C
  • 78. ประเภทของคอลลอยด์ • 1. เจล (GEL) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ซึ่งกระจายอยู่ใน สารที่เป็นตัวกลางที่มีสถานะเป็นของเหลว และมักจะมีลักษณะที่มีความเหนียวหนืด เช่น กาวลาเท็กซ์ แป้งเปียก แยมผลไม้ต่างๆ เยลลี่ เป็นต้น
  • 79. ประเภทของคอลลอยด์ • 2. โฟม (FOAM) เป็นคอลลอยด์ที่อาจเกิดจากแก๊สที่กระจายอยู่ในของแข็งและของเหลวได้ - แก๊สที่กระจายอยู่ในของแข็ง เช่น ขนมสาลี่ ฟองน้าที่ใช้สาหรับถูตัว เป็นต้น - แก๊สที่กระจายอยู่ในของเหลว เช่น ฟองเบียร์ ฟองจากผงซักฟอก ฟองจากโฟมล้างหน้า เป็นต้น
  • 80. ประเภทของคอลลอยด์ • 3. แอโรซอล (AEROSOL) เป็นคอลลอยด์ที่อาจจะเกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของแข็งหรือ ของเหลวที่กระจายอยู่ในแก๊สได้ - ของแข็งที่กระจายอยู่ในแก๊ส เช่น ฝุ่ นละอองที่กระจายอยู่ในอากาศ กลุ่มควัน เป็นต้น - ของเหลวที่กระจายอยู่ในแก๊ส เช่น สเปรย์ปรับอากาศ ยาฆ่าแมลงชนิดสเปรย์ เป็นต้น
  • 81. ประเภทของคอลลอยด์ • 4. อิมัลชัน (EMULSION) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของเหลว และไม่รวมกันเป็นเนื้อเดียว ถูกทาให้ รวมกันโดยการเติมสารที่เป็นอิมัลซิฟายเออร์ ซึ่งเป็นตัวประสานให้ของเหลวทั้งสองรวมตัวกัน เกิดเป็นสารที่ เรียกว่า อิมัลชัน เช่น - น้ามันผสมกับน้า มีน้าสบู่เป็นอิมัลซิฟายเออร์ - น้าสลัด (น้ามันพืช น้าส้มสายชู) มีไข่แดงเป็นอิมัลซิฟายเออร์ ข้อควรทราบ - ของเหลวที่ไม่รวมตัวกัน มำรวมตัวกันได้เรียกว่ำ อิมัลชัน (emulsion) - สำรที่ทำให้เกิดกำรประสำนรวมกัน เรียกว่ำ อิมัลซิฟำยเออร์ (emulzifier)
  • 82. ประเภทของคอลลอยด์ • 5. ซอล (SOL) เป็นคอลลอยด์ที่เกิดจากสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง มีโมเลกุลขนาดเล็กกระจายอยู่ใน สารที่เป็นตัวกลางที่มีสถานะเป็นของเหลว เช่น น้าแป้ง น้าอบไทย เป็นต้น