SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
 
การเตรียมสารละลาย เตรียมจากตัวละลายบริสุทธิ์ เตรียมจากสารละลายเข้มข้นทำเป็นสารละลายเจือจาง
สารละลายมาตรฐาน Standard Solution   เป็นสารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน   Primary Standard Solution  สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ เป็นสารละลายที่เตรียมจากสารที่มี ความบริสุทธิ์สูง  ใช้เทียบความเข้มข้นสารละลายอื่น Secondary Standard Solution  สารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ  เป็นสารละลายที่เตรียมจาก สารทั่วไป  แล้วนำไปไทเทรตเทียบความเข้มข้นก่อนใช้งาน
การเตรียมสารละลาย
1.  เตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์
เตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์ 1.  คำนวณหาปริมาณของตัวละลาย แล้วชั่งมวลตัวละลายตามที่คำนวณได้ 3.  เทสารละลายจากข้อ  2  ลงในขวดวัดปริมาตรตามขนาดที่กำหนด 4 .  เทน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ที่ใช้ละลายสารเล็กน้อยเพื่อล้างสารที่ตกค้างอยู่ในบีกเกอร์ แล้วเทลงในขวดวัดปริมาตร  ทำซ้ำ  2 – 3  ครั้ง จนแน่ใจว่าไม่มีสารตกค้าง
4 5.  ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด  ปิดจุกขวดวัดปริมาตร  จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
How many  grams of magnesium cyanide are needed to make 275 cm 3  of a 0.075 M solution? 0.075 M  Mg(CN) 2   = = 0.075 mole Mg(CN) 2 1 dm 3  solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3  solution = mole Mg(CN) 2 275 cm 3  solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3  solution
mol  Mg(CN) 2   = =  0.0206 mol Mg(CN) 2 =  1.56 g Mg(CN) 2 275 cm 3  solution  x 0.075 mol Mg(CN) 2 1000 cm 3  solution g  Mg(CN) 2   = 0.0206 mol Mg(CN) 2   x   1 mol Mg(CN) 2 76 g  Mg(CN) 2
2.  การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง นำสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงไปทำเป็นสารละลายที่มีคามเข้มข้นน้อยกว่า
จำนวนโมลของตัวละลายก่อนและหลังการเจือจางจะเท่ากัน โมลก่อนผสม   =  โมลหลังผสม M 1 V 1   =  M 2 V 2 โมลก่อนผสม   =   โมลหลังผสม ก่อนเจือจาง หลังเจือจาง หลักการเจือจางสารละลาย
การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง 1.  คำนวณหาปริมาตรของสารละลายเข้มข้นที่ต้องแบ่งไปใช้เพื่อเตรียมสารละลายเจือจาง จาก โมลตัวละลาย  =   ความเข้มข้นละลาย  ( M 2 )  x ปริมาตรละลาย V 2   ( cm 3 ) 1000  cm 3   ปริมาตรสารละลาย V 1   ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย  ( M 1 ) 1000  cm 3   =  โมลตัวละลาย  x
โมลตัวละลาย  =   M 1 V 1   =  M 2 V 2 ความเข้มข้นละลาย  ( M 2 )  x ปริมาตรละลาย V 2   ( cm 3 ) 1000  cm 3   ปริมาตรสารละลาย V 1   ( cm 3 ) x  ความเข้มข้นละลาย  ( M 1 ) 1000  cm 3   โมลตัวละลาย  = ปริมาตรสารละลาย V 1   ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย  ( M 1 ) 1000  cm 3   =  โมลตัวละลาย  x
2.  ใช้ปิเปตต์ดูดสารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่คำนวณได้ถ่ายใส่ลงในขวดวัดปริมาตรที่กำหนด
3 3.  ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด  ปิดจุกขวดวัดปริมาตร  จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
ต้องการเตรียมสารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   ปริมาตร  100  cm 3  จากสารละลาย   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   จงหาว่าจะต้องใช้   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   กี่ cm 3  หาจำนวนโมลของ   CuSO 4   ในสารละลายเข้มข้น   0.1 mol / dm 3   100 cm 3 =  0.01 mol คำนวณหาว่าจะต้องใช้สารละลาย   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   กี่   cm 3   จึงจะมี   CuSO 4   0.01   mol =  20 cm 3 mol CuSO 4  = V  สารละลาย   =
ดังนั้น ในการเตรียมสารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   ปริมาตร  100  cm 3  จากสารละลาย   CuSO 4  0.5 mol /   dm 3 จะต้องใช้สารละลาย   CuSO 4   0.5 mol / dm 3   ปริมาตร  20  cm 3  แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร  100  cm 3
ต้องการเตรียมสารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   ปริมาตร  100  cm 3  จากสารละลาย   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   จงหาว่าจะต้องใช้   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   กี่ cm 3  (0.5 M)(V 1 ) =  (0.1 M)(100 cm 3 ) ใช้   CuSO 4  0.5 mol / dm 3   20 cm 3 V 1   สารละลาย   =  20 cm 3   M 1 V 1   =  M 2 V 2
สารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   แบ่งมา  10 cm 3  แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร  100 cm 3  สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร หาจำนวนโมลของ   CuSO 4   ในสารละลายเข้มข้น   0.1 mol / dm 3   10 cm 3 เติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร   100 cm 3 =  0.001 mol ในสารละลาย   100 cm 3   มี   CuSO 4   0.001 mol =  0.01 mol / dm 3 mol CuSO 4  = ความเข้มข้น   CuSO 4  (aq)   =
สารละลาย  CuSO 4  0.1 mol / dm 3   แบ่งมา  10 cm 3  แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร  100 cm 3  สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร (0.1 M)(10 cm 3  ) =  (M 2 )(100 cm 3 ) สารละลายที่ได้มีความเข้มข้น   0.0.01 mol / dm 3 M 2   สารละลาย   =  0.01 M  M 1 V 1   =  M 2 V 2

Contenu connexe

Tendances

4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติPreeyapat Lengrabam
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3Duduan
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - StoichiometryDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันชิตชัย โพธิ์ประภา
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 

Tendances (20)

4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3สอนเตรียมสารละลาย 3
สอนเตรียมสารละลาย 3
 
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometryปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
ปริมาณสารสัมพันธ์ - Stoichiometry
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 

Plus de Saipanya school

Plus de Saipanya school (20)

Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
Titration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solutionTitration curve & buffer solution
Titration curve & buffer solution
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
Concentration ..2018
Concentration ..2018Concentration ..2018
Concentration ..2018
 
Concentration 2018
Concentration 2018Concentration 2018
Concentration 2018
 
4 chem formular
4 chem formular4 chem formular
4 chem formular
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
Stoichem 002
Stoichem 002 Stoichem 002
Stoichem 002
 
Stoichem 001
Stoichem 001Stoichem 001
Stoichem 001
 
Mole review
Mole review Mole review
Mole review
 
พันธะโลหะ
พันธะโลหะพันธะโลหะ
พันธะโลหะ
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด Aสุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
สุ่มนักเรียนนำเสนอชุด A
 
เฉลย โมล
เฉลย โมลเฉลย โมล
เฉลย โมล
 
ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5ว 30222 ม.5
ว 30222 ม.5
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 

4 การเตรียมสารละลาย

  • 1.  
  • 3. สารละลายมาตรฐาน Standard Solution เป็นสารละลายที่ทราบความเข้มข้นที่แน่นอน Primary Standard Solution สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ เป็นสารละลายที่เตรียมจากสารที่มี ความบริสุทธิ์สูง ใช้เทียบความเข้มข้นสารละลายอื่น Secondary Standard Solution สารละลายมาตรฐานทุติยภูมิ เป็นสารละลายที่เตรียมจาก สารทั่วไป แล้วนำไปไทเทรตเทียบความเข้มข้นก่อนใช้งาน
  • 6. เตรียมสารละลายจากตัวละลายบริสุทธิ์ 1. คำนวณหาปริมาณของตัวละลาย แล้วชั่งมวลตัวละลายตามที่คำนวณได้ 3. เทสารละลายจากข้อ 2 ลงในขวดวัดปริมาตรตามขนาดที่กำหนด 4 . เทน้ำกลั่นลงในบีกเกอร์ที่ใช้ละลายสารเล็กน้อยเพื่อล้างสารที่ตกค้างอยู่ในบีกเกอร์ แล้วเทลงในขวดวัดปริมาตร ทำซ้ำ 2 – 3 ครั้ง จนแน่ใจว่าไม่มีสารตกค้าง
  • 7. 4 5. ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด ปิดจุกขวดวัดปริมาตร จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
  • 8. How many grams of magnesium cyanide are needed to make 275 cm 3 of a 0.075 M solution? 0.075 M Mg(CN) 2 = = 0.075 mole Mg(CN) 2 1 dm 3 solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3 solution = mole Mg(CN) 2 275 cm 3 solution 0.075 mole Mg(CN) 2 1000 cm 3 solution
  • 9. mol Mg(CN) 2 = = 0.0206 mol Mg(CN) 2 = 1.56 g Mg(CN) 2 275 cm 3 solution x 0.075 mol Mg(CN) 2 1000 cm 3 solution g Mg(CN) 2 = 0.0206 mol Mg(CN) 2 x 1 mol Mg(CN) 2 76 g Mg(CN) 2
  • 10. 2. การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง นำสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงไปทำเป็นสารละลายที่มีคามเข้มข้นน้อยกว่า
  • 11. จำนวนโมลของตัวละลายก่อนและหลังการเจือจางจะเท่ากัน โมลก่อนผสม = โมลหลังผสม M 1 V 1 = M 2 V 2 โมลก่อนผสม = โมลหลังผสม ก่อนเจือจาง หลังเจือจาง หลักการเจือจางสารละลาย
  • 12. การเตรียมสารละลายโดยการเจือจาง 1. คำนวณหาปริมาตรของสารละลายเข้มข้นที่ต้องแบ่งไปใช้เพื่อเตรียมสารละลายเจือจาง จาก โมลตัวละลาย = ความเข้มข้นละลาย ( M 2 ) x ปริมาตรละลาย V 2 ( cm 3 ) 1000 cm 3 ปริมาตรสารละลาย V 1 ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย ( M 1 ) 1000 cm 3 = โมลตัวละลาย x
  • 13. โมลตัวละลาย = M 1 V 1 = M 2 V 2 ความเข้มข้นละลาย ( M 2 ) x ปริมาตรละลาย V 2 ( cm 3 ) 1000 cm 3 ปริมาตรสารละลาย V 1 ( cm 3 ) x ความเข้มข้นละลาย ( M 1 ) 1000 cm 3 โมลตัวละลาย = ปริมาตรสารละลาย V 1 ( cm 3 ) ความเข้มข้นละลาย ( M 1 ) 1000 cm 3 = โมลตัวละลาย x
  • 15. 3 3. ค่อยเติมน้ำกลั่นลงในขวดวัดปริมาตรพร้อมเขย่าเบาๆ แล้วเติมน้ำกลั่นจนถึงขีดที่กำหนด ปิดจุกขวดวัดปริมาตร จะได้สารละลายเข้มข้นตามปริมาตรที่ต้องการ
  • 16. ต้องการเตรียมสารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 ปริมาตร 100 cm 3 จากสารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 จงหาว่าจะต้องใช้ CuSO 4 0.5 mol / dm 3 กี่ cm 3 หาจำนวนโมลของ CuSO 4 ในสารละลายเข้มข้น 0.1 mol / dm 3 100 cm 3 = 0.01 mol คำนวณหาว่าจะต้องใช้สารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 กี่ cm 3 จึงจะมี CuSO 4 0.01 mol = 20 cm 3 mol CuSO 4 = V สารละลาย =
  • 17. ดังนั้น ในการเตรียมสารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 ปริมาตร 100 cm 3 จากสารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 จะต้องใช้สารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 ปริมาตร 20 cm 3 แล้วเติมน้ำจนมีปริมาตร 100 cm 3
  • 18. ต้องการเตรียมสารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 ปริมาตร 100 cm 3 จากสารละลาย CuSO 4 0.5 mol / dm 3 จงหาว่าจะต้องใช้ CuSO 4 0.5 mol / dm 3 กี่ cm 3 (0.5 M)(V 1 ) = (0.1 M)(100 cm 3 ) ใช้ CuSO 4 0.5 mol / dm 3 20 cm 3 V 1 สารละลาย = 20 cm 3 M 1 V 1 = M 2 V 2
  • 19. สารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 แบ่งมา 10 cm 3 แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 100 cm 3 สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร หาจำนวนโมลของ CuSO 4 ในสารละลายเข้มข้น 0.1 mol / dm 3 10 cm 3 เติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 100 cm 3 = 0.001 mol ในสารละลาย 100 cm 3 มี CuSO 4 0.001 mol = 0.01 mol / dm 3 mol CuSO 4 = ความเข้มข้น CuSO 4 (aq) =
  • 20. สารละลาย CuSO 4 0.1 mol / dm 3 แบ่งมา 10 cm 3 แล้วเติมน้ำจนสารละลายมีปริมาตร 100 cm 3 สาระลายที่ได้มีความเข้มข้นเท่าไร (0.1 M)(10 cm 3 ) = (M 2 )(100 cm 3 ) สารละลายที่ได้มีความเข้มข้น 0.0.01 mol / dm 3 M 2 สารละลาย = 0.01 M M 1 V 1 = M 2 V 2