SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  35
Media Evaluation & Control

                 การวัดผลและประเมินผลสื่อ




                               Watjana Poopanee
                       Mahasarakham Business School
                               Mahasarakham University
                      E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
                                                    1
การวัดค่ าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ
          การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) หมายถึง การวัดผลสาเร็ จที่ได้ รับในการ
วางแผนสื่อโฆษณา เช่น ในการวางแผนสื่อโฆษณาตามงบประมาณจานวน 16 ล้ านบาท
ได้ รับผลสาเร็ จคือ สามารถจะเข้ าถึงกลุ่มเปาหมาย (Reach) คิดเป็ นร้ อยละ 80 ซึ่งคิดเป็ น
                                           ้
กลุ่มเปาหมายที่เห็นรายการ (TV Audiences) จานวน 24,066,254 คน และกลุ่มเปาหมาย
        ้                                                                       ้
แต่ละคนจะเห็นรายการที่ออกอากาศทังหมดจานวน 124 ครัง เฉลี่ยคนละ 3.14 ครั ง
                                         ้                   ้                         ้
(Frequency) เป็ นต้ น

           การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) หมายถึง การวัดค่าความประหยัดของการ
วางแผนสื่อโฆษณานันว่าคุ้มค่ากับเงินงบประมาณหรื อไม่ เช่น ในการวางแผนสื่อโฆษณา
                      ้
ตามงบประมาณจานวน 16 ล้ านบาท จะเสียค่าใช้ จ่ายต่อ 1 ค่าความนิยม (Cost per
Rating) คิดเป็ นเงิน 12,304.02 บาท และค่าใช้ จ่ายต่อ 1,000 คน (Cost per thousand) คิด
เป็ นเงิน 4,203.01 บาท เป็ นต้ น

                                                                                           2
การวัดค่ าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ
       - ในการวัดค่าประสิทธิภาพ (Effectiveness) หากค่าที่ได้ รับอยู่ในเกณฑ์ที่สง แสดง
                                                                               ู
ว่าการวางแผนครังนี ้ดีมีประสิทธิภาพสูง มีกลุมเปาหมายที่เห็นโฆษณาจานวนมาก
               ้                           ่ ้
          - ส่วนการวัดค่าประสิทธิผล (Efficiency) นัน หากค่าที่ได้ รับอยู่ในเกณฑ์ที่ต่า แสดง
                                                        ้
ว่าการวางแผนครังนี ้ประหยัดคุ้มค่าเงินงบประมาณ แต่ผ้ วางแผนสื่อโฆษณาที่ดีพึงตระหนัก
                    ้                                      ู
ไว้ ว่าการวัดค่าประสิทธิผลที่ค่าอยู่ในเกณฑ์ที่สง อาจจะไม่ได้ หมายความว่าการวางแผนนันไม่
                                                  ู                                           ้
ประหยัดหรื อไม่ค้ มค่าเสมอไป
                  ุ
             เพราะผู้วางแผนจะต้ อ งพิจาณาดูว่าค่าประสิท ธิ ผลที่สูง นันมาจากเหตุใด เช่น
                                                                              ้
รายการที่เลือกเป็ นรายการของกลุมเปาหมายแต่ในขณะเดียวกันจานวนผู้ชมอาจจะไม่สงมาก
                                     ่ ้                                                    ู
นัก ดัง นันค่าประสิทธิ ผลที่ สูง จึง ไม่ ใ ช่การไม่ประหยัดหรื อไม่ค้ ุมค่าเงิ น แต่เป็ นเพราะการ
           ้
วางแผนสามารถเจาะเข้ าหากลุ่ ม เป าหมายที่ เ ป็ นกลุ่ ม ที่ ต้ องการได้ โดยตรง เป็ นต้ น
                                             ้
(พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)



                                                                                                   3
การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ

  การวัดค่ าาสื่อโทรทัศน์
  การวัดค่ สื่อโทรทัศน์

  การวัดค่ าสื่อวิทยุ

  การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์

  การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง

  การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต
                                 4
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)           การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency)
   1. ค่าความนิยมในรายการ (Rating     หรื อ      1.   ค่า ใช้ จ่ ายต่อ พัน คน (Cost    per
Rating Points)                                thousand – CPM)

   2.   ผลรวมของค่าความนิยมในรายการ              2.   ค่าใช้ จ่ายต่อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ของค่า
ทังหมด (Gross Rating Points – GRPs)
  ้                                           ความนิยมในรายการ (Cost per Rating
                                              Points – CPRP)
    ค่าจานวนกลุ่มเปาหมายที่เปิ ดรับชมใน
   3.              ้
รายการ (Impression          หรื อ Gross
Impression – GI)

   4. ค่าความนิยมในรายการเฉลี่ย (Rating
per spot – R/S)



                                                                                          5
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
       การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
       1.ค่ าความนิยมในรายการ (Rating หรื อ Rating Points) หมายถึง การวัดจานวน
กลุมเปาหมายหรื อบ้ านที่เปิ ดรับรายการแต่ละรายการ หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์
  ่ ้
      ค่า Ratings เป็ นค่าที่อธิบายว่าจานวนกลุ่มเปาหมายนิยมเปิ ดรับรายการมากหรื อน้ อย
                                                  ้
หากค่า Ratings สูงแสดงว่าจานวนกลุ่มเปาหมายเปิ ดรับรายการมาก หรื อรายการเป็ นที่นิยม
                                         ้
ในทางตรงกันข้ ามหากค่า Ratings ต่าแสดงว่าจานวนกลุ่มเปาหมายเปิ ดรับรายการน้ อย แต่
                                                         ้
จานวนกลุ่มเปาหมายเปิ ดรั บรายการน้ อยไม่ได้ แสดงว่ารายการนันไม่ ดีหรื อ ไม่เป็ นที่นิยม
              ้                                                 ้
เพราะรายการอาจจะเป็ นรายการเฉพาะกลุ่ม เช่ น รายการของชาวมุส ลิ ม ในช่ ว งเวลา
ประมาณตี 5 เป็ นต้ น

                                          จานวนกลุมเปาหมายที่ดู
                                                  ่ ้
            สูตร   Ratings         =                               X 100
                                        จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                                                ่ ้       ้

ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                     6
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
  1. ค่ าความนิยมในรายการ (Rating หรื อ Rating Points)

ตัวอย่ าง
                                            จานวนกลุมเปาหมายที่ดู
                                                    ่ ้
            สูตร    Ratings         =                                 X 100
                                          จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                                                  ่ ้       ้
   จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน
               ้      ้
            รายการ                จานวนกลุ่มเปาหมายที่ดูรายการ (คน)
                                              ้                          Rating (%)

                A                           425,000                           4.05
                B                           679,000                           6.47
                C                         1,074,500                       10.24
                D                         1,165,700                       11.10
                E                           364,900                        3.48
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                 7
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
           ผลรวมของค่ าความนิยมในรายการทังหมด (Gross Rating Points
          2.                                ้                                – GRPs)
 หมายถึง การรวมค่าความนิยมในรายการทุกรายการ หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์
          ค่ า GRPs เป็ นค่ าผลบวกของค่ า Ratings ในทุกรายการ
          สูตร GRPs = RatingsA + RatingsB + …….. Ratings n

                                                                    Total Ratings
       รายการ                      Rating (%)   Frequency (ครั ง)
                                                               ้         (%)
           A                       4.05               2                 8.10
           B                       6.47               3                19.41
           C                      10.24               3               30.72
           D                      11.10               4               44.40
           E                       3.48               2                6.96
                                                     GRPs            109.59         8
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
        3. ค่ า จ านวนกลุ่ ม เป าหมายที่ เ ปิ ดรั บ ชมในรายการ (Impression
                               ้                                                       หรื อ Gross
 Impression – GI) หมายถึงการวัดจานวนกลุ่มเปาหมายหรื อบ้ านที่เปิ ดรับรายการแต่ละรายการ
                                                ้
 หน่วยการวัดเป็ นจานวนคน
     ค่า GI เหมือนกับค่า Ratings ที่เป็ นการวัดความนิยมในรายการแต่ละรายการเช่นกัน แต่
 แตกต่างกันเนื่องจากค่า GI จะเปลี่ยนค่า Ratings ที่เป็ นค่าเปอร์ เซ็นต์นนให้ เป็ นจานวนคนในแต่ละ
                                                                        ั้
 รายการนัน้

                                        Rating X จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                                                        ่ ้        ้
                    สูตร    GI      =
                                                      100




     ตัวอย่ าง
           จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน
                       ้      ้
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
       3. ค่ าจานวนกลุ่ มเปาหมายที่เปิ ดรั บชมในรายการ (Impression
                           ้                                                 หรื อ Gross
 Impression – GI)

ตัวอย่ าง
                                        Rating X จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                                                        ่ ้        ้
                    สูตร    GI      =
                                                     100

   จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน
               ้      ้
            รายการ                       Rating (%)                       GI (คน)

                A                          4.05                       425,250
                B                           6.47                      679,350
                C                         10.24                     1,075,200
                D                         11.10                     1,165,500
                E                          3.48                       365,400
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                  10
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
        4. ค่ าความนิยมในรายการเฉลี่ย (Rating per spot – R/S) หมายถึงการวัดค่าความนิยม
 เฉลี่ยต่อหนึงรายการจากรายการทังหมด หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์
             ่                 ้
       ค่า R/S เป็ นค่าที่แสดงให้ เห็นว่าความนิยมเฉลี่ยต่อหนึ่งรายการจะมีค่าเท่าไหร่ หากค่าความ
 นิยมเฉลี่ยสูงแสดงว่ารายการส่วนใหญ่ที่เลือกมีค่าความนิยมต่อรายการสูงหรื อรายการที่โฆษณา
 เป็ นรายการที่นิยมของกลุมเปาหมาย
                            ่ ้

                                            ผลรวมของค่าความนิยมในรายการทังหมด (%)
                                                                         ้
                    สูตร    R/S         =
                                                จานวนสปอตที่ลงโฆษณาทังหมด
                                                                      ้

     ตัวอย่ าง
             GRPs                           =      110%
             Total spots                    =        45
             R/S                            =      2.45%

ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)           การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency)
   1. ค่าความนิยมในรายการ (Rating     หรื อ      1.   ค่า ใช้ จ่ ายต่อ พัน คน (Cost    per
Rating Points)                                thousand – CPM)

   2.   ผลรวมของค่าความนิยมในรายการ              2.   ค่าใช้ จ่ายต่อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ของค่า
ทังหมด (Gross Rating Points – GRPs)
  ้                                           ความนิยมในรายการ (Cost per Rating
                                              Points – CPRP)
    ค่าจานวนกลุ่มเปาหมายที่เปิ ดรับชมใน
   3.              ้
รายการ (Impression          หรื อ Gross
Impression – GI)

   4. ค่าความนิยมในรายการเฉลี่ย (Rating
per spot – R/S)



                                                                                         12
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
       การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency)
       1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อจานวน
กลุมเปาหมายพันคน หน่วยการวัดเป็ นบาท
    ่ ้
         ค่า CPM เป็ นการเปรี ยบความประหยัดในการใช้ จ่ายต่อรายการแต่ละรายการ หรื อ
รายการทังหมด โดยการเปรี ยบเทียบต่อกลุ่มเปาหมายที่ดรายการจานวน 1,000 คน ดังนัน
            ้                            ้          ู                            ้
หากจานวนกลุ่มเปาหมายที่ดรายการมากจะทาให้ ค่า CPM ต่าแสดงว่ารายการดีมีความ
                 ้          ู
คุ้มค่า และหากจานวนกลุมเปาหมายที่ดรายการน้ อยจะทาให้ ค่า CPM สูง
                        ่ ้         ู


                                            ค่าใช้ จ่ายต่อรายการ
              สูตร    CPM =                                          X 1000
                                        จานวนกลุมเปาหมายที่ดรายการ
                                                ่ ้            ู



ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                  13
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
  1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM)

ตัวอย่ าง
                                            ค่าใช้ จ่ายต่อรายการ
              สูตร    CPM =                                           X 1000
                                        จานวนกลุมเปาหมายที่ดรายการ
                                                ่ ้            ู

   จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน
               ้      ้
               จานวนกลุ่มเปาหมายที่
                           ้
   รายการ                                Rating (%)      Cost (บาท)       CPM   (บาท)
                  ดูรายการ (คน)
      A               425,000              4.05           75,000           176.47

      B               679,000              6.47           95,000           139.91

      C             1,074,500             10.24           110,000          102.37

      D             1,165,700             11.10           135,000          115.81

       E              364,900              3.48           37,500           102.76       14
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
       การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency)
          2. ค่ าใช้ จ่ายต่ อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ ของค่ าความนิยมในรายการ (Cost per Rating
Points – CPRP) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อความนิยมในรายการ 1% หน่วยการวัดเป็ นบาท
       ค่า CPRP เช่นเดียวกันกับค่า CPM ที่ต้องการเปรี ยบเทียบความคุ้มค่าในการใช้ จ่าย
ต่อรายการแต่ละรายการ หรื อรายการทังหมด โดยการเปรี ยบเทียบต่อค่า Ratings 1%
                                    ้


                                           ค่าใช้ จ่ายต่อรายการ
              สูตร    CPRP =
                                                 Rating




ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                     15
การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์
       2. ค่ าใช้ จ่ายต่ อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ ของค่ าความนิยมในรายการ
 (Cost per Rating Points – CPRP)


ตัวอย่ าง
               จานวนกลุ่มเปาหมายที่
                           ้
   รายการ                               Rating (%)   Cost (บาท)   CPRP   (บาท)
                  ดูรายการ (คน)
      A               425,000             4.05        75,000      18,518.52
      B               679,000             6.47        95,000      14,683.15
      C             1,074,500            10.24       110,000      10,742.18

      D             1,165,700            11.10       135,000      12,162.16
       E              364,900             3.48        37,500      10,775.86


                                                                                 16
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ

  การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์

 การวัดดค่ าสื่อวิทยุ
  การวั ค่ าสื่อวิทยุ

  การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์

  การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง

  การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต
                                 17
การวัดค่ าสื่ อวิทยุ
การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
  1. ค่าความครอบคลุม (Coverage)

  2. ค่าความนิยมในรายการ (Ratings)




                                        18
การวัดค่ าสื่ อวิทยุ
       การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
       1.   ค่ าความครอบคลุม (Coverage) หมายถึง จานวนกลุ่มเปาหมายที่จะมีโอกาส
                                                                   ้
เปิ ดรับต่อโฆษณาตามที่กาหนดไว้ ในการวางแผนนัน หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์
                                                   ้
       ค่า Coverage เป็ นค่าที่อธิบายว่าเงินที่วางแผนลงทุนสาหรับการซื ้อสื่อวิทยุแต่ละเดือน
นันจะคุ้มค่าหรื อไม่ กล่าวคือในงบประมาณจานวนหนึ่งจะใช้ จ่ายเพื่อโฆษณาในรายการนันมี
  ้                                                                                      ้
กลุมเปาหมายได้ ยินสื่อวิทยุคิดเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์
    ่ ้


                                        จานวนผู้ฟังรายการวิทยุ (Listeners)
              สูตร    Coverage =                                             X 100
                                          จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด
                                                                    ั้




ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                         19
การวัดค่ าสื่ อวิทยุ
 1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage)

ตัวอย่ าง
                                           จานวนผู้ฟังรายการวิทยุ (Listeners)
              สูตร      Coverage =                                               X 100
                                             จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด
                                                                       ั้

   จานวนครัวเรือนในพืนที่ทงหมด 350,000 ครัวเรือน
                     ้ ั้
            สื่อวิทยุ                       จานวน Listeners                     Coverage (%)

        FM 88.5                               42,000                               12.00
        FM 97.75                              69,000                               19.71
          รวม                               111,000                                31.71

                                        ค่ า Coverage รวม           =   32%
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                          20
การวัดค่ าสื่ อวิทยุ
       การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
        ค่ าความนิยมในรายการ (Ratings) หมายถึง จานวนกลุ่มเปาหมายที่จะเปิ ดรับ
        2.                                                       ้
รายการจากสื่อวิทยุภายในระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งส่วนใหญ่สื่อวิทยุจะวัดภายใน 15 นาที
(Average quarter-hour ratings)
     ค่า Ratings ของสื่อวิทยุเช่นเดียวกับสื่อโทรทัศน์ที่แสดงให้ เห็นค่าความนิยมในแต่
ละสถานีหรื อแต่ละรายการ


                                        จานวนกลุมเปาหมายที่ฟังรายการ
                                               ่ ้
              สูตร    Ratings =                                        X 100
                                          จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                                                  ่ ้         ้




ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                  21
การวัดค่ าสื่ อวิทยุ
 2. ค่ าความนิยมในรายการ (Ratings)

ตัวอย่ าง
                                           จานวนกลุมเปาหมายที่ฟังรายการ
                                                  ่ ้
              สูตร      Ratings =                                         X 100
                                             จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                                                     ่ ้         ้

   จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,100,000 คน
               ้      ้
            สื่อวิทยุ                      จานวน Listeners                Ratings (%)

        FM 88.5                              2,690,000                      26.63
        FM 97.75                             2,885,000                      28.56
          รวม                                5,575,000                      55.19

                                        ค่ า Ratngs รวม       =   55%
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                   22
การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ

  การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์

  การวัดค่ าสื่อวิทยุ

  การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์
  การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์

  การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง

  การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต
                                 23
การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์
การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
   1. ค่าความครอบคลุม (Coverage)


การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency)
   1. ค่าใช้ จ่ายต่อพันคน (Cost per thousand – CPM)




                                                      24
การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์
       การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
       1.    ค่ าความครอบคลุม (Coverage) หมายถึง จานวนกลุ่มเปาหมายที่จะมีโอกาส
                                                                  ้
เปิ ดรับต่อโฆษณาตามที่กาหนดไว้ ในการวางแผนนัน หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์
                                                   ้
        ค่า Coverage เป็ นค่าที่อธิบายว่าเงินที่วางแผนลงทุนสาหรับการซื ้อสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละ
เดือนนันจะคุ้ม ค่าหรื อไม่ กล่าวคือ ในงบประมาณจานวนหนึ่ง ที่ จะใช้ จ่ายเพื่ อ โฆษณาใน
         ้
รายการนันมีกลุมเปาหมายเห็นสื่อสิ่งพิมพ์คิดเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์
           ้      ่ ้


                                           จานวน Circulation
              สูตร    Coverage =                                           X 100
                                        จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด
                                                                  ั้




ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                         25
การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์
 1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage)

ตัวอย่ าง
                                                จานวน Circulation
              สูตร       Coverage =                                            X 100
                                             จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด
                                                                       ั้
   จานวนครัวเรือนในพืนที่ทงหมด 8,951,000 ครัวเรือน
                     ้ ั้
          สื่อสิ่งพิมพ์                    จานวน Circulation                  Coverage (%)
              ไทยรัฐ                             1,000,000                        11.17
             เดลินิวส์                            650,000                          7.26
        นิตยสาร a-day                             100,000                          1.12
               รวม                               1,750,000                        19.55


                                        ค่ า Coverage รวม     =   20%

ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                        26
การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์
       การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency)
       1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อจานวน
กลุมเปาหมายพันคน หน่วยการวัดเป็ นบาท
    ่ ้
        ค่า CPM ของสื่อสิ่งพิมพ์เช่นเดียวกันกับสื่อโทรทัศน์ที่ต้องการเปรี ยบเทียบความ
คุ้มค่าในการใช้ จ่ายแต่ละฉบับ หรื อสื่อสิ่งพิมพ์ทงหมด โดยการเปรี ยบเทียบต่อกลุ่มเปาหมาย
                                                 ั้                               ้
ที่อ่านสื่อสิ่งพิมพ์จานวน 1,000 คน ดังนัน หากจานวนกลุ่มเปาหมายที่อ่านสื่อสิ่งพิมพ์ฉบับ
                                            ้               ้
ใดฉบับหนึงมากจะทาให้ ค่า CPM ต่าแสดงว่าสื่อสิ่งพิมพ์นนมีความคุ้มค่า
              ่                                          ั้


                                            ค่าใช้ จ่ายต่อฉบับ
              สูตร    CPM =                                           X 1000
                                        จานวนกลุมเปาหมายที่อ่าน
                                                  ่ ้



ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                     27
การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์
  1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM)

ตัวอย่ าง
                                                  ค่าใช้ จ่ายต่อฉบับ
               สูตร    CPM =                                            X 1000
                                              จานวนกลุมเปาหมายที่อ่าน
                                                        ่ ้

                           จานวนกลุ่มเปาหมายที่
                                        ้
       สื่อสิ่งพิมพ์                                   Cost (บาท)        CPM   (บาท)
                                อ่ าน (คน)

        ไทยรัฐ                  1,000,000              360,000            360.00

       เดลินิวส์                  650,000              288,000            443.08

   นิตยสาร a-day                  100,000              45,000             450.00

          รวม                   1,750,000              693,000            396.00


ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                  28
การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ

  การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์

  การวัดค่ าสื่อวิทยุ

  การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์

  การวัดค่ าาสื่อกลางแจ้ งง
  การวัดค่ สื่อกลางแจ้

  การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต
                                 29
การวัดค่ าสื่ อกลางแจ้ ง
การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
   1. ค่าความครอบคลุม (Coverage)




                                        30
การวัดค่ าสื่ อกลางแจ้ ง
       การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
       1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage) หมายถึง จานวนกลุมเปาหมายที่ผ่านและเห็นสื่อ
                                                     ่ ้
กลางแจ้ งที่ตงอยู่ หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์
               ั้
       ค่า Coverage จะผันแปรตามสถานที่ตงของสื่อกลางแจ้ ง หากสื่อกลางแจ้ งตังอยู่ใน
                                                ั้                         ้
บริ เวณที่ผ้ คนเดินทางสัญจรไปมาจานวนมากค่า Coverage จะสูง
             ู

                                        จานวนกลุมเปาหมายที่เดินทางผ่าน
                                               ่ ้
              สูตร    Coverage =                                         X 100
                                          จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                                                 ่ ้        ้
      ตัวอย่ าง
            จานวนกลุมเปาหมายทังหมด
                     ่ ้        ้                      =      977,000 คน
            จานวนกลุมเปาหมายที่เดินทางผ่าน
                      ่ ้                              =      106,000 คน
            ค่ า Showing                              =      10.85%

ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                31
การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ

  การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์

  การวัดค่ าสื่อวิทยุ

  การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์

  การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง

  การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เเน็ต
  การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ น็ต
                                 32
การวัดค่ าสื่ ออินเทอร์ เน็ต
       การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness)
       1. ค่ าการคลิก (Click-rate or Click-throughs rate : CTR)      หมายถึงการนับจานวน
กลุ่มเปาหมายที่ได้ คลิกเข้ าไปชมเว็บไซต์หรื อโฆษณาว่ามีเท่าใด การนับจานวนการคลิกนี ้ใช้
       ้
เป็ นการกาหนดค่าใช้ จ่ายในการโฆษณาด้ วยเช่นกัน เพราะเว็บไซต์ที่มีจานวนกลุ่มเปาหมายที่
                                                                                ้
คลิกเข้ าไปชมสูงค่าโฆษณาย่อมสูงด้ วย ในขณะเดียวกันเจ้ าของเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะพยายาม
หาวิธีที่เมื่อกลุมเปาหมายคลิกเข้ าไปชมเว็บไซต์ให้ คลิกไปที่แบนเนอร์ ของผู้โฆษณาด้ วย
                ่ ้




ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)                                                     33
การวัดค่ าสื่ ออินเทอร์ เน็ต
       การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency)
       1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อจานวน
กลุมเปาหมายพันคน หน่วยการวัดเป็ นบาท
   ่ ้
       การวัดค่าประสิทธิผลของสื่ออินเทอร์ เน็ตเป็ นการวัดค่าความคุ้มค่าที่ใช้ วดได้ 2 อย่าง
                                                                               ั
คือ การวัดค่าความคุ้มค่าของเว็บไซต์ที่โฆษณานันนาเสนออยู่ และการวัดค่าความคุ้มค่าของ
                                               ้
แบนเนอร์ หรื อปุ่ มที่โฆษณานัน
                             ้

                                            ค่าใช้ จ่ายในการโฆษณา
              สูตร    CPM =                                              X 1000
                                        จานวนกลุมเปาหมายที่คลิกเข้ าชม
                                                  ่ ้

      ตัวอย่ าง
            ราคาค่าโฆษณา                                   =     20,000 บาท
            จานวนกลุมเปาหมายที่คลิกเข้ าชม
                     ่ ้                               =       250,000  คน
            ค่ า CPM                                   =             80 บาท
                                                                                              34
ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
SUMMARY
   &
QUESTION

           35

Contenu connexe

Tendances

การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาPiyarerk Bunkoson
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Tendances (20)

การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษาใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
ใบลาป่วยลากิจนักเรียนนักศึกษา
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

Similaire à การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)

Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดNopporn Thepsithar
 
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptxConcepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptxparlinzpisitgu
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยsuthida
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)Tum Aditap
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องCuproperty
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellencemaruay songtanin
 
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)Yaowaluk Chaobanpho
 
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการหมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการPrachyanun Nilsook
 
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการหมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการPrachyanun Nilsook
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)tumetr1
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 

Similaire à การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8) (20)

Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
 
01
0101
01
 
Research report2
Research report2Research report2
Research report2
 
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptxConcepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
Concepts-of-measurement-ฉบับเต็ม.pptx
 
Testข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัยTestข้อสอบอัตนัย
Testข้อสอบอัตนัย
 
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ  ไชยสิทธิ์)
ข้อสอบปลายภาค(นายอดิเทพ ไชยสิทธิ์)
 
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาคุณภาพงานอย่างต่อเนื่อง
 
Pmk internal assessor 6
Pmk internal assessor 6Pmk internal assessor 6
Pmk internal assessor 6
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellence
 
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
 
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการหมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
 
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการหมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
 
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์ประเมินค่างาน สุรินทร์
ประเมินค่างาน สุรินทร์
 
L1
L1L1
L1
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 

การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)

  • 1. Media Evaluation & Control การวัดผลและประเมินผลสื่อ Watjana Poopanee Mahasarakham Business School Mahasarakham University E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th 1
  • 2. การวัดค่ าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) หมายถึง การวัดผลสาเร็ จที่ได้ รับในการ วางแผนสื่อโฆษณา เช่น ในการวางแผนสื่อโฆษณาตามงบประมาณจานวน 16 ล้ านบาท ได้ รับผลสาเร็ จคือ สามารถจะเข้ าถึงกลุ่มเปาหมาย (Reach) คิดเป็ นร้ อยละ 80 ซึ่งคิดเป็ น ้ กลุ่มเปาหมายที่เห็นรายการ (TV Audiences) จานวน 24,066,254 คน และกลุ่มเปาหมาย ้ ้ แต่ละคนจะเห็นรายการที่ออกอากาศทังหมดจานวน 124 ครัง เฉลี่ยคนละ 3.14 ครั ง ้ ้ ้ (Frequency) เป็ นต้ น การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) หมายถึง การวัดค่าความประหยัดของการ วางแผนสื่อโฆษณานันว่าคุ้มค่ากับเงินงบประมาณหรื อไม่ เช่น ในการวางแผนสื่อโฆษณา ้ ตามงบประมาณจานวน 16 ล้ านบาท จะเสียค่าใช้ จ่ายต่อ 1 ค่าความนิยม (Cost per Rating) คิดเป็ นเงิน 12,304.02 บาท และค่าใช้ จ่ายต่อ 1,000 คน (Cost per thousand) คิด เป็ นเงิน 4,203.01 บาท เป็ นต้ น 2
  • 3. การวัดค่ าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสื่อ - ในการวัดค่าประสิทธิภาพ (Effectiveness) หากค่าที่ได้ รับอยู่ในเกณฑ์ที่สง แสดง ู ว่าการวางแผนครังนี ้ดีมีประสิทธิภาพสูง มีกลุมเปาหมายที่เห็นโฆษณาจานวนมาก ้ ่ ้ - ส่วนการวัดค่าประสิทธิผล (Efficiency) นัน หากค่าที่ได้ รับอยู่ในเกณฑ์ที่ต่า แสดง ้ ว่าการวางแผนครังนี ้ประหยัดคุ้มค่าเงินงบประมาณ แต่ผ้ วางแผนสื่อโฆษณาที่ดีพึงตระหนัก ้ ู ไว้ ว่าการวัดค่าประสิทธิผลที่ค่าอยู่ในเกณฑ์ที่สง อาจจะไม่ได้ หมายความว่าการวางแผนนันไม่ ู ้ ประหยัดหรื อไม่ค้ มค่าเสมอไป ุ เพราะผู้วางแผนจะต้ อ งพิจาณาดูว่าค่าประสิท ธิ ผลที่สูง นันมาจากเหตุใด เช่น ้ รายการที่เลือกเป็ นรายการของกลุมเปาหมายแต่ในขณะเดียวกันจานวนผู้ชมอาจจะไม่สงมาก ่ ้ ู นัก ดัง นันค่าประสิทธิ ผลที่ สูง จึง ไม่ ใ ช่การไม่ประหยัดหรื อไม่ค้ ุมค่าเงิ น แต่เป็ นเพราะการ ้ วางแผนสามารถเจาะเข้ าหากลุ่ ม เป าหมายที่ เ ป็ นกลุ่ ม ที่ ต้ องการได้ โดยตรง เป็ นต้ น ้ (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 3
  • 4. การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ การวัดค่ าาสื่อโทรทัศน์ การวัดค่ สื่อโทรทัศน์ การวัดค่ าสื่อวิทยุ การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต 4
  • 5. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) 1. ค่าความนิยมในรายการ (Rating หรื อ 1. ค่า ใช้ จ่ ายต่อ พัน คน (Cost per Rating Points) thousand – CPM) 2. ผลรวมของค่าความนิยมในรายการ 2. ค่าใช้ จ่ายต่อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ของค่า ทังหมด (Gross Rating Points – GRPs) ้ ความนิยมในรายการ (Cost per Rating Points – CPRP) ค่าจานวนกลุ่มเปาหมายที่เปิ ดรับชมใน 3. ้ รายการ (Impression หรื อ Gross Impression – GI) 4. ค่าความนิยมในรายการเฉลี่ย (Rating per spot – R/S) 5
  • 6. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1.ค่ าความนิยมในรายการ (Rating หรื อ Rating Points) หมายถึง การวัดจานวน กลุมเปาหมายหรื อบ้ านที่เปิ ดรับรายการแต่ละรายการ หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ่ ้ ค่า Ratings เป็ นค่าที่อธิบายว่าจานวนกลุ่มเปาหมายนิยมเปิ ดรับรายการมากหรื อน้ อย ้ หากค่า Ratings สูงแสดงว่าจานวนกลุ่มเปาหมายเปิ ดรับรายการมาก หรื อรายการเป็ นที่นิยม ้ ในทางตรงกันข้ ามหากค่า Ratings ต่าแสดงว่าจานวนกลุ่มเปาหมายเปิ ดรับรายการน้ อย แต่ ้ จานวนกลุ่มเปาหมายเปิ ดรั บรายการน้ อยไม่ได้ แสดงว่ารายการนันไม่ ดีหรื อ ไม่เป็ นที่นิยม ้ ้ เพราะรายการอาจจะเป็ นรายการเฉพาะกลุ่ม เช่ น รายการของชาวมุส ลิ ม ในช่ ว งเวลา ประมาณตี 5 เป็ นต้ น จานวนกลุมเปาหมายที่ดู ่ ้ สูตร Ratings = X 100 จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 6
  • 7. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ 1. ค่ าความนิยมในรายการ (Rating หรื อ Rating Points) ตัวอย่ าง จานวนกลุมเปาหมายที่ดู ่ ้ สูตร Ratings = X 100 จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน ้ ้ รายการ จานวนกลุ่มเปาหมายที่ดูรายการ (คน) ้ Rating (%) A 425,000 4.05 B 679,000 6.47 C 1,074,500 10.24 D 1,165,700 11.10 E 364,900 3.48 ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 7
  • 8. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ ผลรวมของค่ าความนิยมในรายการทังหมด (Gross Rating Points 2. ้ – GRPs) หมายถึง การรวมค่าความนิยมในรายการทุกรายการ หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ค่ า GRPs เป็ นค่ าผลบวกของค่ า Ratings ในทุกรายการ สูตร GRPs = RatingsA + RatingsB + …….. Ratings n Total Ratings รายการ Rating (%) Frequency (ครั ง) ้ (%) A 4.05 2 8.10 B 6.47 3 19.41 C 10.24 3 30.72 D 11.10 4 44.40 E 3.48 2 6.96 GRPs 109.59 8 ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
  • 9. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ 3. ค่ า จ านวนกลุ่ ม เป าหมายที่ เ ปิ ดรั บ ชมในรายการ (Impression ้ หรื อ Gross Impression – GI) หมายถึงการวัดจานวนกลุ่มเปาหมายหรื อบ้ านที่เปิ ดรับรายการแต่ละรายการ ้ หน่วยการวัดเป็ นจานวนคน ค่า GI เหมือนกับค่า Ratings ที่เป็ นการวัดความนิยมในรายการแต่ละรายการเช่นกัน แต่ แตกต่างกันเนื่องจากค่า GI จะเปลี่ยนค่า Ratings ที่เป็ นค่าเปอร์ เซ็นต์นนให้ เป็ นจานวนคนในแต่ละ ั้ รายการนัน้ Rating X จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ สูตร GI = 100 ตัวอย่ าง จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน ้ ้ ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
  • 10. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ 3. ค่ าจานวนกลุ่ มเปาหมายที่เปิ ดรั บชมในรายการ (Impression ้ หรื อ Gross Impression – GI) ตัวอย่ าง Rating X จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ สูตร GI = 100 จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน ้ ้ รายการ Rating (%) GI (คน) A 4.05 425,250 B 6.47 679,350 C 10.24 1,075,200 D 11.10 1,165,500 E 3.48 365,400 ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 10
  • 11. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ 4. ค่ าความนิยมในรายการเฉลี่ย (Rating per spot – R/S) หมายถึงการวัดค่าความนิยม เฉลี่ยต่อหนึงรายการจากรายการทังหมด หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ่ ้ ค่า R/S เป็ นค่าที่แสดงให้ เห็นว่าความนิยมเฉลี่ยต่อหนึ่งรายการจะมีค่าเท่าไหร่ หากค่าความ นิยมเฉลี่ยสูงแสดงว่ารายการส่วนใหญ่ที่เลือกมีค่าความนิยมต่อรายการสูงหรื อรายการที่โฆษณา เป็ นรายการที่นิยมของกลุมเปาหมาย ่ ้ ผลรวมของค่าความนิยมในรายการทังหมด (%) ้ สูตร R/S = จานวนสปอตที่ลงโฆษณาทังหมด ้ ตัวอย่ าง GRPs = 110% Total spots = 45 R/S = 2.45% ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
  • 12. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) 1. ค่าความนิยมในรายการ (Rating หรื อ 1. ค่า ใช้ จ่ ายต่อ พัน คน (Cost per Rating Points) thousand – CPM) 2. ผลรวมของค่าความนิยมในรายการ 2. ค่าใช้ จ่ายต่อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ของค่า ทังหมด (Gross Rating Points – GRPs) ้ ความนิยมในรายการ (Cost per Rating Points – CPRP) ค่าจานวนกลุ่มเปาหมายที่เปิ ดรับชมใน 3. ้ รายการ (Impression หรื อ Gross Impression – GI) 4. ค่าความนิยมในรายการเฉลี่ย (Rating per spot – R/S) 12
  • 13. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) 1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อจานวน กลุมเปาหมายพันคน หน่วยการวัดเป็ นบาท ่ ้ ค่า CPM เป็ นการเปรี ยบความประหยัดในการใช้ จ่ายต่อรายการแต่ละรายการ หรื อ รายการทังหมด โดยการเปรี ยบเทียบต่อกลุ่มเปาหมายที่ดรายการจานวน 1,000 คน ดังนัน ้ ้ ู ้ หากจานวนกลุ่มเปาหมายที่ดรายการมากจะทาให้ ค่า CPM ต่าแสดงว่ารายการดีมีความ ้ ู คุ้มค่า และหากจานวนกลุมเปาหมายที่ดรายการน้ อยจะทาให้ ค่า CPM สูง ่ ้ ู ค่าใช้ จ่ายต่อรายการ สูตร CPM = X 1000 จานวนกลุมเปาหมายที่ดรายการ ่ ้ ู ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 13
  • 14. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ 1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) ตัวอย่ าง ค่าใช้ จ่ายต่อรายการ สูตร CPM = X 1000 จานวนกลุมเปาหมายที่ดรายการ ่ ้ ู จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,500,000 คน ้ ้ จานวนกลุ่มเปาหมายที่ ้ รายการ Rating (%) Cost (บาท) CPM (บาท) ดูรายการ (คน) A 425,000 4.05 75,000 176.47 B 679,000 6.47 95,000 139.91 C 1,074,500 10.24 110,000 102.37 D 1,165,700 11.10 135,000 115.81 E 364,900 3.48 37,500 102.76 14 ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
  • 15. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) 2. ค่ าใช้ จ่ายต่ อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ ของค่ าความนิยมในรายการ (Cost per Rating Points – CPRP) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อความนิยมในรายการ 1% หน่วยการวัดเป็ นบาท ค่า CPRP เช่นเดียวกันกับค่า CPM ที่ต้องการเปรี ยบเทียบความคุ้มค่าในการใช้ จ่าย ต่อรายการแต่ละรายการ หรื อรายการทังหมด โดยการเปรี ยบเทียบต่อค่า Ratings 1% ้ ค่าใช้ จ่ายต่อรายการ สูตร CPRP = Rating ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 15
  • 16. การวัดค่ าสื่ อโทรทัศน์ 2. ค่ าใช้ จ่ายต่ อหนึ่งเปอร์ เซ็นต์ ของค่ าความนิยมในรายการ (Cost per Rating Points – CPRP) ตัวอย่ าง จานวนกลุ่มเปาหมายที่ ้ รายการ Rating (%) Cost (บาท) CPRP (บาท) ดูรายการ (คน) A 425,000 4.05 75,000 18,518.52 B 679,000 6.47 95,000 14,683.15 C 1,074,500 10.24 110,000 10,742.18 D 1,165,700 11.10 135,000 12,162.16 E 364,900 3.48 37,500 10,775.86 16 ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
  • 17. การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์ การวัดดค่ าสื่อวิทยุ การวั ค่ าสื่อวิทยุ การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต 17
  • 18. การวัดค่ าสื่ อวิทยุ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1. ค่าความครอบคลุม (Coverage) 2. ค่าความนิยมในรายการ (Ratings) 18
  • 19. การวัดค่ าสื่ อวิทยุ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage) หมายถึง จานวนกลุ่มเปาหมายที่จะมีโอกาส ้ เปิ ดรับต่อโฆษณาตามที่กาหนดไว้ ในการวางแผนนัน หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ้ ค่า Coverage เป็ นค่าที่อธิบายว่าเงินที่วางแผนลงทุนสาหรับการซื ้อสื่อวิทยุแต่ละเดือน นันจะคุ้มค่าหรื อไม่ กล่าวคือในงบประมาณจานวนหนึ่งจะใช้ จ่ายเพื่อโฆษณาในรายการนันมี ้ ้ กลุมเปาหมายได้ ยินสื่อวิทยุคิดเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์ ่ ้ จานวนผู้ฟังรายการวิทยุ (Listeners) สูตร Coverage = X 100 จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด ั้ ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 19
  • 20. การวัดค่ าสื่ อวิทยุ 1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage) ตัวอย่ าง จานวนผู้ฟังรายการวิทยุ (Listeners) สูตร Coverage = X 100 จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด ั้ จานวนครัวเรือนในพืนที่ทงหมด 350,000 ครัวเรือน ้ ั้ สื่อวิทยุ จานวน Listeners Coverage (%) FM 88.5 42,000 12.00 FM 97.75 69,000 19.71 รวม 111,000 31.71 ค่ า Coverage รวม = 32% ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 20
  • 21. การวัดค่ าสื่ อวิทยุ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) ค่ าความนิยมในรายการ (Ratings) หมายถึง จานวนกลุ่มเปาหมายที่จะเปิ ดรับ 2. ้ รายการจากสื่อวิทยุภายในระยะเวลาที่กาหนด ซึ่งส่วนใหญ่สื่อวิทยุจะวัดภายใน 15 นาที (Average quarter-hour ratings) ค่า Ratings ของสื่อวิทยุเช่นเดียวกับสื่อโทรทัศน์ที่แสดงให้ เห็นค่าความนิยมในแต่ ละสถานีหรื อแต่ละรายการ จานวนกลุมเปาหมายที่ฟังรายการ ่ ้ สูตร Ratings = X 100 จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 21
  • 22. การวัดค่ าสื่ อวิทยุ 2. ค่ าความนิยมในรายการ (Ratings) ตัวอย่ าง จานวนกลุมเปาหมายที่ฟังรายการ ่ ้ สูตร Ratings = X 100 จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ จานวนกลุ่มเปาหมายทังหมด 10,100,000 คน ้ ้ สื่อวิทยุ จานวน Listeners Ratings (%) FM 88.5 2,690,000 26.63 FM 97.75 2,885,000 28.56 รวม 5,575,000 55.19 ค่ า Ratngs รวม = 55% ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 22
  • 23. การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์ การวัดค่ าสื่อวิทยุ การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต 23
  • 24. การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1. ค่าความครอบคลุม (Coverage) การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) 1. ค่าใช้ จ่ายต่อพันคน (Cost per thousand – CPM) 24
  • 25. การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage) หมายถึง จานวนกลุ่มเปาหมายที่จะมีโอกาส ้ เปิ ดรับต่อโฆษณาตามที่กาหนดไว้ ในการวางแผนนัน หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ้ ค่า Coverage เป็ นค่าที่อธิบายว่าเงินที่วางแผนลงทุนสาหรับการซื ้อสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละ เดือนนันจะคุ้ม ค่าหรื อไม่ กล่าวคือ ในงบประมาณจานวนหนึ่ง ที่ จะใช้ จ่ายเพื่ อ โฆษณาใน ้ รายการนันมีกลุมเปาหมายเห็นสื่อสิ่งพิมพ์คิดเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์ ้ ่ ้ จานวน Circulation สูตร Coverage = X 100 จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด ั้ ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 25
  • 26. การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์ 1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage) ตัวอย่ าง จานวน Circulation สูตร Coverage = X 100 จานวนครัวเรื อนในพื ้นที่ทงหมด ั้ จานวนครัวเรือนในพืนที่ทงหมด 8,951,000 ครัวเรือน ้ ั้ สื่อสิ่งพิมพ์ จานวน Circulation Coverage (%) ไทยรัฐ 1,000,000 11.17 เดลินิวส์ 650,000 7.26 นิตยสาร a-day 100,000 1.12 รวม 1,750,000 19.55 ค่ า Coverage รวม = 20% ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 26
  • 27. การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) 1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อจานวน กลุมเปาหมายพันคน หน่วยการวัดเป็ นบาท ่ ้ ค่า CPM ของสื่อสิ่งพิมพ์เช่นเดียวกันกับสื่อโทรทัศน์ที่ต้องการเปรี ยบเทียบความ คุ้มค่าในการใช้ จ่ายแต่ละฉบับ หรื อสื่อสิ่งพิมพ์ทงหมด โดยการเปรี ยบเทียบต่อกลุ่มเปาหมาย ั้ ้ ที่อ่านสื่อสิ่งพิมพ์จานวน 1,000 คน ดังนัน หากจานวนกลุ่มเปาหมายที่อ่านสื่อสิ่งพิมพ์ฉบับ ้ ้ ใดฉบับหนึงมากจะทาให้ ค่า CPM ต่าแสดงว่าสื่อสิ่งพิมพ์นนมีความคุ้มค่า ่ ั้ ค่าใช้ จ่ายต่อฉบับ สูตร CPM = X 1000 จานวนกลุมเปาหมายที่อ่าน ่ ้ ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 27
  • 28. การวัดค่ าสื่ อสิ่งพิมพ์ 1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) ตัวอย่ าง ค่าใช้ จ่ายต่อฉบับ สูตร CPM = X 1000 จานวนกลุมเปาหมายที่อ่าน ่ ้ จานวนกลุ่มเปาหมายที่ ้ สื่อสิ่งพิมพ์ Cost (บาท) CPM (บาท) อ่ าน (คน) ไทยรัฐ 1,000,000 360,000 360.00 เดลินิวส์ 650,000 288,000 443.08 นิตยสาร a-day 100,000 45,000 450.00 รวม 1,750,000 693,000 396.00 ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 28
  • 29. การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์ การวัดค่ าสื่อวิทยุ การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าาสื่อกลางแจ้ งง การวัดค่ สื่อกลางแจ้ การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เน็ต 29
  • 30. การวัดค่ าสื่ อกลางแจ้ ง การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1. ค่าความครอบคลุม (Coverage) 30
  • 31. การวัดค่ าสื่ อกลางแจ้ ง การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1. ค่ าความครอบคลุม (Coverage) หมายถึง จานวนกลุมเปาหมายที่ผ่านและเห็นสื่อ ่ ้ กลางแจ้ งที่ตงอยู่ หน่วยการวัดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ ั้ ค่า Coverage จะผันแปรตามสถานที่ตงของสื่อกลางแจ้ ง หากสื่อกลางแจ้ งตังอยู่ใน ั้ ้ บริ เวณที่ผ้ คนเดินทางสัญจรไปมาจานวนมากค่า Coverage จะสูง ู จานวนกลุมเปาหมายที่เดินทางผ่าน ่ ้ สูตร Coverage = X 100 จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ ตัวอย่ าง จานวนกลุมเปาหมายทังหมด ่ ้ ้ = 977,000 คน จานวนกลุมเปาหมายที่เดินทางผ่าน ่ ้ = 106,000 คน ค่ า Showing = 10.85% ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 31
  • 32. การวัดค่ าของสื่อประเภทต่ าง ๆ การวัดค่ าสื่อโทรทัศน์ การวัดค่ าสื่อวิทยุ การวัดค่ าสื่อสิ่งพิมพ์ การวัดค่ าสื่อกลางแจ้ ง การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ เเน็ต การวัดค่ าสื่ออินเทอร์ น็ต 32
  • 33. การวัดค่ าสื่ ออินเทอร์ เน็ต การวัดค่ าประสิทธิภาพ (Effectiveness) 1. ค่ าการคลิก (Click-rate or Click-throughs rate : CTR) หมายถึงการนับจานวน กลุ่มเปาหมายที่ได้ คลิกเข้ าไปชมเว็บไซต์หรื อโฆษณาว่ามีเท่าใด การนับจานวนการคลิกนี ้ใช้ ้ เป็ นการกาหนดค่าใช้ จ่ายในการโฆษณาด้ วยเช่นกัน เพราะเว็บไซต์ที่มีจานวนกลุ่มเปาหมายที่ ้ คลิกเข้ าไปชมสูงค่าโฆษณาย่อมสูงด้ วย ในขณะเดียวกันเจ้ าของเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะพยายาม หาวิธีที่เมื่อกลุมเปาหมายคลิกเข้ าไปชมเว็บไซต์ให้ คลิกไปที่แบนเนอร์ ของผู้โฆษณาด้ วย ่ ้ ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551) 33
  • 34. การวัดค่ าสื่ ออินเทอร์ เน็ต การวัดค่ าประสิทธิผล (Efficiency) 1. ค่ าใช้ จ่ายต่ อพันคน (Cost per thousand – CPM) หมายถึงค่าใช้ จ่ายต่อจานวน กลุมเปาหมายพันคน หน่วยการวัดเป็ นบาท ่ ้ การวัดค่าประสิทธิผลของสื่ออินเทอร์ เน็ตเป็ นการวัดค่าความคุ้มค่าที่ใช้ วดได้ 2 อย่าง ั คือ การวัดค่าความคุ้มค่าของเว็บไซต์ที่โฆษณานันนาเสนออยู่ และการวัดค่าความคุ้มค่าของ ้ แบนเนอร์ หรื อปุ่ มที่โฆษณานัน ้ ค่าใช้ จ่ายในการโฆษณา สูตร CPM = X 1000 จานวนกลุมเปาหมายที่คลิกเข้ าชม ่ ้ ตัวอย่ าง ราคาค่าโฆษณา = 20,000 บาท จานวนกลุมเปาหมายที่คลิกเข้ าชม ่ ้ = 250,000 คน ค่ า CPM = 80 บาท 34 ที่มา : (พรจิต สมบัติพานิช ดร., 2551)
  • 35. SUMMARY & QUESTION 35